รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

2. การลดและการคัดแยกมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด 2.2 ร้อยละปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (993 ตันต่อปี) : 5033-0767

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 15

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 5.27

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.62
100
100 / 100
2
3.33
100
100 / 100
3
4.94
100
100 / 100
4
5.27
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายจากกลุ่มเป้าหมายได้แก่ ชุมชน สถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน จำนวน 54 แห่ง โดยจัดทำแผนการเข้าจัดเก็บทุกวันอาทิตย์ 2. ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายตั้งแต่เดือนตุลาคม – ธันวาคม 2562 ได้ปริมาณ 3.46 ตัน แยกประเภทได้ ดังนี้ 1) หลอดฟูออเรสเซนต์ ปริมาณ 2.25 ตัน 2) ถ่านไฟฉาย /แบตเตอรี่ ปริมาณ 0.21 ตัน 3) บรรจุภัณฑ์ปนเปื้อน ปริมาณ 0.20 ตัน 4) ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ปริมาณ 0.80 ตัน 3. ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 1.62 จากค่าเป้าหมายที่ สสล.กำหนดร้อยละ 15 คือ 31.95 ตัน/ปี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-1. ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายจากกลุ่มเป้าหมายได้แก่ ชุมชน สถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน จำนวน 54 แห่ง โดยจัดทำแผนการเข้าจัดเก็บทุกวันอาทิตย์ 2. ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายตั้งแต่เดือนมกราคม – มีนาคม 2563 ได้ปริมาณ 3.63 ตัน แยกประเภทได้ ดังนี้ 1) หลอดฟูออเรสเซนต์ ปริมาณ 0.98 ตัน 2) ถ่านไฟฉาย /แบตเตอรี่ ปริมาณ 0.06 ตัน 3) บรรจุภัณฑ์ปนเปื้อน ปริมาณ 0.005 ตัน 4) ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ปริมาณ 1 ตัน 5) สีหมดอายุ 1.59 ตัน 3. ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 1 และไตรมาสที่ 2 คิดเป็นร้อยละ 3.33 จากค่าเป้าหมายที่ สสล.กำหนดร้อยละ 15 คือ 31.95 ตัน/ปี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-1. ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายจากกลุ่มเป้าหมายได้แก่ ชุมชน สถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน จำนวน 54 แห่ง โดยจัดทำแผนการเข้าจัดเก็บทุกวันอาทิตย์ 2. ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายตั้งแต่เดือนเมษายน – มิ.ย 2563 ได้ปริมาณ 3.44 ตัน แยกประเภทได้ ดังนี้ 1) หลอดฟูออเรสเซนต์ ปริมาณ 0.80 ตัน 2) ถ่านไฟฉาย /แบตเตอรี่ ปริมาณ 0.19 ตัน 3) บรรจุภัณฑ์ปนเปื้อน ปริมาณ 1 ตัน 4) ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ปริมาณ 1.45 ตัน 3. ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 1 ถึงไตรมาสที่ 3 คิดเป็นร้อยละ 4.94 จากค่าเป้าหมายที่ สสล.กำหนดร้อยละ 15 คือ 31.95 ตัน/ปี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-1. ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายจากกลุ่มเป้าหมายได้แก่ ชุมชน สถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน จำนวน 54 แห่ง โดยจัดทำแผนการเข้าจัดเก็บทุกวันอาทิตย์ 2. ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายตั้งแต่เดือนกรกฎาคม – ต.ค.2563 ได้ปริมาณ 5.55 ตัน แยกประเภทได้ ดังนี้ 1) หลอดฟูออเรสเซนต์ ปริมาณ 0.365 ตัน 2) ถ่านไฟฉาย /แบตเตอรี่ ปริมาณ 0.085 ตัน 3) บรรจุภัณฑ์ปนเปื้อน ปริมาณ 3.40 ตัน 4) ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ปริมาณ 1.70 ตัน 3. ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 1 ถึงไตรมาสที่ 4 คิดเป็นร้อยละ 5.27 จากค่าเป้าหมายที่ สสล.กำหนด ร้อยละ 10 คือ 30.58 ตัน/ปี หรือคิดเป็นร้อยละความสำเร็จ : ร้อยละ 52.75

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

มูลฝอยอันตราย (Hazardous Wastes) หมายถึง มูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายที่เกิดจากกิจกรรมต่างๆ ในชุมชน ได้แก่ หลอดไฟ ถ่านไฟฉายและแบตเตอรี่ ภาชนะบรรจุสารเคมี ซากผลิตภัณฑ์ เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และอื่นๆ เช่น ยาเม็ดหมดอายุ ผงคาร์บอน เป็นต้น โดยไม่รวมของเสียอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน มูลฝอยทั่วไป มูลฝอยติดเชื้อ และกากกัมมันตรังสี

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ร้อยละของปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น เท่ากับปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี 2563 ลบปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี 2560 หาร ปริมาณมูลฝอยอันตราที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี 2560 คูณ 100 (ปริมาณมูลฝอยตั้งแต่ ต.ค. 62 – ก.ย. 63)

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๑ - ปลอดมลพิษ
:๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ%
:๑.๑.๒.๑ ลดและควบคุมปริมาณมูลฝอยที่แหล่งกำเนิดและเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่แหล่งกำเนิดจนถึงการกำจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง