รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

(เจรจา9) จำนวนแห่งในการดำเนินการฝึกซ้อมตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : 5036-1056

ค่าเป้าหมาย แห่ง : 10

ผลงานที่ทำได้ แห่ง : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(แห่ง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
30.00
100
100 / 100
2
50.00
100
100 / 100
3
70.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการร่วมฝึกซ้อมเพื่อป้องกันสาธารณภัยร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน จำนวน 3 หน่วยงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการร่วมฝึกซ้อมเพื่อป้องกันสาธารณภัยร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน จำนวน 5 หน่วยงาน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการร่วมฝึกซ้อมเพื่อป้องกันสาธารณภัยร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน จำนวน 5 หน่วยงาน เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการร่วมฝึกซ้อมเพื่อป้องกันสาธารณภัยร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน จำนวน 9 หน่วยงาน และดำเนินการฝึกซ้อม ณ สำนักงานเขตจอมทอง รวม 10 หน่วยงาน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

นิยาม : การฝึกซ้อมตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย หมายถึง การกระทำเพื่อให้เกิดความรู้ ความชำนาญ ทักษะ และประสบการณ์ในการปฏิบัติงานด้านสาธารณภัยของอาคารเสี่ยงภัย โดยเป็นการฝึกปฏิบัติของผู้เข้าร่วมการฝึกจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องซึ่งสมมติเหตุการณ์ขึ้น ถือเป็นการเตรียมพร้อมด้านบุคลากร ทรัพยากรและระบบปฏิบัติการให้ผู้เกี่ยวข้องได้เข้าใจบทบาทหน้าที่รองรับการปฏิบัติงานเมื่อเกิดเหตุการณ์จริงขึ้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หมายถึง หน่วยงานของกรุงเทพมหานครและหน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชนที่นับเป็นอาคารเสี่ยงภัย

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีการคำนวณ นับจำนวนแห่งของการดำเนินการฝึกซ้อมตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย โดยกำหนดให้ 1. การฝึกซ้อมตามแผนฯ ภายในสำนักงานเขตจอมทอง 1 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 30 2. การฝึกซ้อมตามแผนฯร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 9 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 70

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สำนักงานเขตจอมทอง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๔ - ปลอดภัยพิบัติ
:๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ%
:๑.๔.๑.๓ เสริมสร้างศักยภาพและความสามารถด้านบุคลากรและเครื่องมือในการจัดการสาธารณภัย โดยเฉพาะอัคคีภัย

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง