รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละความสำเร็จในการปรับภูมิทัศน์พัฒนาคูคลองและถนนเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก : 5029-0835

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00
100
100 / 100
2
40.00
100
100 / 100
3
70.00
0
0 / 0
4
100.00
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการตามแผนงาน 1 คลอง คือ คลองวัดยานนาวา 2 ถนน คือ ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ ถนนสาทรใต้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- ดำเนินการตามแผนงาน 1 คลอง คือ คลองวัดยานนาวา 2 ถนน คือ ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ ถนนสาทรใต้ โดยได้จัดกิจกรรมรักษาสภาพตามเกณฑ์อย่างต่อเนื่อง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- ดำเนินการตามแผนงาน 1 คลอง คือ คลองวัดยานนาวา ผ่านการพิจารณาคลองเฉลิมพระเกียรติเรียบร้อยแล้ว 2 ถนน คือ ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ ถนนสาทรใต้ ถนนเจริญราษฎร์ อยู่ระหว่างการพิจารณาของคระกรรมการ โดยได้จัดกิจกรรมรักษาสภาพตามเกณฑ์อย่างต่อเนื่อง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ถนนเฉลิมพระเกียรติ ดำเนินงานปรับปรุงภูมิทัศน์ถนนเฉลิมพระเกียรติของเขตสาทร ประกอบด้วย - ถนนสาทรใต้ - ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ - ถนนเจริญราษฎร์ โดยได้ดำเนินการครบถ้วนตามเกณฑ์ เฉพาะถนนสาทรใต้ ซึ่งได้ครอบคลุมภารกิจดังนี้ ๓.๑ ไม่มีการจอดหรือขับขี่รถยนต์รถจักรยานยนต์ บนทางเท้า ๓.๒ ไม่มีหาบเร่แผงลอยที่ผิดกฎหมาย ๓.๓ ไม่มีป้ายโฆษณาที่ผิดกฎหมาย ๓.๔ ไม่มีสิ่งปฏิกูลขยะมูลฝอ๊ย ๓.๕ ไม่มีการตั้งวางกระถางตันไม้หรือสิ่งใดๆ บนทางเท้า ๓.๖ ปรับปรุงเพิ่มเติม ป้ายเครื่องหมายสัญญาณไฟจราจร และทาสีขอบทางเท้า 3.๗ สำรวจและติดตั้งกล้อง CCTV เพิ่มเติมในจุดที่ยังไม่เพียงพอ และตรวจสอบสภาพให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ ๓.๘ ปรับปรุงซ่อม ผิวจราจรที่ขำรุด ๓.๙ ปรับปรุปช่อม ผิวทางเดินเท้าที่ชำรุด เป็นหลุมบ่อ ๓.๑๐ ล้างทำความสะอาดทางเท้าและผิวจราจร ๓.๑๑ ตรวจไฟฟ้าส่องสว่างในที่สาธารณะ หากชำรุดเสียหายต้องแก้ไขให้ใช้การได้ และติดตั้งเพิ่มเติมในจุดที่แสงสว่างไม่เพียงพอ 3.๑2 ปลูกตันไม้เพิ่มเติมในบริเวณริมทางเท้าเพื่อความร่มรื่นให้แก่ประชาชนที่ใช้สัญจรทางเท้า ๓.๑๓ ดูแลตัดแต่งตันไม้ให้สวยงาม ไม่รก หรือเป็นจุดอับสายตา ๓.๑๔ จัดระเบียบความเรียบร้อยของสายสื่อสารริมทาง ๓.๑๕ ทำความสะอาดป้ายรถโดยสาร ๓.๑๖ ทำความสะอาดสะพานลอย สำหรับถนนนราธิวาสราชนครินทร์ กับ ถนนเจริญราษฎร์ ไม่สามารถดำเนินการตามเงื่อนไขได้ เนื่องจากสภาพถนนทั้ง 2 เส้นทาง อยู่ระหว่างการปรับปรุงก่อสร้างนำสายไฟและสายสื่อสารลงใต้ดิน ทั้งนี้ สำนักงานเขตสาทรได้ดำเนินการตามเงื่อนไขกิจกรรมทุกประการ ทำให้ผลการดำเนินการอยู่ที่ร้อยละ 100 จาก 100 คลองเฉลิมพระเกียรติ ฉลองเฉลิมพระเกียรติของเขตสาทร คือ คลองวัดยานนาวา ซึ่งสำนักงานเขตสาทรสามารถดำเนินการได้ครบถ้วน และได้รับป้ายคลองเฉลิมพระเกียรติเรียบร้อยแล้ว โดยมีเงื่อนไขที่ทางสำนักงานเขตดำเนินการเรียบร้อย คือ ๑. ปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สวยงาม เช่น ปลูกตันไม้ ตกแต่งไม้ดอกไม้ประดับและหน้าบ้านหลังบ้าน ริมคลองน่ามอง ๒. ปราศจากผักตบชวา ขยะ 3. ปลูกต้นไม้ชนิดเดียวกันตลอดคลอง 4. ทางเดินริมคลองสะอาด ปลอดภัย มีแสงสว่าง เพียงพอ 5. .มีการพัฒนาคุณภาพน้ำ มีการถ่ายเทน้ำ และมีการระบายน้ำได้ดี ๖. ถ้าเป็นเส้นทางสัญจร มีท่าเรือต้อง ปลอดภัยสะอาด และสวยงาม มีเจ้าหน้าที่ดูแลความปลอดภัยและอำนวยความสะดวก ๗. สะพานข้ามคลองมีความสะอาด สวยงาม ปลอดภัย 8. การรณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการพัฒนา 9. การดักไขมันการบำบัดน้ำเสียก่อนปล่อยลงแหล่งน้ำสาธารณะ 10. การสร้างเครือข่ายชุมชนริมคลอง และรณรงค์เชิญชวน เจ้าของบ้าน/เจ้าของที่ดินริมคลองปรับปรุงหน้าบ้านหรือหลังบ้านริมคลองให้น่ามอง ทำให้ผลการดำเนินการอยู่ที่ร้อยละ 100 จาก 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

คำนิยาม ถนนเฉลิมพระเกียรติที่สำนักงานเขตกำหนด จำนวน 2 สาย คือ ถนนสาทรใต้ กับ ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ คลองเป้าหมายเฉลิมพระเกียรติที่สำนักงานเขตเลือก คือ คลองวัดยานนาวา ๓. ความสำเร็จในการดำเนินกิจกรรมปรับปรุงภูมิทัศน์ถนน หมายถึง การดำเนินงานปรับปรุงภูมิทัศน์ถนนเป็นไปตามแนวทางดังนี้ ๓.๑ ไม่มีการจอดหรือขับขี่รถยนต์รถจักรยานยนต์ บนทางเท้า ๓.๒ ไม่มีหาบเร่แผงลอยที่ผิดกฎหมาย ๓.๓ ไม่มีป้ายโฆษณาที่ผิดกฎหมาย ๓.๔ ไม่มีสิ่งปฏิกูลขยะมูลฝอ๊ย ๓.๕ ไม่มีการตั้งวางกระถางตันไม้หรือสิ่งใดๆ บนทางเท้า ๓.๖ ปรับปรุงเพิ่มเติม ป้ายเครื่องหมายสัญญาณไฟจราจร และทาสีขอบทางเท้า 3.๗ สำรวจและติดตั้งกล้อง CCTV เพิ่มเติมในจุดที่ยังไม่เพียงพอ และตรวจสอบสภาพให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ ๓.๘ ปรับปรุงซ่อม ผิวจราจรที่ขำรุด ๓.๙ ปรับปรุปช่อม ผิวทางเดินเท้าที่ชำรุด เป็นหลุมบ่อ ๓.๑๐ ล้างทำความสะอาดทางเท้าและผิวจราจร ๓.๑๑ ตรวจไฟฟ้าส่องสว่างในที่สาธารณะ หากชำรุดเสียหายต้องแก้ไขให้ใช้การได้ และติดตั้งเพิ่มเติมในจุดที่แสงสว่างไม่เพียงพอ 3.๑2 ปลูกตันไม้เพิ่มเติมในบริเวณริมทางเท้าเพื่อความร่มรื่นให้แก่ประชาชนที่ใช้สัญจรทางเท้า ๓.๑๓ ดูแลตัดแต่งตันไม้ให้สวยงาม ไม่รก หรือเป็นจุดอับสายตา ๓.๑๔ จัดระเบียบความเรียบร้อยของสายสื่อสารริมทาง ๓.๑๕ ทำความสะอาดป้ายรถโดยสาร ๓.๑๖ ทำความสะอาดสะพานลอย ๔. ความสำเร็จในพัฒนาปรับปรุภูมิทัศน์และรักษาความสะอาดคลอง หมายถึง ๔.๑ สามารถดำเนินการพัฒนาคลองเป้าหมายให้เป็นไปตามแนวทางดังนี้ ๔.๑.๑ ปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สวยงาม เช่น ปลูกตันไม้ ตกแต่งไม้ดอกไม้ประดับและหน้าบ้านหลังบ้าน ริมคลองน่ามอง ๔.๑.๒ ปราศจากผักตบชวา ขยะ ๔.๑.๓ ปลูกต้นไม้ชนิดเดียวกันตลอดคลอง ๔.๑.๔ ทางเดินริมคลองสะอาด ปลอดภัย มีแสงสว่าง เพียงพอ ๔.๑.๕ มีการพัฒนาคุณภาพน้ำ มีการถ่ายเทน้ำ และมีการระบายน้ำได้ดี ๔.๑.๖ ถ้าเป็นเส้นทางสัญจร มีท่าเรือต้อง ปลอดภัยสะอาด และสวยงาม มีเจ้าหน้าที่ดูแลความปลอดภัยและอำนวยความสะดวก ๔.๑.๗ สะพานข้ามคลองมีความสะอาด สวยงาม ปลอดภัย ๔.๒ การรณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการพัฒนา ๔.๒.๑ การดักไขมันการบำบัดน้ำเสียก่อนปล่อยลงแหล่งน้ำสาธารณะ ๔.๒.๒การสร้างเครือข่ายชุมชนริมคลอง และรณรงค์เชิญชวน เจ้าของบ้าน/เจ้าของที่ดินริมคลองปรับปรุงหน้าบ้านหรือหลังบ้านริมคลองให้น่ามอง

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีคำนวณ 1. ร้อยละความสำเร็จในการพัฒนาถนน = จำนวนถนนที่พัฒนาตามเกณฑ์ × 100 / จำนวนถนนที่ดำเนินการตามโครงการฯ 2. ร้อยละความสำเร็จในการพัฒนาคลอง = จำนวนคูคลองที่พัฒนาตามเกณฑ์ × 100 / จำนวนคลองที่ดำเนินการตามโครงการฯ 3. ร้อยละความสำเร็จของตัวชี้วัด = ร้อยละความสำเร็จ ข้อ 3 + ข้อ 4 / 2

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

การรายงาน

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม
:๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า%
:๒.๑.๑.๑ ตลาดหรือแผงค้าขายที่กีดขวางทางเท้า กีดขวางการจราจรและบดบังทัศนียภาพ ได้รับการจัดระเบียบได้ครบทุกกลุ่มเขต

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง