รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น : 5029-0839

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 146.44

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
50.00
100
100 / 100
2
98.00
100
100 / 100
3
146.44
0
0 / 0
4
146.44
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ไตรมาส ที่ 1 1.ดำเนินการจัดซื้อ - จัดจ้างทำชาดัดรูปเรือสำเภาวัดยานนาวาและจ้างเหมาทำกระถางไฟเบอร์กลาสพร้อมเหล็กแขวน ตามโครงการบำรุงรักษา ปรับปรุงพื้นที่สีเขียว จำนวน 2 รายการ จำนวนเงิน 350,990 บาท 2.ดำเนินการจัดซื้อไม้ดอกไม้ประดับและวัสดุอุปกรณ์ในการปลูกและบำรุงรักษาต้นไม้ ตามโครงการบำรุงรักษา ปรับปรุงพื้นที่สีเขียว จำนวน 10 รายการ จำนวนเงิน 450,808 บาท 3.ดำเนินการจัดการเพิ่มพื้นที่สีเขียว (ภาคเอกชน) จำนวน 2 ที่ ได้แก่ 1.สวนหย่อมโบสถ์เซนต์หลุยส์ 2.สวนหย่อมสมาคมธรรมศาสตร์ จำนวนพื้นที่สีเขียว 1 ไร่ 3 งาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ไตรมาศ ที่ 2 สวนหย่อมโบสถ์เซนต์หลุยส์ 1 ไร่ 92 วา สวนหย่อมสมาคมธรรมศาสตร์ 3 งาน 93 วา ที่ว่างซอยข้างห้างแม็คโคร สาทร ส่วนที่2 3 งาน 66 วา ที่ว่างซอยโปร่งใจ 2 ไร่ 93 วา ที่ว่างซอยข้างห้างแม็คโคร สาทร ส่วนที่1 2 งาน 16 วา พื้นที่ไม้ยืนต้นชุมชนบ้านแบบ 2 งาน 23 วา ที่ว่างซอยสาทร11แยก13 1 งาน 63 วา ที่ว่างซอยนางลิ้นจี่4 3งาน 60 วา ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวได้จำนวนทั้งหมด 306673.56 ตร.ม (98.33%)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียว ประเภทสวนหย่อมทั้งหมด 3 แห่ง 1.สวนหย่อมโบสถ์เซนต์หลุยส์ 1 ไร่ 92 ตร.วา 2.สวนหย่อมสมาคมธรรมศาสตร์ 3 งาน 93 ตร.วา 3.สวนหย่อมและลานออกกำลังกายกองพันสื่อสารที่ 1 รอ. 1 ไร่ 33 ตร.วา รวมทั้งหมด 3 ไร่ 1 งาน 18 ตร.วา (146.44%)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียว ประเภทสวนหย่อมทั้งหมด 3 แห่ง 1.สวนหย่อมโบสถ์เซนต์หลุยส์ 1 ไร่ 92 ตร.วา 2.สวนหย่อมสมาคมธรรมศาสตร์ 3 งาน 93 ตร.วา 3.สวนหย่อมและลานออกกำลังกายกองพันสื่อสารที่ 1 รอ. 1 ไร่ 33 ตร.วา รวมทั้งหมด 3 ไร่ 1 งาน 18 ตร.วา (146.44%)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

พื้นที่สีเขียว หมายถึง พื้นที่สีเขียวตามที่กำหนดไว้ใน “ฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร” ประกอบด้วย 10 ประเภทแยกเป็น 2 ประเภทหลัก คือ 1. พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม ให้สำนักงานเขตดำเนินการตามเป้าหมายที่ตกลงกับสำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อมในแต่ละปี 2. พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะซึ่งต้องดำเนินการสำรวจรวบรวมเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 12 แห่ง/ปี • กรณีข้อ 2 กรณีหากสำนักงานเขตได้รับการยกเว้นเนื่องจากไม่มีพื้นที่ตามที่กำหนดเหลือแล้วให้ใช้การรายงานผลการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตรวม 4 ครั้ง/ปี (ธ.ค.,มี.ค.,มิ.ย.,ก.ย.) ตามแบบฟอร์มที่สำนักงานสวนกำหนดแทน

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

- พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนได้ตามเป้าหมายที่กำหนด คิดเป็นร้อยละ 100 - พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนได้ตามเป้าหมายที่กำหนดคิดเป็นร้อยละ 100 - กรณีสำนักงานเขตได้รับการยกเว้นเนื่องจากไม่มีพื้นที่ตามที่กำหนดเหลือแล้วให้ใช้การรายงานผลการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตรวม 4 ครั้ง/ปี (ธ.ค.,มี.ค.,มิ.ย.,ก.ย.) คิดคะแนน ครั้งละ 25%

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ใช้ข้อมูลพื้นที่สีเขียวของแต่ละเขตที่ปรากฏใน “ฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร” เท่านั้น

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่
:๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ%
:๒.๒.๑.๑ พัฒนาพื้นที่สีเขียวสำหรับพักผ่อนหย่อนใจและสร้างความร่มรื่นเพิ่มขึ้นกระจาย ทั่วในพื้นที่

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง