รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) : 5038-0771

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00
100
100 / 100
2
50.00
100
100 / 100
3
80.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-ดำเนินการจัดทำโครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) ประจำปี พ.ศ.2562 ผ่านที่ประชุมคณะกรรมการพิจารณาเรียบร้อยแล้ว -ดำเนินการรักษารอบ โครงการให้บริการที่ดีที่สุดปี 2560 (โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะอันตราย)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ดำเนินการจัดทำโครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) ประจำปี พ.ศ.2562 โดยรณรงค์เชิญชวนให้ผู้ประกอบการภายในห้างสรรพสินค้าในพื้นที่ ลด ละ เลิก ใช้ถุงพลาสติก ถุงหูหิ้ว เเละโฟม -ดำเนินการรักษารอบ โครงการให้บริการที่ดีที่สุดปี 2560 (โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะอันตราย)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินการจัดทำโครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) ประจำปี พ.ศ.2562 โดยรณรงค์เชิญชวนให้ผู้ประกอบการภายในห้างสรรพสินค้าในพื้นที่ ลด ละ เลิก ใช้ถุงพลาสติก ถุงหูหิ้ว เเละโฟม -ดำเนินการรักษารอบ โครงการให้บริการที่ดีที่สุดปี 2560 (โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะอันตราย) -รณรงค์เชิญชวนให้ผู้ประกอบการภายในห้างสรรพสินค้าในพื้นที่ ลด ละ เลิก ใช้ถุงพลาสติก ถุงหูหิ้ว เเละโฟม การดำเนินการสำรวจ การจัดประชุม จัดอบรมและรณรงค์ให้ผู้ประกอบการลด ละ เลิก การใช้ถุงหูหิ้วพลาสติกและภาชนะโฟมบรรจุอาหาร -ดำเนินการรณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ ลด ละ เลิก การใช้ถุงหูหิ้วพลาสติกและภาชนะโฟมบรรจุอาหาร รวมทั้งทำการประเมินการใช้ถุงพลาสติกและโฟมในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย -รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ข้าราชการสำนักงานเขตสวนหลวง และโรงเรียนในพื้นที่เขตสวนหลวง จำนวน 8 แห่ง ลด ละ เลิก การใช้ถุงหูหิ้วพลาสติก

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการจัดทำโครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) ประจำปี พ.ศ.2562 โดยรณรงค์เชิญชวนให้ผู้ประกอบการภายในห้างสรรพสินค้าในพื้นที่ ลด ละ เลิก ใช้ถุงพลาสติก ถุงหูหิ้ว เเละโฟม -ดำเนินการรักษารอบ โครงการให้บริการที่ดีที่สุดปี 2560 (โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะอันตราย) -ผลการดำเนินการ ปริมาณการใช้โฟมบรรจุอาหารในสถานประกอบการด้านอาหารลดลงเมื่อเทียบกับก่อนดำเนินการ เป้าหมาย ร้อยละ 50 ผลการดำเนินงานได้ ร้อยละ 59 -ปริมาณการใช้ถุงหูหิ้วพลาสติกในสถานประกอบการด้านอาหารลดลง เป้าหมายร้อยละ 30 ผลการดำเนินงานได้ ร้อยละ 31 -ปริมาณการใช้โฟมบรรจุอาหารและถุงหูหิ้วพลาสติกในสำนักงานเขตสวนหลวงลดลง เป้าหมายร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานได้ตามเป้าหมาย ร้อยละ 100 -จำนวนกลุ่มเป้าหมายของสถานประกอบการด้านอาหารแต่ละประเภทไม่มีการใช้โฟมบรรจุอาหาร เป้าหมายประเภทละ 1 แห่ง ได้ตามเป้าหมาย ประเภทละ 1 แห่ง ได้แก่ ตลาด มินิมาร์ท ซุปเปอร์มาร์เก็ต สถานที่จำหน่ายอาหาร และสถานที่จำหน่ายอาหารในโรงเรียนไม่ใช้โฟมในการบรรจุอาหาร ทำได้ตามเป้าหมาย ร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1.โครงการให้บริการที่ดีที่สุด หมายถึง โครงการที่หน่วยงานคิดค้น/พัฒนา/ปรับปรุงระบบการให้บริการตามภารกิจ/อำนาจหน้าที่ของหน่วยงาน เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนหรือผู้รับบริการ โดยยึดผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง 2.ผู้รับบริการ หมายถึง 1)ประชาชนผู้มาขอรับบริการจากหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร หรือ 2)บุคลากรหรือหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกรุงเทพมหานครที่ได้รับบริการจากหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

เกณฑ์การประเมิน 1.การรักษาหรือคงไว้หรือพัฒนาโครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) ที่หน่วยงานนำเสนอเพื่อรับการประเมินในปีงบประมาณที่ผ่านมา (ปีงบประมาณ พ.ศ.2559-2561) (คะแนนร้อยละ 30) 2.การดำเนินโครงการให้บริการที่ดีที่สุดในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 (คะแนนร้อยละ 70) สูตรการคำนวณ -ผลคะแนนการดำเนินโครงการให้บริการที่ดีที่สุด (คะแนนร้อยละ 100) เท่ากับ ผลรวมของผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด หารด้วย จำนวนตัวชี้วัดทั้งหมด -ผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด เท่ากับ ผลงานที่ทำได้จริง คูณ 100 หารด้วย เป้าหมายของตัวชี้วัด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1.เอกสาร/หลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงความสำเร็จของผลการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัด 2.แบบฟอร์มการให้คะแนนการดำเนินโครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service)

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
:๗.๓ - การบริหารทรัพยากรบุคคล
:๗.๓.๒ กรุงเทพมหานครมีระบบบริหารทรัพยากรบุคคลเข้มแข็งเอื้อต่อความเป็นธรรมสามารถสร้างสมดุล%
:๗.๓.๒.๒ การพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลและระบบราชการให้มีประสิทธิภาพ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง