ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
-ประชุมฯ ครั้งที่1/2562/อนุมัติโครงการ/จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานฯ /คณะทำงานฯลงพื้นที่ร่วมพิจารณาจุดปรับปรุงภูมิทัศน์ริมคลอง/ฝ่ายโยธาลงพื้นที่สำรวจสะพานทางเดิน คสล.ริมคลองเพื่อซ่อมแซมส่วนที่ชำรุด/คณะทำงานฯร่วมกับ นิคมอุตสาหกรรมบางชัน บริษัท จินซาน จำกัด ชุมชนเกาะจวน และฝ่ายรักษาฯ เพื่อหารือการจัดกิจกรรมปลูกต้นทองอุไรริมคลอง/สำนักงานเขตคันนายาวร่วมกับ ชุมชน สถานีตำรวจนครบาลบางชัน ประชาชนจิตอาสาและเครือข่ายคันนายาวรวมใจรักษ์คลองหลอแหลทำกิจกรรมเก็บขยะ ผักตบชวา วัชพืชบริเวณคลองหลอแหล/คำสั่งสำนักงานเขตคันนายาว ที่ 379/2562 แต่งตั้งคณะกรรมการโครงการคันนายาวรวมใจรักษ์คลองหลอแหล/สำนักงานเขตคันนายาวร่วมกับ นิคมอุตสาหกรรมบางชันสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์(นิด้า) ชุมชน(คันนายาวและมีนบุรี) สถานีตำรวจนครบาลบางชันและเครือข่ายคันนายาวรวมใจรักษ์คลองหลอแหลทำกิจกรรมขี่จักรยานริมคลองหลอแหล “ปั่น ปั่น ปั่น เพื่อชุมชนสีเขียว” เนื่องในวันพ่อแห่งชาติ/กิจกรรมปลูกต้นทองอุไรริมคลองหลอแหล
-ปรับปรุงภูมิทัศน์ 3 จุด /ปรับปรุงยอ 3 จุด /ดำเนินการจัดกิจกรรม 3 กิจกรรม -ตรวจวัดคุณภาพน้ำ/ความลึก/ไม่มีขยะและผักตบชวา -โครงการรักษารอบฯ : ได้มีการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุฯสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
-Best ปี63 : โครงการคันนายาวรวมใจรักษ์คลองหลอแหล จัดกิจกรรมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการรักษาสภาพคูคลองให้สวยงามและปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณริมคลอง ตามแผนกิจกรรม/จัดเก็บขยะ วัชพืช ผักตบชวาในคลอง/อนุรักษ์และฟื้นฟูยอจำนวน 2 ยอ/การปรับภูมิทัศน์เพื่อเป็นแลนด์มาร์ค/กิจกรรมปั่นจักรยานเส้นทางคลองหลอแหลสวนน้ำเสรีไทย /กิจกรรมกำแพงศิลปะเล่าวิถีชุมชนแห่งสายน้ำ (อยู่ระหว่างลงสีรองพื้น)/กิจกรรมให้ความรู้และประชาสัมพันธ์เรื่องการรุกล้ำที่สาธารณะ /กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการบำบัดน้ำทิ้งครัวเรือนบริเวณริมคลองหลอแหล -Best รักษารอบ ได้มีการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุฯจำนวน 150 ราย อย่างน้อย สัปดาห์ละ 1 ครั้ง และมีการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ในด้านสุขภาพ และการปฏิบัติตน ในช่วงสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา เป็นต้น , ผู้สูงอายุที่เป็นภูมิปัญญาในชุมชน ได้รับการจดทะเบียนด้านอาหาร จำนวน 1 ราย และมีการเผยแพร่ภูมิปัญญา
-Best ปี63 : โครงการคันนายาวรวมใจรักษ์คลองหลอแหล 1. ปรับปรุงภูมิทัศน์ริมคลองหลอแหลทั้งสองฝั่ง ให้มีสภาพแวดล้อมที่ดีโดยมีเครือข่ายเข้าร่วม 5 เครือข่าย เป้าหมาย 5 จุด สามารถทำได้ 12 จุด 2. ไม่มีสิ่งปลูกสร้างรุกล้ำคลองหลอแหล เป้าหมาย ร้อยละ 100 สำรวจพบ 2 แห่ง รื้อถอนได้ 2 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 100 3. ไม่พบขยะและผักตบชวาตกค้างในคลองหลอแหล เป้าหมาย ร้อยละ 100 ดำเนินการจัดเก็บขยะ ผักตบชวาอย่างต่อเนื่องสามารถทำได้ ร้อยละ 100 4. คุณภาพน้ำในคลองหลอแหลดีขึ้นเมื่อเทียบกับกับก่อนดำเนินโครงการ เป้าหมาย ร้อยละ 5 ดำเนินการ ตรวจคุณภาพน้ำครั้งแรก DO เฉลี่ย = 2.1 mg/l BOD เฉลี่ย = 53 mg/l อยู่ระหว่างรอผลการตรวจ ครั้งที่ 2 5. ความลึกของคลองหลอแหลอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานของสำนักการระบายน้ำ เป้าหมาย ระดับความลึก คลองหลอแหลเป็นคลองที่อยู่ในความรับผิดชอบของสำนักการระบายน้ำ ซึ่งได้สนับสนุนเครื่องจักรและ เจ้าหน้าที่ดำเนินการขุดลอกแต่งตลิ่งและของบประมาณเพื่อขุดลอกคลองในงบประมาณ 2564 6. มียอเป็นอัตลักษณ์แห่งคลองหลอแหล จำนวน 1 จุด สามารถทำได้ 2 จุด 7. จำนวนกิจกรรมที่เกิดจากการออกแบบและร่วมดำเนินการไม่น้อยกว่า 10 กิจกรรม/ปี สามารถดำเนินการ ได้จำนวน 13 กิจกรรม 8. จัดทำคู่มือถอดบทเรียนโครงการจำนวน 1 ฉบับ สามารถทำได้ 1 ฉบับ -Best รักษารอบ : โครงการ “คันนายาวห่วงใย ใส่ใจผู้สูงอายุ” 2.1 ผู้สูงอายุในชุมชนได้รับความรู้ด้านสุขภาพ - การรณรงค์ประชาสัมพันธ์และให้คำแนะนำในการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละออง PM 2.5 - การแจกจ่ายแอลกอฮอล์ล้างมือสำหรับประชาชนฝนพื้นที่เขตคันนายาว - การแจกจ่ายหน้ากากอนามัยสำหรับประชาชน ในชุมชนพื้นที่เขตคันนายาว - การสอนทำหน้ากากอนามัยให้แก้ประชาชนและผู้สูงอายุในชุมชน - การบูรณาการการมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่ายในด้านการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน จำนวน 4 ชุมชน 2.2 ผู้สูงอายุที่อยู่ในชุมชนได้รับข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์แก่การดำเนินชีวิตในมิติเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และสภาพแวดล้อม - แอพพลิเคชั่นไลน์ “กลุ่มผู้สูงอายุเขตคันนายาว” สมาชิก จำนวน 118 คน - โซเชียลมิเดีย กลุ่ม “Khannayao District” มีสมาชิก จำนวน 1,376 คน - โซเชียลมิเดีย กลุ่ม “ฝ่ายพัฒนาชุมชนฯ เขตคันนายาว” มีสมาชิก จำนวน 2,147 คน - โครงการฝึกอบรวมวิชาชีพเสริมรายได้จำนวน 4 หลักสูตร - การดำเนินงานศูนย์ส่งเสริมการบริหารเงินออมครอบครัวและแก้ไขปัญหาหนี้สิ้น จำนวน 7 ชุมชน - กิจกรรมให้ความรู้เรื่องระบบสิทธิเพิ่มเติมสำหรับผู้สูงอายุ จำนวน 7 ชุมชน - กิจกรรมมอบสื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสาร ด้านสุภาพแก่ประชาชนในชุมชน โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง เช่น ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก หญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่เป็นโรคประจำตัว จำนวน 42 ชุมชน 2.3 ผู้สูงอายุที่เป็นภูมิปัญญาในชุมชนได้รับการจดทะเบียนและมีการเผยแพร่ภูมิปัญญา - ผู้สูงอายุที่เป็นภูมิปัญญาในชุมชนได้รับการจดทะเบียน จำนวน 11 คน และมีการจดทะเบียนในปี 2563 จำนวน 1 คนรวมทั้งสิ้น 12 คน มีการเผยแพร่จำนวน 12 คน
ตามที่สำนักงาน ก.ก. กำหนด
ตามที่สำนักงาน ก.ก. กำหนด
ตามที่สำนักงาน ก.ก. กำหนด
:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
:๗.๓ - การบริหารทรัพยากรบุคคล |
:๗.๓.๑ บุคลากรกรุงเทพมหานครเป็นผู้ปฏิบัติงานแบบมืออาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม และเป็นที่เชื่% |
:๗.๓.๑.๑ การพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะ ความรู้ ความสามารถ มีความเป็นมืออาชีพ |