รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ความสามารถในการระบายน้ำจากถนนสายหลักที่มีปัญหาน้ำท่วมขังเนื่องจากฝนตก : 5038-0795

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
13.68
100
100 / 100
2
84.17
100
100 / 100
3
100.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-มีการจัดทำแผนปฏิบัติการเตรียมการป้องกันน้ำท่วมประจำปี 2563 ของสำนักงานเขต -ความสามารถในการระบายน้ำจากถนนสายหลักที่มีปัญหาน้ำท่วมขังเนื่องจากฝนตก มีการดำเนินงานจัดทำแผนขุดลอกท่อระบายน้ำ จำนวน 141 แห่ง ดำเนินการไปแล้ว คิดเป็น ร้อยละ 13.68

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-มีการจัดทำแผนปฏิบัติการเตรียมการป้องกันน้ำท่วมประจำปี 2563 ของสำนักงานเขต -ความสามารถในการระบายน้ำจากถนนสายหลักที่มีปัญหาน้ำท่วมขังเนื่องจากฝนตก มีการดำเนินงานจัดทำแผนขุดลอกท่อระบายน้ำ จำนวน 127 ซอย ความยาว 99,442 เมตร ดำเนินการไปแล้ว 110 ซอย ความยาว 83,700 เมตร คิดเป็น ร้อยละ 84.17

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-มีการจัดทำแผนปฏิบัติการเตรียมการป้องกันน้ำท่วมประจำปี 2563 ของสำนักงานเขต -ความสามารถในการระบายน้ำจากถนนสายหลักที่มีปัญหาน้ำท่วมขังเนื่องจากฝนตก มีการดำเนินงานจัดทำแผนขุดลอกท่อระบายน้ำ จำนวน 127 ซอย ความยาว 99,442 เมตร ดำเนินการเรียบร้อยทั้ง 127 ซอย ความยาว 99,442 เมตร คิดเป็นร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

--มีการจัดทำแผนปฏิบัติการเตรียมการป้องกันน้ำท่วมประจำปี 2563 ของสำนักงานเขต -ความสามารถในการระบายน้ำจากถนนสายหลักที่มีปัญหาน้ำท่วมขังเนื่องจากฝนตก มีการดำเนินงานจัดทำแผนขุดลอกท่อระบายน้ำ จำนวน 127 ซอย ความยาว 99,442 เมตร ดำเนินการเรียบร้อยทั้ง 127 ซอย ความยาว 99,442 เมตร คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

- ถนนสายหลัก หมายถึง ถนนทั้งหมดในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงเทพใต้ซึ่งสำนักงานเขตรับผิดชอบดูแลแก้ไขปัญหาน้ำท่วมขังในพื้นผิวถนน - ความสามารถระบายน้ำท่วมขัง หมายถึง ความสามารถในการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมขังในพื้นผิวถนน สามารถระบายน้ำเข้าสู่สภาวะปกติได้ในเวลาที่กำหนดยกเว้นพื้นที่ที่มีการก่อสร้างที่ส่งผลกระทบต่อระบบระบายน้ำ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีการคำนวณ : วัดช่วงเวลาน้ำท่วมนับจากฝนหยุดตกโดยใช้ข้อมูลสถิติ ที่บันทึกไว้จากกองระบบสารสนเทศระบายน้ำ โดยถนนสายหลักในพื้นที่ต้องมีสามารถระบายน้ำท่วมขังได้ภายในระยะเวลาดังนี้ -กรณีฝนตกเกิน 100 มิลลิเมตร สามารถระบายน้ำท่วมขังได้ภายใน 90 นาที -กรณีฝนตก เกิน 60 มิลิเมตร แต่ไม่เกิน 100 มิลลิเมตร สามารถระบายน้ำท่วมขังได้ภายใน 30 นาที -กรณีฝนตก ไม่เกิน 60 มิลลิเมตร ไม่มีน้ำท่วมขัง เกณฑ์การให้คะแนน: จำนวนครั้งที่ระบายน้ำได้ตามเกณฑ์ × 100 หารด้วย จำนวนครั้งที่ฝนตกและมีน้ำท่วมขังทั้งหมด เทียบเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ สามารถระบายน้ำได้ตามเกณฑ์ ร้อยละ 100 = 10 คะแนน ร้อยละ 90-99 = 8 คะแนน ร้อยละ 80-89 = 6 คะแนน ร้อยละ 70-79 = 4 คะแนน ร้อยละ 60-69 = 2 คะแนน ต่ำกว่า ร้อยละ 60 = 0 คะแนน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. แผนปฏิบัติการเตรียมการป้องกันน้ำท่วมประจำปี 2563 ของสำนักงานเขต 2. ข้อมูลสถิติ ปริมาณน้ำฝน และปริมาณน้ำท่วมขังของสำนักการระบายน้ำ ที่บันทึกไว้จากกองระบบสารสนเทศระบายน้ำ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๔ - ปลอดภัยพิบัติ
:๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ%
:๑.๔.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความพร้อมในการรับมือกับอุทกภัยทั้งจากน้ำฝนน้ำหนุนและน้ำหลาก เสริมสร้างศักยภาพและความสามารถด้านบุคลากรและเครื่องมือ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง