ค่าเป้าหมาย ชนิด/ปี : 100
ผลงานที่ทำได้ ชนิด/ปี : 219
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
ดำเนินการจับพิกัดทางภูมิศาสตร์ (GPS) ชนิดพันธุ์พืชในพื้นที่เขตจอมทอง ระหว่างเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2562 จำนวนทั้งสิ้น 75 ชนิด ได้แก่ มะขามยักษ์ บอนคัน ขนุนศรีบรรจง ต้นแคขาว ต้นผักปลัง ไผ่กิมซุง มะพร้าวไฟ ต้นแคนา จิกสวน เป็นต้น
ดำเนินการจับพิกัดทางภูมิศาสตร์ (GPS) ชนิดพันธุ์พืชในพื้นที่เขตจอมทอง ระหว่างเดือนมกราคม - มีนาคม 2563 จำนวนทั้งสิ้น 90 ชนิด ได้แก่ ไผ่เลี้ยง ไผ่สีสุก สร้อยอินทนิน ดาวอินคา ข่อยดำ คอนสวรรค์ หนามพุงดอ ลิ้นฟ้า สร้อยระย้าแก้ว โป๊ยเซียนแคระ ยางอินเดียใบด่าง ลิ้นจี่บางหญ้าแพรก เป็นต้น
ดำเนินการจับพิกัดทางภูมิศาสตร์ (GPS) ชนิดพันธุ์พืชในพื้นที่เขตจอมทอง ระหว่างเดือนเมษายน - มิถุนายน 2563 จำนวนทั้งสิ้น 120 ชนิด ได้แก่ เกลียวทอง ลำแพน ศุภโชค ขลู่ มะเดื่ออุทุมพร สะแบง มะค้อ กล้วยน้ำว้ามะลิอ่อง โยทะกา เถาวัลย์เปรียง เถาขี้กา เป็นต้น
ดำเนินการจับพิกัดทางภูมิศาสตร์ (GPS) ชนิดพันธุ์พืชในพื้นที่เขตจอมทอง ระหว่างเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2563 จำนวนทั้งสิ้น 219 ชนิด ได้แก่ บัวอเมซอน ติ้ว ลำไยเมืองเลย มะม่วงอกร่องใหญ่ ขนุนจำปา เป็นต้น
1. ชนิดพันธุ์พืช หมายถึง พืชที่มีอยู่ในพื้นที่เขตจอมทอง เช่น ส้มบางมด ลิ้นจี่บางขุนเทียน ตะเคียน ลำพู เป็นต้น 2. พิกัดทางภูมิศาสตร์ (GPS) หมายถึง ตำแหน่งบนพื้นผิวโลกที่สามารถระบุตำแหน่งที่ตั้งของพืชนั้นๆ
นับจำนวนชนิดพันธุ์พืชที่ได้รับการจับพิกัดทางภูมิศาสตร์ (GPS)
ลงพื้นที่สวนเกษตรและสวนสาธารณะในพื้นที่เขต เพื่อสำรวจพันธุ์ไม้และจับพิกัดทางภูมิศาสตร์
:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City |
:๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่ |
:๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ% |
:๒.๒.๑.๒ อนุรักษ์ ฟื้นฟูและรักษาพื้นที่สีเขียวเพื่อรักษาสภาพแวดล้อมที่ดีของกรุงเทพมหานคร |