ค่าเป้าหมาย คะแนน : 5
ผลงานที่ทำได้ คะแนน : 4.458
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
อยู่ระหว่างดำเนินการเข้าร่วมประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินโครงการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการจากหน่วยงานกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ร่วมกับกองงานผู้ตรวจราชการ และสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เมื่อวันที่ 19 ธ.ค.62 ณ ห้องปิ่นเกล้า 1 โรงแรมรอยัลซิตี้ กรุงเทพฯ และเตรียมรับการทอดแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจ รอบที่ 1 ในเดือนมกราคม 2563
-ผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการจากหน่วยงานกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ของสำนักงานเขตสวนหลวง จากการสำรวจแบบสอบถาม จำนวน 250 ชุด (คน) โดยสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) ครั้งที่ 1 ได้รับคะแนนความพึงพอใจที่ 4.356 เมื่อคูณด้วยน้ำหนักที่เลือกไว้คะแนนรวมจึงได้ปรับมาที่ 4.404
-ผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการจากหน่วยงานกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ของสำนักงานเขตสวนหลวง จากการสำรวจแบบสอบถาม จำนวน 250 ชุด (คน) โดยสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) ครั้งที่ 1 ได้รับคะแนนความพึงพอใจที่ 4.356 เมื่อคูณด้วยน้ำหนักที่เลือกไว้คะแนนรวมจึงได้ปรับมาที่ 4.404 อยู่ระหว่างการรอผลการทอดแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจ ครั้งที่ 2 ซึ่งได้ทำการทอดแบบสอบถามความพึงพอใจเรียบร้อยแล้วในเดือนมิถุนายน 2563
-ผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการจากหน่วยงานกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ของสำนักงานเขตสวนหลวง จากการสำรวจแบบสอบถาม จำนวน 250 ชุด (คน) โดยสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) ครั้งที่ 1 ได้รับคะแนนความพึงพอใจที่ 4.356 เมื่อคูณด้วยน้ำหนักที่เลือกไว้คะแนนรวมจึงได้ปรับมาที่ 4.404 อยู่ระหว่างการรอผลการทอดแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจ ครั้งที่ 2 ได้รับความพึงพอใจที่ 4.440 เมื่อคูณด้วยนำ้หนัก เท่ากับ 4.511 รวมคะแนนเฉลี่ย 2 ครั้ง ก่อนปรับน้ำหนัก 4.398 เมื่อปรับน้ำหนักแล้ว ได้เท่ากับ 4.458
การสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการบริการของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร หมายถึง การสำรวจความพึงพอใจของประชาชนผู้มารับบริการโดยตรง หรือข้าราชการและบุคลากรจากหน่วยงาน/ส่วนราชการทั้งภายในและภายนอกกรุงเทพมหานคร ที่หน่วยงานนั้นๆให้บริการ
ผลสำรวจความพึงพอใจฯ ครั้งที่ 1 บวก ผลสำรวจความพึงพอใจฯ ครั้งที่ 2 หารด้วย จำนวนครั้งของการสำรวจความพึงพอใจฯ
ให้หน่วยงานผู้รับการประเมินจัดเตรียมเอกสาร/หลักฐานที่เกี่ยวข้องกับงานบริการของหน่วยงานนั้นๆ ไว้ที่หน่วยงานพร้อมให้ผู้ประเมินผลตรวจสอบหรือขอข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อประกอบการวิเคราะห์และประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการ
:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
:๗.๒ - การบริหารแผนและประเมินผล |
:๗.๒.๑ กรุงเทพมหานครมีระบบการติดตามและรายงานความก้าวหน้าผลการดำาเนินงานตามแผนพัฒนากรุงเทพ% |
:๗.๒.๑.๑ พัฒนาระบบการติดตามและรายงานความก้าวหน้าตามแผนพัฒนา |