ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
นางสาวประภาพร อำพลพงษ์ นักวิชาการ โทร.5119
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 3
ด้วยกรุงเทพมหานครได้ประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์กรุงเทพเมืองอาหารปลอดภัย ซึ่งมีการวางระบบการตรวจสอบและเฝ้าระวังการปนเปื้อนของอาหาร ด้วยวิธีตรวจหาอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษ พัฒนาคุณภาพระบบงานสุขาภิบาลอาหารให้ได้มาตรฐานสากล พัฒนากฎหมายข้อบัญญัติของกรุงเทพมหานครให้เหมาะสม และสร้างระบบบังคับใช้กฎหมายที่เข้มแข็ง รวมถึงพัฒนานาความรู้ความเข้าใจ จิตสำนึกและความร่วมมือขององค์กรภาคเอกชน ผู้ประกอบการ และประชาชนในเรื่องอาหารปลอดภัย และเพื่อให้การดำเนินการด้านอาหารปลอดภัยเป็นไปอย่างต่อเนื่อง จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ 2563 ขึ้น เพื่อสนับสนุนให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองอาหารปลอดภัย อาหารปลอดโรค ปลอดสารพิษ บริโภคได้อย่างมั่นใจ
50460400/50460400
1. เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาดสด ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงอาหารในโรงเรียน สร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย 2. เพื่อปรับปรุง ยกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะการจำหน่ายอาหารในสถานประกอบการอาหาร โดยความร่วมมือของผู้ประกอบการ 3. เพื่อเสริมสร้างภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์งานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร
1. สุ่มตรวจคุณภาพอาหารในตลาดสด ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และสร้างเครือข่ายสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน 2. สถานที่จำหน่ายอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และตลาด ได้รับการตรวจสุขลักษณะผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน% |
๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2020-09-23)
9/23/2020 : ดำเนินโครงการแล้วเสร็จตามแผนงานที่วางไว้แล้ว -จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหารซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน -ดำเนินการตรวจด้านสุุขลักษณะการสุขาภิบาลอาหาร และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหารศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน จำนวน 30 แห่ง ได้แก่ โรงเรียน จำนวน - แห่ง ร้านอาหาร จำนวน 20 แห่ง, ตลาด จำนวน - แห่ง และซูเปอร์มาร์ทเก็ต/มินิมาร์ท จำนวน 10 แห่ง -ดำเนินการเก็บตัวอย่างอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์ทางเคมีด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นแยกตามพารามิเตอร์ตรวจวัด ได้แก่ บอแรกซ์, กรดแร่อิสระ กรดน้ำส้ม และไอโอดีน กลุ่มเป้าหมาย จำนวนทั้งหมด 2,820 ตัวอย่าง ตรวจจำนวน 340 ตัวอย่าง ผลการตรวจ ไม่พบการปนเปื้อน 330 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 10 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :4.1 ควรมีการกระจายงบประมาณให้มีความเหมาะสมกับปริมาณงานของแต่ละกิจกรรมตลอดจนปรับปรุงพัฒนาโดยลดรอบระยะเวลาขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณให้มีความสะดวกรวดเร็ว เพื่อให้สามารถดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้ 4.2 ควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของโครงการให้หลากหลายมากขึ้น เพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุมทุกแขนง มีเนื้อหาสาระที่ทันสมัย น่าสนใจ เพื่อให้ประชาชนและผู้ประกอบการ อาหารมีความตระหนัก เน้นความสำคัญในเรื่องอาหารปลอดภัย เป็นการเพิ่มศักยภาพผู้บริโภคอีกทางหนึ่ง 4.3 ควรมีแผนการเตรียมเรื่องวัสดุอุปกรณ์ น้ำยาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารให้สามารถเบิกจ่ายได้ตลาด ไม่ขาดช่วง ปรับปรุงพัฒนาระบบการเบิกจ่ายรวมถึงจัดหาสถานที่ในการเบิกจ่ายให้มีความสะดวก และเหมาะสม
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2020-08-25)
25/8/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...ดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะการสุขาภิบาลอาหาร และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศุนย์อาหาร ซุเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน จำนวน 25 แห่ง และเก็บตัวอย่างอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์ทางเคมีด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น แยกตามพารามิเตอร์ตรวจวัด ได้แก่ บอแรกซ์ ฟอร์มาลิน สารฟอกขาว สารกันรา ยาฆ่าแมลง กลุ่มเป้าหมาย ทั้งหมด 2,820 ตัวอย่าง ตรวจจำนวน 210 ตัวอย่าง ผลการตรวจ ไม่พบการปนเปื้อน 205 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 5 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :1. ควรมีการกระจายงบประมาณให้มีความเหมาะสมกับปริมาณงานของแต่ละกิจกรรม ตลอดจนปรับปรุงพัฒนาโดยลดรอบระยะเวลาขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณ ให้มีความสะดวก รวดเร็ว เพื่อให้สามารถดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้ 2. ควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการให้หลากหลายมากยิ่งขึ้น เพื่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุมทุกแขนง มีเนื้อหาสาระที่ทันสมัย น่าสนใจ เพื่อให้ประชาชนและผู้ประกอบการอาหารมีความตระหนัก เน้นความสำคัญในเรื่องอาหารปลอดภัย เป็นการเพิ่มศักยภาพผู้บริโภคอีกทางหนึ่ง
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2020-07-24)
24/7/2563 : -จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหารซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน -ดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะการสุขาภิบาลอาหาร และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหารศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน จำนวน 20 แห่ง ได้แก่ โรงเรียน จำนวน - แห่งร้านอาหาร จำนวน 10 แห่ง, ตลาด จำนวน - แห่ง และซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท จำนวน 10 แห่ง -ดำเนินการเก็บตัวอย่างอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์ทางเคมีด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นแยกตามพาริมิเตอร์ตรวจวัด ได้แก่ ยอแรกซ์, ฟอร์มาลิน, สารฟอกขาว, สารกันรา, ยาฆ่าแมลง, โคลิฟอร์มแบคทีเรีย, สีสังเคราะห์, กรดแร่อิสระ, กรดน้ำส้ม และไอโอดีน กลุ่มเป้าหมาย จำนวนทั้งหมด 2,820 ตัวอย่าง ตรวจจำนวน 180 ตัวอย่าง ผลการตรวจ ไม่พบการปนเปื้อน 175 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 5 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :-ควรมีการกระจายงบประมาณให้มีความเหมาะสมกับปริมาณงานของแต่ละกิจกรรมตลอดจนปรับปรุงพัฒนาโดยลดรอบระยะเวลาขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณให้มีความสะดวก รวดเร็ว เพื่อให้สามารถดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้ - ควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของโครงการให้หลากหลายมากขึ้น เพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้รอบคลุมทุกแขนง มีเนื้อหาสาระที่ทันสมัย น่าสนใจ เพื่อให้ประชาชนและผู้ประกอบการ อาหารมีความตระหนัก เน้นความสำคัญในเรื่องอาหารปลอดภัย เป็นการเพิ่มศักยภาพผู้บริโภคอีกทางหนึ่ง - ควรมีแผนการเตรียมเรื่องวัสดุอุปกรณ์ น้ำยาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารให้สามารถเบิกจ่ายได้ตลอด ไม่ขาดช่วง ปรับปรุงพัฒนาระบบการเบิกจ่ายรวมถึงจัดหาสถานที่ในการเบิกจ่ายให้มีความสะดวก และเหมาะสม
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2020-06-24)
24/6/2563 : -จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหาร ซูเปอร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน -ดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะการสุขาภิบาลอาหาร และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหารศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์ทเก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน จำนวน 24 แห่ง ได้แก่ โรงเรียน จำนวน - แห่ง ร้านอาหาร จำนวน 10 แห่ง, ตลาด จำนวน 2 แห่ง และซูเปอร์มาร์ทเก็ต/มินิมาร์ท จำนวน 12 แห่ง -ดำเนินการเก็บตัวอย่างอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์ทางเคมีด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นแยกตามพารามิเตอร์ตรวจวัด ได้แก่ บอแรกซ์, ฟอร์มาลิน, สารฟอกขาว, สารกันรา, ยาฆ่าแมลง, โคลิฟร์มแบคทีเรีย, สีสังเคราะห์, กรดแร่อสระ, กรดน้ำส้ม และไอโอดีน กลุ่มเป้าหมาย จำนวนทั้งหมด 2,820 ตัวอย่าง ตรวจจำนวน 200 ตัวอย่าง ผลการตรวจ ไม่พบการปนเปื้อน 195 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 5 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :-ควรมีการกระจายงบประมาณให้มีความเหมาะสมกับปริมาณงานของแต่ละกิจกรรมตลอดจนปรับปรุงพัฒนาโดยลดรอบระยะเวลาขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณให้มีความสะดวกรวดเร็ว เพื่อให้สามารถดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้ -ควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของโครงการให้หลากหลายมากขึ้น เพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุมทุกแขนง มีเนื้อหาสาระที่ทันสมัย น่าสนใจ เพื่อให้ประชาชนและผู้ประกอบการ อาหารมีความตระหนัก เน้นความสำคัญในเรื่องอาหารปลอดภัย เป็นการเพิ่มศักยภาพผู้บริโภคอีกทางหนึ่ง -ควรมีแผนการเตรียมเรื่องวัสดุอุปกรณ์ น้ำยาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารให้สามารถเบิกจ่ายได้ตลอด ไม่ขาดช่วง ปรับปรุงพัฒนาระบบการเบิกจ่ายรวมถึงจัดหาสถานที่ในการเบิกจ่ายให้มีความสะดวก และเหมาะสม
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2020-05-21)
21/5/2563 : -จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน -ดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะการสุขาภิบาลอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์ทางเคมีด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น แยกตามพารามิเตอร์ตรวจวัด ได้แก่ บอแรกซ์,ฟอร์มาลิน,สารฟอกขาว,สารกันรา,ยาฆ่าแมลง,โคลิฟอร์มแบคทีเรีย,สีสังเคราะห์,กรดแร่อิสระ,กรดน้ำส้ม,และไอโอดีน กลุ่มเป้าหมายจำนวนทั้งหมด 2,820 ตัวอย่าง ตรวจจำนวน 250 ตัวอย่าง ผลการตรวจ ไม่พบการปนเปื้อน 250 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน - ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :-ควรมีการกระจายงบประมาณให้มีความเหมาะสมกับปริมาณงานของแต่ละกิจกรรมตลอดจนปรับปรุงพัฒนาโดยลดรอบระยะเวลาขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณให้มีความสะดวก รวดเร็ว เพื่อให้สามารถดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้ -ควรเพิ่ิ่มการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการให้หลากหลายมากขึ้น เพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุมทุกแขนง มีเนื้อหาสาระทีทันสมัย น่าสนใจ เพื่อให้ประชาชนและผู้ประกอบการอาหารมีความตระหนัก เน้นความสำคัญในเรื่องอาหารปลอดภัย เป็นการเพิ่มศักยภาพผู้บริโภคอีกทางหนึ่่ง -ควรมีแผนการเตรียมเรื่องวัสดุอุปกรณ์ น้ำยาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารให้สามารถเบิกจ่ายได้ตลอด ไม่ขาดช่วง ปรับปรุงพัฒนาระบบการเบิกจ่ายรวมถึงจัดหาสถานที่ในการเบิกจ่ายให้มีความสะดวก และเหมาะสม
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 65.00 (2020-04-21)
21/4/2563 : -จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหารซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน -ดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะการสุขาภิบาลอาหาร และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหารศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน จำนวน 23 แห่ง ได้แก่ โรงเรียน จำนวน - แห่ง ร้านอาหาร จำนวน 2 แห่ง, ตลาด จำนวน 2 แห่ง และซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท จำนวน 20 แห่ง -ดำเนินการเก็บตัวอย่างอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์ทางเคมีด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นแยกตามพารามิเตอร์ตรวจวัด ได้แก่ บอแรกซ์, ฟอร์มาลิน, สารฟอกขาว, สารกันรา, ยาฆ่าแมลง,โคลิฟอร์มแบคทีเรีย, สีสังเคราะห์, กรดแร่อิสระ, กรดน้ำส้ม และไอโอดีน กลุ่มเป้าหมาย จำนวนทั้งหมด 2,820 ตัวอย่าง ตรวจจำนวน 150 ตัวอย่าง ผลการตรวจ ไม่พบการปนเปื้อน 150 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน - ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :-ควรมีการกระจายงบประมาณให้มีความเหมาะสมกับปริมาณงานของแต่ละกิจกรรมตลอดจนปรับปรุงพัฒนาโดยลดรอบระยะเวลาขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณให้มีความสะดวกรวดเร็ว เพื่อให้สามารถดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้ -ความเพิ่มการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างไ ของโครงการให้หลากหลายมากขึ้น เพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุมทุกแขนง มีเนื้อหาสาระที่ทันสมัย น่าสนใน เพื่อให้ประชาชนและผู้ประกอบการ อาหารมีความตระหนัก เน้นความสำคัญในเรื่องอาหารปลอดภัย เป็นการเพิ่มศักยภาพผู้บริโภคอีกทางหนึ่ง -ควรมีแผนการเตรียมเรื่องวัสดุอุปกรณ์ น้ำยาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารให้สามารถเบิกจ่ายได้ตลอด ไม่ขาดช่วง ปรับปรุงพัฒนาระบบการเบิกจ่ายรวมถึงจัดหาสถานที่ในการเบิกจ่ายให้มีความสะดวก และเหมาะสม
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2020-03-23)
23/3/2563 : -จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน -ดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะการสุขาภิบาลอาหาร และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน จำนวน 23 แห่ง ได้แก่ โรงเรียน จำนวน 1 แห่ง ร้านอาหาร จำนวน 10 แห่ง, ตลาด จำนวน 2 แห่ง และซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท จำนวน 10 แห่ง -ดำเนินการเก็บตัวอย่างอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์ทางเคมีด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นแยกตามพารามิเตอร์ตรวจวัด ได้แก่ บอแรกซ์, ฟอร์มาลิน, สารฟอกขาว, สารกันรา. ยาฆ่าแมลง,โคลิฟอร์มแบคทีเรีย, สีสังเคราะห์, กรดแร่อิสระ, กรดน้ำส้ม และไอโอดีน กลุ่มเป้าหมาย จำนวนทั้งหมด 2,820 ตัวอย่าง ตรวจจำนวน 250 ตัวอย่าง ผลการตรวจ ไม่พบการปนเปื้อน 240 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 10 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :1. ความมีการกระจายงบประมาณให้มีความเหมาะสมกับปริมาณงานของแต่ละกิจกรรมตลอดจนปรับปรุงพัฒนาโดยลดรอบระยะเวลาขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณให้มีความสะดวกรวดเร็ว เพื่อให็สามารถดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้ 2.ควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่าง ๆของโครงการให้หลากหลายมากขึ้น เพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุมทุกแขนง มีเนื้อหาสาระที่ทันสมัย น่าสนใจ เพื่อให้ประชาชนและผู้ประกอบการ อาหารมีความตระหนัก เน้นความสำคัญในเรื่องอาหารปลอดภัย เป็นการเพิ่มศักยภาพผู้บริโภคอีกทางหนึ่ง 3. ควรมีแผนการเตรียมเรื่องวัสดุอุปกรณ์ น้ำยาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารให้สามารถเบิกบ่ายได้ตลอด ไม่ขาดช่วง ปรับปรุงพัฒนาระบบการเบิกจ่ายรวมถึงจัดหาสถานที่ในการเบิกจ่ายให้มีความสะดวก และเหมาะสม
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2020-02-24)
24/2/2563 : -จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหารซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน -ดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะการสุขาภิบาลอาหาร และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถาานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหารศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน จำนวน 24 แห่ง ได้แก่ โรงเรียน จำนวน 6 แห่ง ร้านอาหาร จำนวน 8 แห่ง, ตลาด จำนวน 2 แห่ง และซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท จำนวน 8 แห่ง -ดำเนินการเก็บตัวอย่างอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์ทางเคมีด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นแยกตามพารามิเตอร์ตรวจวัด ได้แก่ บอแรกซ์, ฟอร์มาลิน, สารฟอกขาว, สารกันรา, ยาฆ่าแมลง, โคลิฟอร์มแบคทีเรีย, สีสังเคราะห์, กรดแร่อิสระ, กรดน้ำส้ม และไอโอดีน กลุ่มเป้าหมาย จำนวนทั้งหมด 2,820 ตัวอย่าง ตรวจจำนวน 230 ตัวอย่าง ผลการตรวจ ไม่พบการปนเปื้อน 225 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 5 ต้วอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :1.ควรมีการกระจายงบประมาณให้มีความเหมาะสมกับปริมาณงานของแต่ละกิจกรรมตลอดจนปรับปรุงพัฒนาโดยลดรอบระยะเวลาขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาฯให้มีความสะดวกรวดเร็ว เพื่อให้สามารถดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้ 2.ควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของโครงการให้หลากหลายมากขึ้น เพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุมทุกแขนง มีเนื้อหาสาระที่ทันสมัย น่าสนใจ เพื่อให้ประชาชนและผู้ประกอบการ อาหารมีความตระหนัก เน้นความสำคัญในเรื่องอาหารปลอดภัย เป็นการเพิ่มศักยภาพผู้บริโภคอีกทางหนึ่ง -ควรมีแผนการเตรียมเรื่องวัสดุอุปกรณ์ น้ำยาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารให้สามารถเบิกจ่ายได้ตลอด ไม่ขาดช่วง ปรังปรุงพัฒนาระบบการเบิกจ่ายรวมถึงจัดหาสถานที่ในการเบิกจ่ายให้มีความสะดวก และเหมายะสม
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2020-01-27)
27/1/2563 : -จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหารซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน -ดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะการสุขาภิบาลอาหาร และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน จำนวน 27 แห่ง ได้แก่ โรงเรียน จำนวน 8 แห่ง ร้านอาหาร จำนวน 8 แห่ง, ตลาด จำนวน 1 แห่ง และซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท จำนวน 10 แห่ง -ดำเนินการเก็บตัวอย่างอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์ทางเคมีด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นแยกตามพารามิเตอร์ตรวจวัด ได้แก่ บอแรกซ์, ฟอร์มาลิน, สารฟอกขาว, สารกันรา, ยาฆ่าแมลง,โคลิหอร์มแบคทีเรีย, สีสังเคราะห์, กรดแร่อิสระ, กรดน้ำส้ม และไอโอดีน กลุ่มเป้าหมาย จำนวนทั้งหมด 2,820 ตัวอย่าง ตรวจจำนวน 250 ตัวอย่าง ผลการตรวจ ไม่พบการปนเปื้อน 245 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 5 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :1. ควรมีการกระจายงบประมาณให้มีความเหมาะสมกับปริมาณงานของแต่ละกิจกรรมตลอดจนปรับปรุงพัฒนาโดยลดรอบระยะเวลาขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณให้มีความสะดวกรวดเร็ว เพื่อให้สามารถดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้ 2. ควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของโครงการให้หลากหลายมากขึ้น เพิ่มช่างทางการประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุมทุกแขนง มีเนื้อหาสาระที่ทันสมัย น่าสนใน เพื่อให้ประชาชนและผู้ประกอบการ อาหารมีความตระหนัก เน้นความสำคัญในเรื่องอาหารปลอดภัย เป็นการเพิ่มศักยภาพผู้บริโภคอีกทางหนึ่ง 3. ควรมีแผนการเตรียมเรื่องวัสดุอุปกรณ์ น้ำยาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารให้สามารถเบิกจ่ายให้มีความสะดวก และเหมาะสม
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2019-12-26)
26/12/2562 : -จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน -ดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะการสุขาภิบาลอาหาร และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ โรงเรียน จำนวน 8 แห่ง ร้านอาหาร จำนวน 5 แห่ง, ตลาด จำนวน 3 แห่ง และซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท จำนวน 7 แห่ง -ดำเนินการเก็บตัวอย่างอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์ทางเคมีด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นแยกตามพารามิเตอร์ตรวจวัด ได้แก่ ยอแรกซ์, ฟอร์มาลิน, สารฟอกขาว, สารกันรา, ยาฆ่าแมลง, โคลิฟอร์มแบคทีเรีย, สีสังเคราะห์, กรดแร่อิสระ, กรดน้ำส้ม และไอโอดีน กลุ่มเป้าหมาย จำนวนทั้งหมาด 2,820 ตัวอย่าง ตรวจจำนวน 230 ตัวอย่าง ผลการตรวจ ไม่พบการปนเปื้นอน 220 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 10 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :-ควรมีการกระจายงบประมาณให้มีความเหมาะสมกับปริมาณงานของแต่ละกิจการตลอดจนปรับปรุงพัฒนาโดยลดรอบระยะเวลาขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณให้มีความสะดวกรวดเร็ว เพื่อให้สามารถดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้ -ควรเพิ่มการประชาสัมพันธส์กิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการให้หลากหลายมากขึ้น เพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุมทุกแขนง มีเนื้อหาสาระที่ทันสมัย น่าสนใจ เพื่อให้ประชาชนและผู้ประกอบการ อาหารมีความตระหนัก เน้นความสำคัญในเรื่องอาหารปลอดภัย เป็นการเพิ่มศักยภาพผู้บริโภคอีกทางหนึ่ง -ควรมีแผนการเตรียมเรื่องวัสดุอุปกรณ์ น้ำยาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารให้สามารถเบิกจ่ายได้ตลอด ไม่ขาดช่วง ปรับปรุงพัฒนาระบบการเบิกจ่ายรวมถึงจัดหาสถานที่ในการเบิกจ่ายให้มีความสะดวก และเหมาะสม
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2019-11-25)
25/11/2562 : -จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหารซูเปอร์มาร์เก็ต/มิริมาร์ท และโรงเรียน -ดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะการสุขาภิบาลอาหาร และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหารศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน จำนวน 15 แห่ง ได้แก่ ร้านอาหาร จำนวน 5 แห่ง, ตลาด จำนวน 3 แห่ง และซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท จำนวน จำนวน 7 แห่ง -ดำเนินการเก็บตัวอย่างอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์ทางเคมีด้วยชุดทดสอบเบื่องต้นแยกตามพารามิเตอร์ตรวจวัด ได้แก่ บอแรกซ์, หอร์มาลิน,สารฟอกขาว,สารกันรา,ยาฆ่าแมลง,โคลิฟอร์มแบคทีเรีย,สีสังเคราะห์,กรดแร่อิสระ,กรดน้ำส้ม และไอโอดีน กลุ่มเป้าหมาย จำนวนทั้งหมด 2,820 ตัวอย่าง ตรวจจำนวน 280 ตัวอย่าง ผลการตรวจ ไม่พบการปนเปื้อน 270 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน 10 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :1.ควรมีการกระจายงบประมาณให้มีความเหมายสมกับปริมาณงานของแต่ละกิจกรรมตลอดจนปรับปรุงพัฒนาโดยลดรอบระยะเวลาขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณให้มีความสะดวกรวจเร็ว เพื่อให้สามารถดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้ 2.ควรเพื่อการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของโครงการให้หลากหลายมากขึ้น เพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุมทุกแขนง มีเนื้อหาสาระที่ทันสมัย น่าสนใจ เพื่อให้ประชาชนและผู้ประกอบการ อาหารมีความตระหนัก เน้นความสำคัญในเรื่องอาหารปลอดภัย เป็นการเพิ่มศักยภาพผู้บริโภคอีกทางหนึ่ง 3.ควรมีแผนการเตรียมเรื่องวัสดุอุปกรณ์ น้ำยาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารให้สามารถเบิกจ่ายได้ตลอด ไม่ขาดช่วง ปรับปรุงพัฒนาระบบการเบิกจ่ายรวมถึงจัดหาสถานที่ในการเบิกจ่ายให้มีความสะดวก และเหมาะสม
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2019-11-08)
8/11/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... -จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหารซูเปอร์มาร์เก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน -ดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะการสุขาภิบาลอาหาร และตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ ในสถานประกอบการเป้าหมาย ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร ศูนย์อาหาร ซูเปอร์มาร์ทเก็ต/มินิมาร์ท และโรงเรียน จำนวน 10 แห่ง ได้แก่ ร้านอาหาร จำนวน 3 แห่ง,ตลาด จำนวน 1 แห่ง และซูเปอร์มาร์เก็ต/มิริมาร์ท จำนวน 6 แห่ง -ดำเนินการเก็บตัวอย่างอาหาร เพื่อตรวจวิเคราะห์ทางเคมีด้วยชุดทดสอบเบื้องต้นแยกตามพารามิเตอร์ตรวจวัด ได้แก่ บอแรกซ์, ฟอร์มาลิน, สารฟอกขาว, สารกันรา, ยาฆ่าแมลง,โคลิฟร์มแบคทีเรีย, สีสังเคราะห์, กรดแร่อิสระ, กรดน้ำส้ม และไอโอดีน กลุ่มเป้าหมาย จำนวนทั้งหมด 2,820 ตัวอย่าง ตรวจจำนวน 250 ตัวอย่าง ผลการตรวจ ไม่พบการปนเปื้อน 250 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อน - ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :-ควรมีการกระจายงบประมาณให้มีความเหมาะสมกับปริมาณงานของแต่ละกิจการตลอดจนปรับปรุงพัฒนาโดยลดรอบระยะเวลาขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณให้มีความสะดวกรวดเร็ว เพื่อให้สามารถดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้ -ควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการให้หลากหลายมากขึ้น เพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุมทุกแขนง มีเนื้อหาสาระที่ทันสมัย น่าสนใจ เพื่อให้ประชาชนและผู้ประกอบการ อาหารมีความตระหนัก เน้นความสำคัญในเรื่องอาหารปลอดภัย เป็นการเพิ่มศักยภาพผู้บริโภคอีกทางหนึ่ง -ควรมีแผนการเตรียมเรื่องวัสดุอุปกรณ์ น้ำยาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารให้สามารถเบิกจ่ายได้ตลอด ไม่ขาดช่วง ปรับปรุงพัฒนาระบบการเบิกจ่ายรวจถึงจัดหาสถานที่ในการเบิกจ่ายให้มีความสะดวก และเหมายสม
** อุปสรรคของโครงการ :-ไม่มี-
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : 4.1 ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **