รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของความสำเร็จของการก่อหนี้ผูกพัน : 5038-0765

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
15.00
100
100 / 100
2
60.00
100
100 / 100
3
80.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการเร่งรัดการก่อหนี้ผูกพันของหน่วยงานให้เป็นไปตามที่สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานครกำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการเร่งรัดการก่อหนี้ผูกพันของหน่วยงานให้เป็นไปตามที่สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานครกำหนด การก่อหนี้ผูกพันหมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง จำนวน 28 รายการ งบประมาณหลังปรับโอน 34,252,640บาท ก่อหนี้ผูกพันแล้ว 24 รายการ เป็นเงิน 20,451,939.48บาท คิดเป็นร้อยละ 59.71

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการเร่งรัดการก่อหนี้ผูกพันของหน่วยงานให้เป็นไปตามที่สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานครกำหนด การก่อหนี้ผูกพันหมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง จำนวน 28 รายการ งบประมาณหลังปรับโอน 34,252,640.-บาท ก่อหนี้ผูกพันแล้ว 27 รายการ เป็นเงิน 27,973,826.48 บาท คิดเป็นร้อยละ 81.67 คงเหลือ 1 รายการ เป็นเงิน 6,278,813.52 บาท

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการเร่งรัดการก่อหนี้ผูกพันของหน่วยงานให้เป็นไปตามที่สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานครกำหนด การก่อหนี้ผูกพันหมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง จำนวน 30 รายการ งบประมาณหลังปรับโอน 30,585,778.-บาท ก่อหนี้ผูกพันแล้ว 30 รายการ เป็นเงิน 30,585,777.48 บาท คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

-ความสำเร็จของการก่อหนี้ผูกพัน หมายถึง หน่วยงานสามารถดำเนินการจนถึงขั้นลงนามในสัญญา

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

-การประเมินผลงบประมาณงบประมาณรายจ่ายประจำปี 1. รายการ/โครงการที่ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิะีประกาศเชิญชวนทั่วไป (กรณีวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ : e-market) วิธีคัดเลือก หรือวิธีเฉพาะเจาะจง คำนวณได้จาก วงเงินก่อหนี้ผูกพัน ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2562 คูณ 100 หารด้วย งบประมาณรายจ่ายประจำปีหลังปรับโอน ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2562 เท่ากับ ก% นำค่า ก เทียบกับเกณฑ์การให้คะแนนตามการประเมินผลงบประมาณรายจ่ายประจำปีรายการ/โครงการที่ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป (กรณีวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ : e-market) วิธีคัดเลือกหรือวิธีเฉพาะเจาะจง จะได้ค่าเป็น A คะแนน 2. รายการ/โครงการที่ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป (กรณีวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ : e-bidding) คำนวณได้จาก ผลรวมของคะแนนแต่ละรายการ หารด้วย จำนวนรายการ เท่ากับ B คะแนน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานครจะตรวจสอบข้อมูลจากระบบสารสนเทศ หากระบบสารสนเทศขัดข้องไม่สามารถเข้าตรวจสอบข้อมูลได้ ให้หน่วยงานผู้รับการประเมินจัดเตรียมเอกสาร/หลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการก่อหนี้ผูกพันไว้ที่หน่วยงาน พร้อมให้ผู้ประเมินผล ตรวจสอบหรือขอข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อประกอบการวิเคราะห์และประเมินผล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
:๗.๔ - การคลังและงบประมาณ
:๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ%
:๗.๔.๑.๔ ปรับปรุงมาตรฐานและแนวปฏิบัติด้านการเงินการบัญชี และการตรวจสอบ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง