ค่าเป้าหมาย ระดับ : 4
ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 4.91
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจ ๒ นาย ประจำจุดจับปรับหน้าห้างพาต้าปิ่นเกล้าเป็นประจำทุกวัน ตั้งแต่เดือนตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๒ เพื่อประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนที่สัญจรผ่านไปมาไม่ให้ทิ้งขยะมูลฝอยลงในที่สาธารณะ และอยู่ระหว่างการดำเนินการทอดแบบสอบถามความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการออกตรวจจุดกวดขันทิ้่งจับ-ปรับของสำนักงานเขตบางพลัด
จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจ ๒ นาย ประจำจุดจับปรับหน้าห้างพาต้าปิ่นเกล้าเป็นประจำทุกวัน ตั้งแต่เดือนมกราคม - มีนาคม ๒๕๖๓ เพื่อประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนที่สัญจรผ่านไปมาไม่ให้ทิ้งขยะมูลฝอยลงในที่สาธารณะ และได้ดำเนินการทอดแบบสอบถาม ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการออกตรวจจุดกวดขันทิ้่งจับ-ปรับของสำนักงานเขตบางพลัด ไตรมาสที่ ๑ ระดับความ พึงพอใจ = 4.50 ไตรมาสที่ ๒ ระดับความพึงพอใจ = 4.91
จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจ ๒ นาย ประจำจุดจับปรับหน้าห้างพาต้าปิ่นเกล้าเป็นประจำทุกวัน ตั้งแต่เดือนเมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๓ เพื่อประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนที่สัญจรผ่านไปมาไม่ให้ทิ้งขยะมูลฝอยลงในที่สาธารณะ และได้ดำเนินการทอดแบบสอบถาม ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการออกตรวจจุดกวดขันทิ้่งจับ-ปรับของสำนักงานเขตบางพลัด ไตรมาสที่ ๑ ระดับความ พึงพอใจ = 4.50 ไตรมาสที่ ๒ ระดับความพึงพอใจ = 4.91 ไตรมาสที่ ๓ ระดับความพึงพอใจ = 4.75
-จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจ ๒ นาย ประจำจุดจับปรับหน้าห้างพาต้าปิ่นเกล้าเป็นประจำทุกวัน ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม - กันยายน ๒๕๖๓ เพื่อประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนที่สัญจรผ่านไปมาไม่ให้ทิ้งขยะมูลฝอยลงในที่สาธารณะ และได้ดำเนินการทอดแบบสอบถาม ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการออกตรวจจุดกวดขันทิ้่งจับ-ปรับของสำนักงานเขตบางพลัด ไตรมาสที่ ๑ ระดับความ พึงพอใจ = 4.50 ไตรมาสที่ ๒ ระดับความพึงพอใจ = 4.91 ไตรมาสที่ ๓ ระดับความพึงพอใจ = 4.75 ไตรมาสที่ ๔ ระดับความพึงพอใจ = 4.91
๑. จุดกวดขันทิ้งจับ-ปรับ หมายถึง สถานที่ที่สำนักงานเขตกำหนดให้เป็นจุดทิ้งจับ-ปรับซึ่งต้องมีเจ้าหน้าที่เทศกิจประจำอยู่ที่จุดพร้อมอุปกรณ์ประชาสัมพันธ์ (ตามหนังสือที่ กท ๑๔๐๓/๓๐๙๑ ลงวันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๕๒ เรื่อง มาตรการทิ้งจับ-ปรับ) ๒. ประชาชน หมายถึง ผู้ที่อาศัยหรือสัญจรบริเวณจุดกวดขันทิ้งจับ-ปรับ ๓. ความพึงพอใจ หมายถึง ความพึงพอใจหรือ ความรู้สึกเชิงบวกที่ประชาชนมีต่อการออกตรวจจุดกวดขันทิ้งจับ-ปรับ ผู้ทิ้งขยะมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร โดยวัดระดับความพึงพอใจเป็น ๕ ระดับ คือ มากที่สุด เท่ากับ ๕ มาก เท่ากับ ๔ ปานกลาง เท่ากับ ๓ น้อย เท่ากับ ๒ น้อยที่สุด เท่ากับ ๑
วิธีการคำนวณ ๑. ((A*๕)+(B*๔)+(C*๓)+(D*๒)+(E*๑))/T A = จำนวนผู้ตอบระดับมากที่สุดคูณ ๕ B = จำนวนผู้ตอบระดับมากคูณ ๔ C = จำนวนผู้ตอบระดับปานกลางคูณ ๓ D = จำนวนผู้ตอบระดับน้อยคูณ ๒ E = จำนวนผู้ตอบระดับน้อยที่สุดคูณ ๑ T = จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด สูตรการหาค่าเฉลี่ย = A +B +C +D +E T คำนวณค่าโดยใช้สถิติ (ค่าเฉลี่ย) โดยกำหนดใช้ ๕ ระดับ คือ - ค่าเฉลี่ยเกินกว่า ๔.๕๑ – ๕.๐๐ หมายถึง มากที่สุด - ค่าเฉลี่ยเกินกว่า ๓.๕๑ – ๔.๕๐ หมายถึง มาก - ค่าเฉลี่ยเกินกว่า ๒.๕๑ – ๓.๕๐ หมายถึง ปานกลาง - ค่าเฉลี่ยเกินกว่า ๑.๕๑ – ๒.๕๐ หมายถึง น้อย - ค่าเฉลี่ยเกินกว่า ๑.๐๐ – ๑.๕๐ หมายถึง น้อยที่สุด
ฝ่ายเทศกิจ
:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City |
:๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม |
:๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า% |
:๒.๑.๑.๑ ตลาดหรือแผงค้าขายที่กีดขวางทางเท้า กีดขวางการจราจรและบดบังทัศนียภาพ ได้รับการจัดระเบียบได้ครบทุกกลุ่มเขต |