ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
ดำเนินการตรวจสถานประกอบการอาหารเพื่อรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี โดยมีจำนวนสถานประกอบการอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ(รายต่ออายุ) จำนวน 62 แห่ง จากจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 304 แห่ง
ดำเนินการตรวจสถานประกอบการอาหารเพื่อรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี โดยมีจำนวนสถานประกอบการอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ จำนวน 150 แห่ง จากจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 304 แห่ง
ดำเนินการตรวจสถานประกอบการอาหารเพื่อรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี โดยมีจำนวนสถานประกอบการอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ จำนวน 205 แห่ง จากจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 304 แห่ง
ดำเนินการตรวจสถานประกอบการอาหารเพื่อรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี โดยมีจำนวนสถานประกอบการอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยฯ จำนวน 329 แห่ง จากจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 329 แห่ง
๑. สถานประกอบการอาหาร หมายถึง สถานที่จำหน่ายอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ในพื้นที่ ๕๐ เขต ที่ได้รับใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองการแจ้ง ตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข ๒. เกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี หมายถึง เกณฑ์ที่ใช้ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารเพื่อขอรับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ประกอบด้วย ๓ องค์ประกอบหลัก ได้แก่ ด้านอาคารสถานที่ ด้านอาหาร และด้านบุคลากรผู้สัมผัสอาหาร ดังนี้ (๑) สถานประกอบการอาหารผ่านเกณฑ์สุขลักษณะ (๒) อาหารและวัตถุดิบผ่านเกณฑ์ด้าน ความปลอดภัย โดยสุ่มตรวจด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test-kit) ไม่พบสารเคมีอันตราย ๔ ชนิด คือ สารบอแรกซ์ สารฟอกขาว กรดซาลิซิลิค สารฟอร์มาลีน และพบการปนเปื้อน โคลิฟอร์มแบคทีเรีย ไม่เกิน ร้อยละ 1๐ กรณี พบการปนเปื้อนสารเคมีอันตราย หรือ โคลิฟอร์มแบคทีเรีย ให้ออกคำสั่งเจ้าพนักงานท้องถิ่น หรือคำแนะนำให้ผู้ประกอบการอาหาร ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขให้ผ่านเกณฑ์ความปลอดภัย โดยสุ่มตรวจวิเคราะห์ซ้ำ (๓) บุคลากรผู้สัมผัสอาหาร ต้องผ่านการอบรมหรือการเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามหลักสูตร การสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร และผ่านการทดสอบความรู้ โดยได้รับหนังสือรับรองและบัตรประจำตัวผู้สัมผัสอาหาร ๓. ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้ สถานประกอบการอาหารฯ หมายถึง ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมสนับสนุนให้ สถานประกอบการอาหารสามารถพัฒนาเพื่อยกระดับมาตรฐานสถานประกอบการอาหารให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ผลผลิต จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ได้รับ การส่งเสริมให้มีการพัฒนาตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ผลลัพธ์ ร้อยละสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี (ร้อยละ 100)
จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี คูณด้วย ๑๐๐ หารด้วยจำนวน สถานประกอบการอาหารทั้งหมดในพื้นที่เขต
-
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน% |
:๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ |