รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น : 5049-2006

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00
100
100 / 100
2
50.00
100
100 / 100
3
60.00
0
0 / 0
4
100.00
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1.เขียนโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติโครงการ 2.รอการอนุมัติการโครง 3.ขณะรอการอนุมัติโครงการเตรียมพื้นที่เพื่อดำเนินโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เดือน มกราคม 2564 ดำเนินการดังนี้ 1.ริมถนนประชาอุทิศ 1.1ปลูกซ่อมต้นโมกและต้นชาฮกเกี้ยน 1.2 ปลูกซ่อมต้นประดู่กิ่งอ่อน 1.3 ปลูกซ่อมและปลูกเสริมต้นเฟื่องฟ้าตามกระบะราวสะพานข้ามคลองเสร็จเรียบร้อย เดือนกุมภาพันธ์ 2564 ดำเนินการดังนี้1.ดำเนินการปรับปรุงสวนหย่อมหน้าโรงเหล็กซอยประชาอุทิศ 33 โดยดำเนินการ 1.1 ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ 1.2 ปรับดินปูหญ้านวลน้อย 1.3 ลงปูแผ่นหินเป็นทางเดินบริเวณในสวนหย่อม และดูแลบำรุงรักษารดน้ำจนกว่าต้นไม้จะสามารถยืนต้นสวยงามได้ 2. จัดทำแผนในการเข้ามาดูแลตัดแต่งบำรุงรักษาเพื่อให้สวยงามและเป็นสถานที่พักผ่อนของประชาชนบริเวณนั้นต่อไป

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-เดือนมีนาคม 2564 ดำเนินการดังนี้ 1.ดำเนินการปรับปรุงสวนหย่อมหน้าโรงเรียนนาหลวงถนนพุทธบูชาโดยดำเนินการ 1.1 ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ 1.2 ลงหน้าดินและทรายขี้เป็ดเพื่อปรับพื้นที่ 1.3 ปูหญ้ามาเลเซีย ดูแลบำรุงรักษารดน้ำจนกว่าต้นไม้จะสามารถยืนต้นสวยงามได้ 2. จัดทำแผนในการเข้ามาดูแลตัดแต่งบำรุงรักษาเพื่อให้สวยงามและเป็นสถานที่พักผ่อนของประชาชนบริเวณนั้นต่อไป 3.เก็บรวบร่วมข้อมูลเพื่อเตรียมลงในฐานระบบข้อมูลพื้นที่สีเขียวกรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-เดือนกรกฎาคม 2564 - การปลูกต้นไม้เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวที่สำนักงานเขตดำเนินการเองจำนวน 3 จุดคือ 1.สวนหย่อมบริเวณหน้าโรงเหล็กพื้นที่ประมาณ 1500 ตารางเมตร 2.สวนถนนบริเวณถนนพุทธบูชาตลอดสาย พื้นที่ 1000 ตารางเมตร 3. สวนถนนบริเวณถนนประชาอุทิศ ตลอดสาย พื้นที่ประมาณ 1500 ตารางเมตรดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว - สำรวจพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นในส่วนพื้นที่เอกชน จำนวน 13 แห่ง 1.สวนหย่อมข้างสนามโรงเรียนสารสาสน์ประชาอุทิศ จำนวน 1 งาน 40 วา 2.สวนหย่อมหมู่บ้านเดอะเพสล พุทธบูชา 36 แยก 1 จำนวน 2 งาน 60 วา 3.สวนหย่อมหมู่บ้านเดอะซิตี้พุทธบูชา 36 จำนวน 1 ไร่ 2 งาน 20 วา 4.สวนหย่อมโกลเด้นทาวน์3 จำนวน 2 งาน 75 วา 5.สวนหย่อมหน้าตึกชีววิทยา จำนวน 1 งาน 6.สวนหย่อมริมกำแพงข้างตึกชีววิทยา จำนวน 1 งาน 25 วา 7.หมู่บ้านกลางเมืองประชาอุทิศ 33 จำนวน 2 งาน 4 วา 8.สวนหย่อมในศูนย์เด็กก่อนวัยเรียนบลูไลห์ จำนวน 1 วา 9.สวนถนนซอยพุทธบูชา 37/1 จำนวน 1 งาน 50 วา 10.สวนถนนซอยพุทธบูชา 36 แยก 6 จำนวน 40 วา 11.สวนหย่อมหมู่บ้านเดอะซิตี้สุขสวัสดิ์64 เฟส 2 จำนวน 1 งาน 55 วา 12.สวนหย่อมหมู่บ้านเดอะซิตี้สุขสวัสดิ์ 64 เฟส 1 จำนวน 1 ไร่ 96 วา 13.สวนหย่อมหมู่บ้านเดอะซิตี้สุขสวัสดิ์ 64 เฟส 3 จำนวน 2 งาน 50 วา

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

– พื้นที่สีเขียวหมายถึง พื้นที่สีเขียวตามที่กำหนดไว้ใน “ฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร” ประกอบด้วย 10 ประเภทแยกเป็น 2 ประเภทหลัก คือ 1. พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม ให้สำนักงานเขตดำเนินการตามเป้าหมายที่ตกลงกับสำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อมในแต่ละปี 2. พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรปูแบบสวนสาธารณะซึ่งต้องดำเนินการสำรวจ รวบรวมเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 12 แห่ง/ปี - กรณีข้อ 2 กรณีหากสำนักงานเขตได้รับการยกเว้นเนื่องจากไม่มีพื้นที่ตามที่กำหนดเหลือแล้วให้ใช้การรายงานผลการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่สีเขียว ในพื้นที่เขตรวม 4 ครั้ง/ปี (ธ.ค.,มี.ค.,มิ.ย.,ก.ย.) ตามแบบฟอร์มที่สำนักงานสวนฯ กำหนดแทน

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

1. กำหนดให้พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม และพื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ คิดคะแนนประเภทละ 100 % รวม 200% 2. เฉลี่ยผลลัพธ์ตามข้อ 1 ให้เหลือร้อยละ 100 3. นำผลที่ได้จากข้อ 2 พิจารณาในส่วนความสมบูรณ์ของข้อมูลใน 3 ส่วนคือ 1) รายละเอียดพื้นที่สีเขียวแต่ละแห่ง 2) ที่ตั้ง 3) ภาพถ่ายทั้งนี้หักข้อละ 1 % ของคะแนนที่ได้รับ 4. หลังจากตัดคะแนนในส่วนความสมบูรณ์จะเป็นคะแนนที่ได้ของแต่ละ สำนักงานเขต

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนได้ตามเป้าหมายที่กำหนด คิดเป็นร้อยละ 100 พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนได้ตามเป้าหมายที่กำหนดคิด เป็นร้อยละ 100 - กรณีสำนักงานเขตได้รับการยกเว้นเนื่องจากไม่มีพื้นที่ตามที่กำหนดเหลือแล้วให้ใช้การรายงานผลการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตรวม 4 ครั้ง/ปี (ธ.ค.,มี.ค.,มิ.ย.,ก.ย.) คิดคะแนนครั้งละ 25 % 2. การตัดคะแนนในส่วนความสมบูรณ์ของฐานข้อมูลฯ ของสำนักงานเขต ดำเนินการใน 3 ส่วนสำคัญคือ1) สถานที่ตั้งสวนฯ บนแผนที่ฐานข้อมูลฯ 2) รายละเอียดพื้นที่สีเขียวรายแห่ง 3) ภาพถ่ายสวนฯ ในโปรแกรมฯ ทั้งนี้ หักข้อละ 1 % ของคะแนนที่ได้รับ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่
:๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ%
:๒.๒.๑.๑ พัฒนาพื้นที่สีเขียวสำหรับพักผ่อนหย่อนใจและสร้างความร่มรื่นเพิ่มขึ้นกระจาย ทั่วในพื้นที่

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง