ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล ได้ดำเนินการตรวจสถานประกอบการในพื้นที่เขตคลองสามวา. จำนวน. 24 แห่ง. ทุกแห่งผ่านการตรวจสอบตามหลักเกณฑ์สุขาภิบาลทุกแห่งคิดเป็น. 100%
-ดำเนินการตรวจสุขลักษณะโรงอาหารโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 10 แห่ง -ดำเนินการตรวจสุขาภิบาลร้านจำหน่ายอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ทและตลาด จำนวน 59 แห่ง ผลการตรวจผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ระดับ ดี - ดำเนินการเก็บตัวอย่างอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์ทางเคมีด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นแยกตามพารามิเตอร์ตรวจวัด ได้แก่ บอแรกซ์, ฟอร์มาลีน, สารฟอกขาว, สารกันรา, ยาฆ่าแมลง, โคลิฟอร์มแบคทีเรีย, สีสังเคราะห์, กรดแร่อิสระ และไอโอดีน กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ มินิมาร์ท. ตลาด, ร้านจำหน่ายอาหาร และโรงเรียน จำนวน 730 ตัวอย่าง ผลการตรวจ ไม่พบการปนเปื้อน 710 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 20 ตัวอย่าง ได้ออกคำแนะนำให้แก้ไขปรับปรุงด้านสุขลักษณะและดำเนินการติดตามผล
-ดำเนินการตรวจสุขลักษณะโรงอาหารโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน - แห่ง -ดำเนินการตรวจสุขาภิบาลร้านจำหน่ายอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ทและตลาด จำนวน 65 แห่ง ผลการตรวจผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ระดับ ดี -ดำเนินการเก็บตัวอย่างอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์ทางเคมีด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นแยกตามพารามิเตอร์ตรวจวัด ได้แก่ บอแรกซ์, ฟอร์มาลีน,สารฟอกขาว,สารกันรา,ยาฆ่าแมลง,โคลิฟอร์มแบคทีเรีย,สีสังเคราะห์,กรดแร่อิสระ และไอโอดีน กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ มินิมาร์ท, ตลาด, ร้านจำหน่ายอาหาร และโรงเรียน จำนวน 730 ตัวอย่าง ผลการตรวจ ไม่พบการปนเปื้อน 710 ต้วอย่าง พบการปนเปื้อน 20 ตัวอย่าง ได้ออกคำแนะนำให้แก้ไขปรับปรุงด้านสุขลักษณะและดำเนินการติดตามผล
1.สถานประกอบการอาหาร หมายถึง สถานที่จำหน่ายอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาเก็ตและมินิมาร์ทที่ได้รับใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองการแจ้งตามกฎหมายว่าด้วยสาธารณสุข 2. เกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร หมายถึง เกณฑ์ที่ใช้ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารเพื่อขอรับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ ด้านอาคารสถานที่ ด้านความปลอดภัยของอาคาร และด้านบุคลากรผู้สัมผัสอาหาร ดังนี้
จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร คูณ 100 หาร จำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดในพื้นที่เขต
1.ดำเนินการตามโครงการ/กิจกรรมที่กำหนด 2.รวบรวบข้อมูลผลการดำเนินงานรายงานผู้บังคับบัญชา
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน% |
:๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ |