รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของพื้นที่เสี่ยงภัยที่ได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการก่ออาชญากรรม : 5038-6510

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00
100
100 / 100
2
100.00
100
100 / 100
3
100.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการจัดเจ้าหน้าที่ประจำจุดเสี่ยงภัย วันละ 3 ครั้ง/จุด/วัน และตรวจตู้เขียวของเทศกิจในพื้นที่เขตสวนหลวง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- สำรวจจุดเสี่ยงภัย - ติดตั้งตู้เขียวในบริเวณจุดเสี่ยงภัย - จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจตราจุดเสี่ยงภัย (ตู้เขียว) ทั้งกลางวันและกลางคืน วันละ 3 ครั้ง/ วัน/จุด จำนวน 5 จุด ตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้อง CCTV และตรวจสอบไฟฟ้าแสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงภัยเป็นประจำทุกวัน ไม่พบปัญหาแต่อย่างใด - จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจอำนวยความสะดวกด้านการจราจร บริเวณหน้าโรงเรียนที่มีปัญหาการจราจรในพื้นที่เขตสวนหลวง วันละ 2 รอบ (เช้า-บ่าย)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจตราจุดเสี่ยงภัย (ตู้เขียว) ทั้งกลางวันและกลางคืน วันละ 3 ครั้ง/ วัน/จุด จำนวน 5 จุด ตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้อง CCTV และตรวจสอบไฟฟ้าแสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงภัยเป็นประจำทุกวัน ไม่พบปัญหาแต่อย่างใด - เดือนเมษายน 2564 จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจอำนวยความสะดวกด้านการจราจรบริเวณหน้าโรงเรียนที่มีการสอบปลายภาคในพื้นที่เขต เพื่อป้องกันและลดอุบัติเหตุจากการจราจร ตลอดจนดูแลความปลอดภัยให้กับนักเรียน ผู้ปกครอง และประชาชนที่ใช้เส้นทางสัญจร - เดือนพฤษภาคม 2564 โรงเรียนปิดภาคเรียน - เดือนมิถุนายน ขณะนี้โรงเรียนใช้วิธีการเรียนแบบออนไลน์ที่บ้าน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจตราจุดเสี่ยงภัย (ตู้เขียว) ทั้งกลางวันและกลางคืน วันละ 3 ครั้ง/ วัน/จุด จำนวน 5 จุด ตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้อง CCTV และตรวจสอบไฟฟ้าแสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงภัยเป็นประจำทุกวัน ไม่พบปัญหาแต่อย่างใด เดือนกรกฎาคม - กันยายน 2564: ตามมาตรการป้องกันโควิด-19 โรงเรียนเปิดทำการสอนทางระบบออนไลน์

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1. พื้นที่เสี่ยงภัย หมายถึง พื้นที่ที่มีความล่อแหลมต่อการเกิดเหตุอาชญากรรม กับประชาชน โดยพื้นที่เสี่ยงภัยที่เป็นเป้าหมายในการดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 นั้น ได้นำรายละเอียดพื้นที่เสี่ยงภัยและวิธีการแก้ไขหรือลดปัจจัยเสี่ยงภัยมาจากบัญชีพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายของกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2563 ซึ่งเกิดจากการสำรวจและรวบรวมข้อมูลของคณะทำงานโครงการสำรวจและจัดทำบัญชีพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายของกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2563

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ร้อยละ 100 ของการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัยในพื้นที่เขตสวนหลวง (จุดเสี่ยงภัย จำนวน 9 จุด)

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

จำนวนจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่เขตที่ได้รับการเฝ้าระวังและตรวจตรา หาร จำนวนจุดเสี่ยงในพื้นที่เขตทั้งหมด คูณ 100

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด
:๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน%
:๑.๒.๑.๑ เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการก่อ อาชญากรรม

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง