ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 85
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
1. จัดทำโครงการฯ และดำเนินการตามขั้นตอนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 2. มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเป็นประจำทุกเดือน 3. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชน เช่น การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ผ่านหอกระจายข่าวเอกสาร เวทีชาวบ้าน การประชุมในชุมชน การรณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน 4. มีการปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค 5. กรณีที่มีผู้ป่วยไข้เลือดออกต้องได้รับการควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังได้รับการแจ้งข่าวโดยใช้มาตรการเร่งด่วนสำหรับควบคุมการระบาด คือ (1) ประกาศแจ้งเตือนประชาชนให้ทราบว่ามีโรคไข้เลือดออกระบาดในชุมชนนั้น พร้อมทั้งให้สุขศึกษาแก่ประชาชนให้รู้จักวิธีการป้องกันตนเองและครอบครัวไม่ให้ยุงลายกัด (2) ขอความร่วมมือให้ประชาชนกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่อาจมีหลงเหลืออยู่ในชุมชนให้หมด (3) การกำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้านผู้ป่วยและบริเวณรอบบ้านควรดำเนินการอย่างน้อย 100 เมตร (4) ประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เกิดโรค โดยมีดัชนีความชุกชุมลูกน้ำ(ค่าHI น้อยกว่า 10) (5) การพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย ให้ครอบคลุมพื้นที่รอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร อย่างน้อย 2 ครั้ง โดยแต่ละครั้งห่างกัน 7 วัน หากเกิดมีผู้ป่วยกระจายในชุมชน ควรพ่นทุกหลังคาเรือนในชุมชน และหากมีชุมชนอยู่ข้างเคียงก็ควรพ่นสารเคมีเพิ่มเติมให้ชุมชนข้างเคียงด้วย
1. จัดทำโครงการฯ และดำเนินการตามขั้นตอนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 2. มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเป็นประจำทุกเดือน 3. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชน เช่น การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ผ่านหอกระจายข่าวเอกสาร เวทีชาวบ้าน การประชุมในชุมชน การรณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน 4. มีการปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค 5. กรณีที่มีผู้ป่วยไข้เลือดออกต้องได้รับการควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังได้รับการแจ้งข่าวโดยใช้มาตรการเร่งด่วนสำหรับควบคุมการระบาด คือ (1) ประกาศแจ้งเตือนประชาชนให้ทราบว่ามีโรคไข้เลือดออกระบาดในชุมชนนั้น พร้อมทั้งให้สุขศึกษาแก่ประชาชนให้รู้จักวิธีการป้องกันตนเองและครอบครัวไม่ให้ยุงลายกัด (2) ขอความร่วมมือให้ประชาชนกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่อาจมีหลงเหลืออยู่ในชุมชนให้หมด (3) การกำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้านผู้ป่วยและบริเวณรอบบ้านควรดำเนินการอย่างน้อย 100 เมตร (4) ประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เกิดโรค โดยมีดัชนีความชุกชุมลูกน้ำ(ค่าHI น้อยกว่า 10) (5) การพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย ให้ครอบคลุมพื้นที่รอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร อย่างน้อย 2 ครั้ง โดยแต่ละครั้งห่างกัน 7 วัน หากเกิดมีผู้ป่วยกระจายในชุมชน ควรพ่นทุกหลังคาเรือนในชุมชน และหากมีชุมชนอยู่ข้างเคียงก็ควรพ่นสารเคมีเพิ่มเติมให้ชุมชนข้างเคียงด้วย
ดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 1. มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเป็นประจำทุกเดือน 2. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชน เช่น การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ผ่านหอกระจายข่าวเอกสาร เวทีชาวบ้าน การประชุมในชุมชน การรณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน 3. มีการปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค 4. กรณีที่มีผู้ป่วยไข้เลือดออกต้องได้รับการควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังได้รับการแจ้งข่าวโดยใช้มาตรการเร่งด่วนสำหรับควบคุมการระบาด คือ (1) ประกาศแจ้งเตือนประชาชนให้ทราบว่ามีโรคไข้เลือดออกระบาดในชุมชนนั้น พร้อมทั้งให้สุขศึกษาแก่ประชาชนให้รู้จักวิธีการป้องกันตนเองและครอบครัวไม่ให้ยุงลายกัด (2) ขอความร่วมมือให้ประชาชนกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่อาจมีหลงเหลืออยู่ในชุมชนให้หมด (3) การกำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้านผู้ป่วยและบริเวณรอบบ้านควรดำเนินการอย่างน้อย 100 เมตร (4) ประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เกิดโรค โดยมีดัชนีความชุกชุมลูกน้ำ(ค่าHI น้อยกว่า 10) (5) การพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย ให้ครอบคลุมพื้นที่รอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร อย่างน้อย 2 ครั้ง โดยแต่ละครั้งห่างกัน 7 วัน หากเกิดมีผู้ป่วยกระจายในชุมชน ควรพ่นทุกหลังคาเรือนในชุมชน และหากมีชุมชนอยู่ข้างเคียงก็ควรพ่นสารเคมีเพิ่มเติมให้ชุมชนข้างเคียงด้วย / 23/4/2563 : ดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 1. มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเป็นประจำทุกเดือน 2. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชน เช่น การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ผ่านหอกระจายข่าวเอกสาร เวทีชาวบ้าน การประชุมในชุมชน การรณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน 3. มีการปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค 4. กรณีที่มีผู้ป่วยไข้เลือดออกต้องได้รับการควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังได้รับการแจ้งข่าวโดยใช้มาตรการเร่งด่วนสำหรับควบคุมการระบาด คือ (1) ประกาศแจ้งเตือนประชาชนให้ทราบว่ามีโรคไข้เลือดออกระบาดในชุมชนนั้น พร้อมทั้งให้สุขศึกษาแก่ประชาชนให้รู้จักวิธีการป้องกันตนเองและครอบครัวไม่ให้ยุงลายกัด (2) ขอความร่วมมือให้ประชาชนกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่อาจมีหลงเหลืออยู่ในชุมชนให้หมด (3) การกำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้านผู้ป่วยและบริเวณรอบบ้านควรดำเนินการอย่างน้อย 100 เมตร (4) ประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เกิดโรค โดยมีดัชนีความชุกชุมลูกน้ำ(ค่าHI น้อยกว่า 10) (5) การพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย ให้ครอบคลุมพื้นที่รอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร อย่างน้อย 2 ครั้ง โดยแต่ละครั้งห่างกัน 7 วัน หากเกิดมีผู้ป่วยกระจายในชุมชน ควรพ่นทุกหลังคาเรือนในชุมชน และหากมีชุมชนอยู่ข้างเคียงก็ควรพ่นสารเคมีเพิ่มเติมให้ชุมชนข้างเคียงด้วย
-ดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 1. มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเป็นประจำทุกเดือน 2. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชน เช่น การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ผ่านหอกระจายข่าวเอกสาร เวทีชาวบ้าน การประชุมในชุมชน การรณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน 3. มีการปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค 4. กรณีที่มีผู้ป่วยไข้เลือดออกต้องได้รับการควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังได้รับการแจ้งข่าวโดยใช้มาตรการเร่งด่วนสำหรับควบคุมการระบาด คือ (1) ประกาศแจ้งเตือนประชาชนให้ทราบว่ามีโรคไข้เลือดออกระบาดในชุมชนนั้น พร้อมทั้งให้สุขศึกษาแก่ประชาชนให้รู้จักวิธีการป้องกันตนเองและครอบครัวไม่ให้ยุงลายกัด (2) ขอความร่วมมือให้ประชาชนกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่อาจมีหลงเหลืออยู่ในชุมชนให้หมด (3) การกำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้านผู้ป่วยและบริเวณรอบบ้านควรดำเนินการอย่างน้อย 100 เมตร (4) ประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เกิดโรค โดยมีดัชนีความชุกชุมลูกน้ำ(ค่าHI น้อยกว่า 10) (5) การพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย ให้ครอบคลุมพื้นที่รอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร อย่างน้อย 2 ครั้ง โดยแต่ละครั้งห่างกัน 7 วัน หากเกิดมีผู้ป่วยกระจายในชุมชน ควรพ่นทุกหลังคาเรือนในชุมชน และหากมีชุมชนอยู่ข้างเคียงก็ควรพ่นสารเคมีเพิ่มเติมให้ชุมชนข้างเคียงด้วย -ดำเนินการโครงการแล้วเนร็จตามแผนงานที่วางไว้แล้ว
1. ชุมชน หมายถึง ชุมชนตามระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยชุมชนและกรรมการชุมชน พ.ศ. 2555 ในพื้นที่เขตบางแค 2. กิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก หมายถึง กิจกรรมทุกรูปแบบที่จัดทำขึ้นมีทั้งสิ้น 4 กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 การสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ดำเนินการในชุมชนทั้งหมด กิจกรรมที่ 2 การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชน โดยแจกเอกสารรณรงค์ประชาสัมพันธ์ตามชุมชน กิจกรรมที่ 3 ปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค ดำเนินการในชุมชนทั้งหมด กิจกรรมที่ 4 ชุมชนที่มีผู้ป่วยได้รับการควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง และได้ใช้มาตรการในการดำเนินการดังนี้ -ประกาศแจ้งเตือนประชาชนให้ทราบว่ามีโรคไข้เลือดออกระบาดในชุมชนและให้สุขศึกษาแก่ประชาชนให้รู้จักป้องกันตนเองและครอบครัวไม่ให้ยุงกัด -ขอให้ประชาชนให้ความร่วมมือกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายที่อาจมีหลงเหลืออยู่ในชุมชน -กำจัดลูกน้ำยุงในบ้านผู้ป่วยและบริเวณรอบอย่างน้อย 100 เมตร -ฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุงลายตัวเต็มวัยครอบคลุมพื้นที่รอบบ้านผู้ป่วยรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร จำนวน 2 ครั้ง และแต่ละครั้งห่างกัน 7 วัน หมายเหตุ : กิจกรรมที่ 4 จะถูกนำมานับเมื่อมีผู้ป่วยเกิดขึ้นในชุมชนนั้น หากชุมชนใดไม่มีผู้ป่วย ให้ถือว่าดำเนินการครบทั้ง 3 กิจกรรม และครบถ้วนตามเป้าหมาย
จำนวนชุมชนที่จัดกิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกครบ 4 กิจกรรม คูณด้วย 100 หารด้วยจำนวนชุมชนทั้งหมดในพื้นที่เขต
-
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง% |
:๑.๖.๒.๓ พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายในการควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออก |