ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
ผลการจัดเก็บภาษีทั้ง 3 ประเภท ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2562 ถึงวันที่ 27 ธันวาคม 2562 ดังนี้ 1. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน จำนวน 251 ราย จำนวนเงิน 4,882,520.98 บาท 2. ภาษีบำรุงท้องที่ จำนวน 961 ราย จำนวนเงิน 93,950.50 บาท 3. ภาษีป้าย จำนวน 52 ราย จำนวนเงิน 267,961.20 บาท รวมผลการจัดเก็บภาษีทั้ง 3 ประเภท จำนวน 1,264 ราย จำนวนเงิน 5,244,432.68 บาท โดยมีการออกสำรวจที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง และบันทึกข้อมูลลงในระบบสารสนเทศที่ดินตาม พรบ.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 ตามหนังสือสำนักงานเขตบางแค ที่ กท 8705/5396 ลงวันที่ 2 ตุลาคม 2562 เรื่อง ขอความร่วมมือการเข้าสำรวจและให้ข้อมูลกรรมสิทธิ์ การใช้ประโยชน์และที่อยู่เจ้าของกรรมสิทธิ์ ตามกฎหมายว่าด้วยภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
-ผลการจัดเก็บภาษีทั้ง 3 ประเภท ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2562 ถึงวันที่ 23 มีนาคม 2563 ดังนี้ 1. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน จำนวน 454 ราย จำนวนเงิน 7,194,544.09 บาท 2. ภาษีบำรุงท้องที่ จำนวน 1,308 ราย จำนวนเงิน 140,915.60 บาท 3. ภาษีป้าย จำนวน 810 ราย จำนวนเงิน 4,242,851.60 บาท รวมผลการจัดเก็บภาษีทั้ง 3 ประเภท จำนวน 2,572 ราย จำนวนเงิน 11,578,311.29 บาท โดยมีการออกสำรวจที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง และบันทึกข้อมูลลงในระบบสารสนเทศที่ดินตาม พรบ.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 ตามหนังสือสำนักงานเขตบางแค ที่ กท 8705/5396 ลงวันที่ 2 ตุลาคม 2562 เรื่อง ขอความร่วมมือการเข้าสำรวจและให้ข้อมูลกรรมสิทธิ์ การใช้ประโยชน์และที่อยู่เจ้าของกรรมสิทธิ์ ตามกฎหมายว่าด้วยภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
-ผลการจัดเก็บภาษีทั้ง 3 ประเภท ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2562 ถึงวันที่ 26 มิถุนายน2563 ดังนี้ 1. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน จำนวน 555 ราย จำนวน 10,295,760.16 บาท 2. ภาษีบำรุงท้องที่ จำนวน 1,552 ราย จำนวนเงิน 165,816 บาท 3. ภาษีป้าย จำนวน 1,563 ราย จำนวนเงิน 12,632,403.04 บาท รวมผลการจัดเก็บภาษีทั้ง 3 ประเภท จำนวน 3,670 ราย จำนวนเงิน 23,093,979.20 บาท อยู่ระหว่างการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง โดยมีการออกสำรวจที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ตามหนังสือสำนักงานเขตบางแค ที่ กท 8705/5396 ลงวันที่ 2 ตุลาคม 2562 เรื่อง ขอความร่วมมือการเข้าสำรวจและให้ข้อมูลกรรมสิทธิ์การใช้ประโยชน์และที่อยู่เจ้าของกรรมสิทธิ์ และบันทึกข้อมูลลงในระบบสารสนเทศที่ดินและสิ่งปลูกสร้างจัดส่งข้อมูลรายการทรัพย์สิน ภ.ด.ส.3 , ภ.ด.ส.4 และดำเนินการตามคำร้องขอแก้ไขบัญชีรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง/บัญชีรายการห้องชุดตามมาตรา 32
ผลการจัดเก็บภาษีทั้ง 3 ประเภท ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2562 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2563 ดังนี้ 1. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน จำนวน 643 ราย จำนวน 12,998,018.41 บาท 2. ภาษีบำรุงท้องที่ จำนวน 3,901 ราย จำนวนเงิน 372,319.47 บาท 3. ภาษีป้าย จำนวน 1,947 ราย จำนวนเงิน 16,748,104.31 บาท 4. ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง จำนวน 9,182 ราย จำนวนเงิน 10,937,047.63 รวมผลการจัดเก็บภาษีทั้ง 4 ประเภท จำนวน 15,673 ราย จำนวนเงิน 41,055,489.82บาท อยู่ระหว่างการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง โดยมีการออกสำรวจที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ตามหนังสือสำนักงานเขตบางแค ที่ กท 8705/5396 ลงวันที่ 2 ตุลาคม 2562 เรื่อง ขอความร่วมมือการเข้าสำรวจและให้ข้อมูลกรรมสิทธิ์การใช้ประโยชน์และที่อยู่เจ้าของกรรมสิทธิ์ และบันทึกข้อมูลลงในระบบสารสนเทศที่ดินและสิ่งปลูกสร้างจัดส่งข้อมูลรายการทรัพย์สิน ภ.ด.ส.3 , ภ.ด.ส.4 และดำเนินการตามคำร้องขอแก้ไขบัญชีรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง/บัญชีรายการห้องชุดตามมาตรา 32 ดำเนินการจัดส่งแบบแสดงรายการคำนวณภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ภ.ด.ส.7
ความหมาย : การแจ้งการประเมินภาษีแก่ผู้ที่ต้องเสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในปี 2563 ทุกราย นิยาม : ผู้ที่ต้องเสียภาษี หมายถึง ผู้ที่ต้องเสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในปีภาษี 2563 ที่ปรากฏจากผลสำรวจการใช้ประโยชน์ที่ดินของสำนักงานเขต ความหมาย : การดำเนินการตามกระบวนการบังคับภาษีกับลูกหนี้ ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในปี 2563 ครบถ้วน ตามกระบวนการที่กฎหมายกำหนดทุกราย นิยาม : ลูกหนี้ภาษี หมายถึง ลูกหนี้ที่ค้างชำระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในปี 2563
จำนวนรายของผู้ที่ต้องเสียภาษีที่ได้รับแจ้งการประเมินภาษีของสำนักงานเขต หาร จำนวนรายของผู้ที่ต้องเสียภาษีทั้งหมดของสำนักงานเขต คูณ 100 จำนวนรายของลูกหนี้ภาษีของสำนักงานเขตที่ดำเนินการบังคับภาษีครบถ้วน หาร จำนวนรายของลูกหนี้ของภาษีของสำนักงานเขต คูณ 100
///
:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
:๗.๔ - การคลังและงบประมาณ |
:๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ% |
:๗.๔.๑.๑ เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ |