ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
- สำรวจพื้นที่เพื่อทำการบำรุงรักษา ปรับปรุง และเพิ่มพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตหลักสี่ - ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลพื้นที่สีเขียวของสำนักงานเขตทั้งหมดในโปรแกรมฯ - รายงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมของเมืองที่ดีต่อพื้นที่ กทม. (สสล.01) ทุกไตรมาส - รายงานข้อมูลชนิดและจำนวนต้นไม้ที่ปลูก (สสล.02) และรายงานข้อมูลชนิดและจำนวนต้นไม้ที่ขุดย้าย (สสล.03) ทุกเดือน
- เตรียมพื้นที่เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว ปรับปรุงภูมิทัศน์ และปลูกซ่อมแซมให้สวยงาม - ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลพื้นที่สีเขียวของสำนักงานเขตทั้งหมดในโปรแกรมฯ - รายงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมของเมืองที่ดีต่อพื้นที่ กทม. (สสล.01) ทุกไตรมาส - รายงานข้อมูลชนิดและจำนวนต้นไม้ที่ปลูก (สสล.02) และรายงานข้อมูลชนิดและจำนวนต้นไม้ที่ขุดย้าย (สสล.03) ทุกเดือน
ชะลอโครงการตามหนังสือสั่งการที่ กท 1902/00555 ลงวันที่ 23 มีนาคม 2563 แต่ได้ดำเนินการ ดังนี้ - ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลพื้นที่สีเขียวของสำนักงานเขตทั้งหมดในโปรแกรมฯ - รายงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมของเมืองที่ดีต่อพื้นที่ กทม. (สสล.01) ทุกไตรมาส - รายงานข้อมูลชนิดและจำนวนต้นไม้ที่ปลูก (สสล.02) และรายงานข้อมูลชนิดและจำนวนต้นไม้ที่ขุดย้าย (สสล.03) ทุกเดือน
มีการชะลอโครงการตามหนังสือสั่งการที่ กท 1902/00555 ลงวันที่ 23 มีนาคม 2563 แต่ได้ดำเนินการ ดังนี้ - ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลพื้นที่สีเขียวของสำนักงานเขตทั้งหมดในโปรแกรมฯ - รายงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมของเมืองที่ดีต่อพื้นที่ กทม. (สสล.01) ทุกไตรมาส - รายงานข้อมูลชนิดและจำนวนต้นไม้ที่ปลูก (สสล.02) และรายงานข้อมูลชนิดและจำนวนต้นไม้ที่ขุดย้าย (สสล.03) ทุกเดือน
พื้นที่สีเขียว หมายถึง พื้นที่สีเขียวตามที่กำหนดไว้ใน “ฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร” ประกอบด้วย 10 ประเภทแยกเป็น 2 ประเภทหลัก คือ 1. พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม ให้สำนักงานเขตดำเนินการตามเป้าหมายที่ตกลงกับสำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อมในแต่ละปี 2. พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะซึ่งต้องดำเนินการสำรวจรวบรวมเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 12 แห่ง/ปี • กรณีข้อ 2 กรณีหากสำนักงานเขตได้รับการยกเว้นเนื่องจากไม่มีพื้นที่ตามที่กำหนดเหลือแล้วให้ใช้การรายงานผลการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตรวม 4 ครั้ง/ปี (ธ.ค.,มี.ค.,มิ.ย.,ก.ย.) ตามแบบฟอร์มที่สำนักงานสวนกำหนดแทน
- พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนได้ตามเป้าหมายที่กำหนด คิดเป็นร้อยละ 100 - พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนได้ตามเป้าหมายที่กำหนดคิดเป็นร้อยละ 100 - กรณีสำนักงานเขตได้รับการยกเว้นเนื่องจากไม่มีพื้นที่ตามที่กำหนดเหลือแล้วให้ใช้การรายงานผลการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตรวม 4 ครั้ง/ปี (ธ.ค.,มี.ค.,มิ.ย.,ก.ย.) คิดคะแนนครั้งละ 25%
ใช้ข้อมูลพื้นที่สีเขียวของแต่ละเขตที่ปรากฏใน “ฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร” เท่านั้น
:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City |
:๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่ |
:๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ% |
:๒.๒.๑.๑ พัฒนาพื้นที่สีเขียวสำหรับพักผ่อนหย่อนใจและสร้างความร่มรื่นเพิ่มขึ้นกระจาย ทั่วในพื้นที่ |