ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

โครงการกรุงเทพเขตปลอดยุงลาย : 50400000-3594

สำนักงานเขตบางแค : (2563)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

นางสาวชุติมา พาหา

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 3 100

หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่เกิดจาก “เชื้อไวรัสเด็งกี่” 4 สายพันธุ์ โดยมียุงลายเป็นพาหะนำโรค ซึ่งมักจะเกิดขึ้นในประเทศที่ตั้งอยู่ในเขตร้อนและเขตกึ่งร้อนชื้น และองค์การอนามัยโลกได้ประกาศเตือนว่าอีกไม่นานโรคไข้เลือดออกอาจจะเกิดการแพร่ระบาดครั้งใหญ่ในภูมิภาคแปซิฟิกตะวันตก และมีการคาดการณ์ว่าในแต่ละปีทั่วโลกจะมีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกประมาณ 230 ล้านคน จากการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร พบว่าสถานการณ์ โรคไข้เลือดออกในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2562 – 30 กันยายน 2562 พบมีผู้ป่วยจำนวน 6,939 ราย คิดเป็นอัตราป่วยสะสม 122.24 รายต่อประชากรแสนคน และมีผู้เสียชีวิตจำนวน 4 ราย มีอัตราป่วยอยู่ในลำดับที่ 35 ของทั้งประเทศ ซึ่งกรุงเทพมหานครได้จัดกิจกรรมรณรงค์เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกตั้งแต่ปี 2562 อย่างต่อเนื่อง และมีความจำเป็นที่จะต้องจัดกิจกรรมการรณรงค์อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ สำนักงานเขตบางแค มีหน้าที่รับผิดชอบพื้นที่ 46.55 ตารางกิโลเมตร ประชากร 192,148 คนประชากรแฝง (แรงงานต่างด้าว) 42,609 คน และมีอาคารบ้านเรือนจำนวน 85,731 หลัง ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวข้างต้น จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพเขตปลอดยุงลายขึ้น เพื่อดำเนินการปฏิบัติงานในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในเชิงรุก โดยการควบคุมการแพร่ระบาดของยุงลายด้วยยุทธวิธีสร้างกลุ่มอาสาสมัครเครือข่ายในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย คือ การนำหลัก 5 ป และ 1 ข. มาใช้ในการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ เพื่อตัดวงจรการเกิดโรคไข้เลือดออกไม่ให้มียุงลายที่ติดเชื้อโรคไข้เลือดออกมากัดคนได้อีกต่อไป

50400400/50400400

วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์การกำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างถาวร 2. เพื่อแจกเอกสารและทรายอะเบทกำจัดลูกน้ำยุงลาย ที่เป็นพาหะนำโรคครอบคลุมเต็มพื้นที่ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือในระดับต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชนในพื้นที่ 4. เพื่อชี้แจงให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกแก่ลูกจ้างในสถานประกอบการเพื่อนำไปป้องกันในครัวเรือน

เป้าหมายของโครงการ

ดำเนินกิจกรรมการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนพื้นที่เขตบางแค 49 ชุมชน ให้ได้ร้อยละ 80 และหมู่บ้าน สถานศึกษา ศาสนสถาน ผู้ครอบครองอาคารสถานที่ภาครัฐ และเอกชน สถานประกอบการในพื้นที่เขตบางแค พื้นที่รกร้างว่างเปล่า และอื่น ๆ ดังนี้ 1. สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชนและครัวเรือน 2. ฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุงลายและใช้ทรายที่มีฟอสฟอรัสกำจัดลูกน้ำยุงลาย 3. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ แจกเอกสารแผ่นพับโรคไข้เลือดออก 4. ปรับปรุงสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่พันธุ์โรคไข้เลือดออก

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง%
๑.๖.๒.๓ พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายในการควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2020-08-21)

100.00

21/8/2563 : ดำเนินโครงการแล้วเสร็จตามแผนงานที่วางไว้แล้ว

** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-

** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 95.00 (2020-07-23)

95.00

23/7/2563 : ดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 1. มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเป็นประจำทุกเดือน 2. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชน เช่น การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ผ่านหอกระจายข่าวเอกสาร เวทีชาวบ้าน การประชุมในชุมชน การรณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน 3. มีการปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค 4. กรณีที่มีผู้ป่วยไข้เลือดออกต้องได้รับการควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังได้รับการแจ้งข่าวโดยใช้มาตรการเร่งด่วนสำหรับควบคุมการระบาด คือ (1) ประกาศแจ้งเตือนประชาชนให้ทราบว่ามีโรคไข้เลือดออกระบาดในชุมชนนั้น พร้อมทั้งให้สุขศึกษาแก่ประชาชนให้รู้จักวิธีการป้องกันตนเองและครอบครัวไม่ให้ยุงลายกัด (2) ขอความร่วมมือให้ประชาชนกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่อาจมีหลงเหลืออยู่ในชุมชนให้หมด (3) การกำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้านผู้ป่วยและบริเวณรอบบ้านควรดำเนินการอย่างน้อย 100 เมตร (4) ประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เกิดโรค โดยมีดัชนีความชุกชุมลูกน้ำ(ค่าHI น้อยกว่า 10) (5) การพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย ให้ครอบคลุมพื้นที่รอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร อย่างน้อย 2 ครั้ง โดยแต่ละครั้งห่างกัน 7 วัน หากเกิดมีผู้ป่วยกระจายในชุมชน ควรพ่นทุกหลังคาเรือนในชุมชน และหากมีชุมชนอยู่ข้างเคียงก็ควรพ่นสารเคมีเพิ่มเติมให้ชุมชนข้างเคียงด้วย / 23/4/2563 : ดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 1. มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเป็นประจำทุกเดือน 2. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชน เช่น การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ผ่านหอกระจายข่าวเอกสาร เวทีชาวบ้าน การประชุมในชุมชน การรณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน 3. มีการปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค 4. กรณีที่มีผู้ป่วยไข้เลือดออกต้องได้รับการควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังได้รับการแจ้งข่าวโดยใช้มาตรการเร่งด่วนสำหรับควบคุมการระบาด คือ (1) ประกาศแจ้งเตือนประชาชนให้ทราบว่ามีโรคไข้เลือดออกระบาดในชุมชนนั้น พร้อมทั้งให้สุขศึกษาแก่ประชาชนให้รู้จักวิธีการป้องกันตนเองและครอบครัวไม่ให้ยุงลายกัด (2) ขอความร่วมมือให้ประชาชนกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่อาจมีหลงเหลืออยู่ในชุมชนให้หมด (3) การกำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้านผู้ป่วยและบริเวณรอบบ้านควรดำเนินการอย่างน้อย 100 เมตร (4) ประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เกิดโรค โดยมีดัชนีความชุกชุมลูกน้ำ(ค่าHI น้อยกว่า 10) (5) การพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย ให้ครอบคลุมพื้นที่รอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร อย่างน้อย 2 ครั้ง โดยแต่ละครั้งห่างกัน 7 วัน หากเกิดมีผู้ป่วยกระจายในชุมชน ควรพ่นทุกหลังคาเรือนในชุมชน และหากมีชุมชนอยู่ข้างเคียงก็ควรพ่นสารเคมีเพิ่มเติมให้ชุมชนข้างเคียงด้วย

** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-

** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2020-06-23)

90.00

23/6/2563 : ดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 1. มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเป็นประจำทุกเดือน 2. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชน เช่น การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ผ่านหอกระจายข่าวเอกสาร เวทีชาวบ้าน การประชุมในชุมชน การรณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน 3. มีการปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค 4. กรณีที่มีผู้ป่วยไข้เลือดออกต้องได้รับการควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังได้รับการแจ้งข่าวโดยใช้มาตรการเร่งด่วนสำหรับควบคุมการระบาด คือ (1) ประกาศแจ้งเตือนประชาชนให้ทราบว่ามีโรคไข้เลือดออกระบาดในชุมชนนั้น พร้อมทั้งให้สุขศึกษาแก่ประชาชนให้รู้จักวิธีการป้องกันตนเองและครอบครัวไม่ให้ยุงลายกัด (2) ขอความร่วมมือให้ประชาชนกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่อาจมีหลงเหลืออยู่ในชุมชนให้หมด (3) การกำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้านผู้ป่วยและบริเวณรอบบ้านควรดำเนินการอย่างน้อย 100 เมตร (4) ประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เกิดโรค โดยมีดัชนีความชุกชุมลูกน้ำ(ค่าHI น้อยกว่า 10) (5) การพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย ให้ครอบคลุมพื้นที่รอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร อย่างน้อย 2 ครั้ง โดยแต่ละครั้งห่างกัน 7 วัน หากเกิดมีผู้ป่วยกระจายในชุมชน ควรพ่นทุกหลังคาเรือนในชุมชน และหากมีชุมชนอยู่ข้างเคียงก็ควรพ่นสารเคมีเพิ่มเติมให้ชุมชนข้างเคียงด้วย / 23/4/2563 : ดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 1. มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเป็นประจำทุกเดือน 2. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชน เช่น การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ผ่านหอกระจายข่าวเอกสาร เวทีชาวบ้าน การประชุมในชุมชน การรณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน 3. มีการปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค 4. กรณีที่มีผู้ป่วยไข้เลือดออกต้องได้รับการควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังได้รับการแจ้งข่าวโดยใช้มาตรการเร่งด่วนสำหรับควบคุมการระบาด คือ (1) ประกาศแจ้งเตือนประชาชนให้ทราบว่ามีโรคไข้เลือดออกระบาดในชุมชนนั้น พร้อมทั้งให้สุขศึกษาแก่ประชาชนให้รู้จักวิธีการป้องกันตนเองและครอบครัวไม่ให้ยุงลายกัด (2) ขอความร่วมมือให้ประชาชนกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่อาจมีหลงเหลืออยู่ในชุมชนให้หมด (3) การกำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้านผู้ป่วยและบริเวณรอบบ้านควรดำเนินการอย่างน้อย 100 เมตร (4) ประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เกิดโรค โดยมีดัชนีความชุกชุมลูกน้ำ(ค่าHI น้อยกว่า 10) (5) การพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย ให้ครอบคลุมพื้นที่รอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร อย่างน้อย 2 ครั้ง โดยแต่ละครั้งห่างกัน 7 วัน หากเกิดมีผู้ป่วยกระจายในชุมชน ควรพ่นทุกหลังคาเรือนในชุมชน และหากมีชุมชนอยู่ข้างเคียงก็ควรพ่นสารเคมีเพิ่มเติมให้ชุมชนข้างเคียงด้วย

** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-

** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2020-05-25)

85.00

25/5/2563 : ดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 1. มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเป็นประจำทุกเดือน 2. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชน เช่น การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ผ่านหอกระจายข่าวเอกสาร เวทีชาวบ้าน การประชุมในชุมชน การรณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน 3. มีการปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค 4. กรณีที่มีผู้ป่วยไข้เลือดออกต้องได้รับการควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังได้รับการแจ้งข่าวโดยใช้มาตรการเร่งด่วนสำหรับควบคุมการระบาด คือ (1) ประกาศแจ้งเตือนประชาชนให้ทราบว่ามีโรคไข้เลือดออกระบาดในชุมชนนั้น พร้อมทั้งให้สุขศึกษาแก่ประชาชนให้รู้จักวิธีการป้องกันตนเองและครอบครัวไม่ให้ยุงลายกัด (2) ขอความร่วมมือให้ประชาชนกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่อาจมีหลงเหลืออยู่ในชุมชนให้หมด (3) การกำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้านผู้ป่วยและบริเวณรอบบ้านควรดำเนินการอย่างน้อย 100 เมตร (4) ประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เกิดโรค โดยมีดัชนีความชุกชุมลูกน้ำ(ค่าHI น้อยกว่า 10) (5) การพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย ให้ครอบคลุมพื้นที่รอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร อย่างน้อย 2 ครั้ง โดยแต่ละครั้งห่างกัน 7 วัน หากเกิดมีผู้ป่วยกระจายในชุมชน ควรพ่นทุกหลังคาเรือนในชุมชน และหากมีชุมชนอยู่ข้างเคียงก็ควรพ่นสารเคมีเพิ่มเติมให้ชุมชนข้างเคียงด้วย / 23/4/2563 : ดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 1. มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเป็นประจำทุกเดือน 2. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชน เช่น การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ผ่านหอกระจายข่าวเอกสาร เวทีชาวบ้าน การประชุมในชุมชน การรณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน 3. มีการปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค 4. กรณีที่มีผู้ป่วยไข้เลือดออกต้องได้รับการควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังได้รับการแจ้งข่าวโดยใช้มาตรการเร่งด่วนสำหรับควบคุมการระบาด คือ (1) ประกาศแจ้งเตือนประชาชนให้ทราบว่ามีโรคไข้เลือดออกระบาดในชุมชนนั้น พร้อมทั้งให้สุขศึกษาแก่ประชาชนให้รู้จักวิธีการป้องกันตนเองและครอบครัวไม่ให้ยุงลายกัด (2) ขอความร่วมมือให้ประชาชนกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่อาจมีหลงเหลืออยู่ในชุมชนให้หมด (3) การกำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้านผู้ป่วยและบริเวณรอบบ้านควรดำเนินการอย่างน้อย 100 เมตร (4) ประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เกิดโรค โดยมีดัชนีความชุกชุมลูกน้ำ(ค่าHI น้อยกว่า 10) (5) การพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย ให้ครอบคลุมพื้นที่รอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร อย่างน้อย 2 ครั้ง โดยแต่ละครั้งห่างกัน 7 วัน หากเกิดมีผู้ป่วยกระจายในชุมชน ควรพ่นทุกหลังคาเรือนในชุมชน และหากมีชุมชนอยู่ข้างเคียงก็ควรพ่นสารเคมีเพิ่มเติมให้ชุมชนข้างเคียงด้วย

** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-

** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2020-04-23)

75.00

23/4/2563 : ดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 1. มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเป็นประจำทุกเดือน 2. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชน เช่น การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ผ่านหอกระจายข่าวเอกสาร เวทีชาวบ้าน การประชุมในชุมชน การรณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน 3. มีการปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค 4. กรณีที่มีผู้ป่วยไข้เลือดออกต้องได้รับการควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังได้รับการแจ้งข่าวโดยใช้มาตรการเร่งด่วนสำหรับควบคุมการระบาด คือ (1) ประกาศแจ้งเตือนประชาชนให้ทราบว่ามีโรคไข้เลือดออกระบาดในชุมชนนั้น พร้อมทั้งให้สุขศึกษาแก่ประชาชนให้รู้จักวิธีการป้องกันตนเองและครอบครัวไม่ให้ยุงลายกัด (2) ขอความร่วมมือให้ประชาชนกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่อาจมีหลงเหลืออยู่ในชุมชนให้หมด (3) การกำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้านผู้ป่วยและบริเวณรอบบ้านควรดำเนินการอย่างน้อย 100 เมตร (4) ประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เกิดโรค โดยมีดัชนีความชุกชุมลูกน้ำ(ค่าHI น้อยกว่า 10) (5) การพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย ให้ครอบคลุมพื้นที่รอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร อย่างน้อย 2 ครั้ง โดยแต่ละครั้งห่างกัน 7 วัน หากเกิดมีผู้ป่วยกระจายในชุมชน ควรพ่นทุกหลังคาเรือนในชุมชน และหากมีชุมชนอยู่ข้างเคียงก็ควรพ่นสารเคมีเพิ่มเติมให้ชุมชนข้างเคียงด้วย

** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-

** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 65.00 (2020-03-23)

65.00

23/3/2563 : ดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 1. มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเป็นประจำทุกเดือน 2. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชน เช่น การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ผ่านหอกระจายข่าวเอกสาร เวทีชาวบ้าน การประชุมในชุมชน การรณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน 3. มีการปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค 4. กรณีที่มีผู้ป่วยไข้เลือดออกต้องได้รับการควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังได้รับการแจ้งข่าวโดยใช้มาตรการเร่งด่วนสำหรับควบคุมการระบาด คือ (1) ประกาศแจ้งเตือนประชาชนให้ทราบว่ามีโรคไข้เลือดออกระบาดในชุมชนนั้น พร้อมทั้งให้สุขศึกษาแก่ประชาชนให้รู้จักวิธีการป้องกันตนเองและครอบครัวไม่ให้ยุงลายกัด (2) ขอความร่วมมือให้ประชาชนกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่อาจมีหลงเหลืออยู่ในชุมชนให้หมด (3) การกำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้านผู้ป่วยและบริเวณรอบบ้านควรดำเนินการอย่างน้อย 100 เมตร (4) ประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เกิดโรค โดยมีดัชนีความชุกชุมลูกน้ำ(ค่าHI น้อยกว่า 10) (5) การพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย ให้ครอบคลุมพื้นที่รอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร อย่างน้อย 2 ครั้ง โดยแต่ละครั้งห่างกัน 7 วัน หากเกิดมีผู้ป่วยกระจายในชุมชน ควรพ่นทุกหลังคาเรือนในชุมชน และหากมีชุมชนอยู่ข้างเคียงก็ควรพ่นสารเคมีเพิ่มเติมให้ชุมชนข้างเคียงด้วย

** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-

** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2020-02-24)

60.00

24/2/2563 : ดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 1. มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเป็นประจำทุกเดือน 2. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชน เช่น การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ผ่านหอกระจายข่าวเอกสาร เวทีชาวบ้าน การประชุมในชุมชน การรณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน 3. มีการปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค 4. กรณีที่มีผู้ป่วยไข้เลือดออกต้องได้รับการควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังได้รับการแจ้งข่าวโดยใช้มาตรการเร่งด่วนสำหรับควบคุมการระบาด คือ (1) ประกาศแจ้งเตือนประชาชนให้ทราบว่ามีโรคไข้เลือดออกระบาดในชุมชนนั้น พร้อมทั้งให้สุขศึกษาแก่ประชาชนให้รู้จักวิธีการป้องกันตนเองและครอบครัวไม่ให้ยุงลายกัด (2) ขอความร่วมมือให้ประชาชนกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่อาจมีหลงเหลืออยู่ในชุมชนให้หมด (3) การกำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้านผู้ป่วยและบริเวณรอบบ้านควรดำเนินการอย่างน้อย 100 เมตร (4) ประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เกิดโรค โดยมีดัชนีความชุกชุมลูกน้ำ(ค่าHI น้อยกว่า 10) (5) การพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย ให้ครอบคลุมพื้นที่รอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร อย่างน้อย 2 ครั้ง โดยแต่ละครั้งห่างกัน 7 วัน หากเกิดมีผู้ป่วยกระจายในชุมชน ควรพ่นทุกหลังคาเรือนในชุมชน และหากมีชุมชนอยู่ข้างเคียงก็ควรพ่นสารเคมีเพิ่มเติมให้ชุมชนข้างเคียงด้วย

** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-

** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 45.00 (2020-01-23)

45.00

23/1/2563 : ดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 1. มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเป็นประจำทุกเดือน 2. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชน เช่น การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ผ่านหอกระจายข่าวเอกสาร เวทีชาวบ้าน การประชุมในชุมชน การรณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน 3. มีการปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค 4. กรณีที่มีผู้ป่วยไข้เลือดออกต้องได้รับการควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังได้รับการแจ้งข่าวโดยใช้มาตรการเร่งด่วนสำหรับควบคุมการระบาด คือ (1) ประกาศแจ้งเตือนประชาชนให้ทราบว่ามีโรคไข้เลือดออกระบาดในชุมชนนั้น พร้อมทั้งให้สุขศึกษาแก่ประชาชนให้รู้จักวิธีการป้องกันตนเองและครอบครัวไม่ให้ยุงลายกัด (2) ขอความร่วมมือให้ประชาชนกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่อาจมีหลงเหลืออยู่ในชุมชนให้หมด (3) การกำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้านผู้ป่วยและบริเวณรอบบ้านควรดำเนินการอย่างน้อย 100 เมตร (4) ประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เกิดโรค โดยมีดัชนีความชุกชุมลูกน้ำ(ค่าHI น้อยกว่า 10) (5) การพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย ให้ครอบคลุมพื้นที่รอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร อย่างน้อย 2 ครั้ง โดยแต่ละครั้งห่างกัน 7 วัน หากเกิดมีผู้ป่วยกระจายในชุมชน ควรพ่นทุกหลังคาเรือนในชุมชน และหากมีชุมชนอยู่ข้างเคียงก็ควรพ่นสารเคมีเพิ่มเติมให้ชุมชนข้างเคียงด้วย

** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-

** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-

------------------&&&--------------------

(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 35.00 (2019-12-23)

35.00

23/12/2562 : ดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 1. มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเป็นประจำทุกเดือน 2. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชน เช่น การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ผ่านหอกระจายข่าวเอกสาร เวทีชาวบ้าน การประชุมในชุมชน การรณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน 3. มีการปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค 4. กรณีที่มีผู้ป่วยไข้เลือดออกต้องได้รับการควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังได้รับการแจ้งข่าวโดยใช้มาตรการเร่งด่วนสำหรับควบคุมการระบาด คือ (1) ประกาศแจ้งเตือนประชาชนให้ทราบว่ามีโรคไข้เลือดออกระบาดในชุมชนนั้น พร้อมทั้งให้สุขศึกษาแก่ประชาชนให้รู้จักวิธีการป้องกันตนเองและครอบครัวไม่ให้ยุงลายกัด (2) ขอความร่วมมือให้ประชาชนกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่อาจมีหลงเหลืออยู่ในชุมชนให้หมด (3) การกำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้านผู้ป่วยและบริเวณรอบบ้านควรดำเนินการอย่างน้อย 100 เมตร (4) ประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เกิดโรค โดยมีดัชนีความชุกชุมลูกน้ำ(ค่าHI น้อยกว่า 10) (5) การพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย ให้ครอบคลุมพื้นที่รอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร อย่างน้อย 2 ครั้ง โดยแต่ละครั้งห่างกัน 7 วัน หากเกิดมีผู้ป่วยกระจายในชุมชน ควรพ่นทุกหลังคาเรือนในชุมชน และหากมีชุมชนอยู่ข้างเคียงก็ควรพ่นสารเคมีเพิ่มเติมให้ชุมชนข้างเคียงด้วย

** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-

** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-

------------------&&&--------------------

(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 25.00 (2019-11-25)

25.00

25/11/2562 : ดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก

** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-

** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-

------------------&&&--------------------

(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 15.00 (2019-10-28)

15.00

28/10/2562 : จัดทำโครงการฯ และดำเนินการตามขั้นตอนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก

** ปัญหาของโครงการ :-ไม่มี-

** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 50400000-3594

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 50400000-3594

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 5040-0836

ตัวชี้วัด : ร้อยละของชุมชนในพื้นที่เขตบางแคมีกิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 85

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
35.00

100 / 100
2
65.00

100 / 100
3
90.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **