ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
นางสุภาวดี ภาสดา 02-4644392
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 3
1.พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม 1.1 ความหมายคือพื้นที่ใดๆ ในแต่ละพื้นที่เขตที่ไม่เคยถูกพัฒนาเป็นสวนหย่อม / สวนสาธารณะ (กำหนดตามนิยาม 7 ประเภท ของสำนักงานสวนสาธารณะ สสล.) มาก่อนซึ่ง สนข./สสณ. สสล. พัฒนาเป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม ทั้งนี้อาจเป็นพื้นที่ว่างเปล่า / เกาะกลางถนน / ริมทาง / ริมคลอง/ใต้ทางด่วน/แนวกำแพงอย่างต่อเนื่อง/ผนังตึก/รั้ว/สวนบนอาคารสูง / ดาดฟ้า นิยามตามที่ระบุไว้ในฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหา 1.2 การพัฒนาพื้นที่ให้เป้นสวนสาธารณะ/สวนหย่อมต้องพัฒนาให้มีพันธุ์ไม้ปกครองขนาดตั้งแต่ มากกว่าหรือเท่ากับ 2 ต.ร.ม. ขึ้นไป โดยเน้นการปลูกไม้ถาวร อาจดำเนินการ ดังต่อไปนี้ 1.2.1 ปลูกพันธุ์ไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม 1.2.2 จัดทำเป็นพื้นที่สวนสาธารณะ/สวนหย่อม 1.2.3 จัดทำสวนหย่อมในลักษณะสวนบนอาคารสูง(Greem Root) (นโยบายผว.กทม.) 1.2.4 จัดทำเป็นสวนตามแนวพื้นดินหรือพื้นที่สีเขียวขึ้นตามแนวดิ่ง จัดทำเป็นสวนแนวตั้ง จัดทำเป็นสวนแนวตั้ง นิยามตามที่ระบุไว้ในฐานข้อมูลและระบบติดตามที่ระบุไว้ในฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร 1.2.5 จัดทำเป็นสวนป่า หมายถึง การปลูกต้นไม้ในลักษณะเป็นพื้นที่ โดยมีทั้งไม้ระดับสูง กลาง ระยะปลูกระหว่างต้นเท่ากัน 4x4 เมตร ให้คิดเฉลี่ย 100 ต้นเป็นพื้นที่ 1 ไร่ 1.2.6 การปลูกไม้ยืนต้นในลักษณะเนื่องเป็นแนวยาว เช่นปลูกตามริมถนน ริมคลอง ริม ทางเท้า เป็นต้น คิดพื้นที่โดยนำความกว้างของทรงพุ่มคูณความยาวของระยะทางที่ปลูก 1.3 การพื้นที่สีเขียวสามารถดำเนินการได้หลายลักษณะ กล่าวคือ 1.3.1 สำนักงานเขตเองดำเนินการในรูปแบบที่ใช้และไม่ใช้งบประมาณ 1.3.2 สนับสนุนหน่วยราชการอื่นๆ/บริษัทห้างร้าน เอกชน หรือประชาชน ให้เป็นผู้ดำเนินการในพื้นที่ของตนเอง 1.3.3 รวบรวมพื้นที่ซึ่งหน่วยงานอื่นบริษัทห้างร้าน เอกชน วัด หมู่บ้านจัดสรร ได้มีการดำเนินการจัดทำเป็นพื้นที่สวนตามนิยามของสวนสาธารณะ 7 ประเภทไว้แล้ว
50490600/50490600
เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นมหานครแห่งสิ่งแวดล้อมประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3.5 การเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานครเป็นเครื่องมือในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและส่งเสริมให้ชุมชนและทุกภาคส่วนและทุกระดับมีส่วนร่วมในการดุแลรักษาฟื้นฟูจัดการและปรับปรุงคุณภาพสิ่งแวดล้อมทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพเพื่อการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน พัฒนาพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจและปรับปรุงภูมิทัศน์ให้ร่มรื่นสวยงามเหมาะสมกับเมืองและชุมชุน
มีการรายงานพื้นที่สีเขียว (สสล.01-1) 3 เดือนต่อครั้ง 4 ครั้ง/ปี
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City |
๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่ |
๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ% |
๒.๒.๑.๑ พัฒนาพื้นที่สีเขียวสำหรับพักผ่อนหย่อนใจและสร้างความร่มรื่นเพิ่มขึ้นกระจาย ทั่วในพื้นที่ |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2021-07-27)
27/07/2564 : เดือนกรกฎาคม 2564 ดำเนินการสำรวจพื้นที่เพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ สัตว์น้ำ จำนวน 4 แห่ง ดังนี้ 1. บ่อเลี้ยงปลาทางไปศาลทับนางแห่งที่1 จำนวนพื้นที่ 1 ไร่ 2.บ่อเลี้ยงปลาทางไปศาลทับนางแห่งที่ 2 จำนวนพื้นที่ 1 ไร่ 1 งาน 3.บ่อเลี้ยงปลาทางไปศาลทับนางแห่งที่3 จำนวนพื้นที่ 1 ไร่ 2 งาน 4.บ่อเลี้ยงปลาทางไปศาลทับนางแห่งที่ 4 จำนวนพื้นที่ 1 ไร่ 2 งาน รวมแล้วปี่2564 รายงานได้จำนวน 13 แห่งครบตามข้อตกลงคิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ : - ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2021-06-25)
25/06/2564 : เดือนมิถุนายน 2564 ดำเนินการสำรวจพื้นที่เพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1 แห่ง 1.บ่อเลี้ยงปลาซอยประชาอุทิศ 72 จำนวน 3 ไร่ เก็บรวบร่วมข้อมูลเตรียมลงข้อมูลระบบการจัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียวกรุงเทพมหานคร
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2021-05-20)
20/05/2564 : เดือนพฤษภาคม2564 ดำเนินการสำรวจพื้นที่เกษตรกรรมบ่อเลี้ยงปลาใกล้หมู่บ้านพิศาลถนนเลียบทางด่วนจำนวน1 แห่งเก็บรวบร่วมข้อมูลเพื่อลงข้อมูลฐานข้อมูลพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของกรุงเทพมหานคร
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2021-04-30)
เดือนเมษายน 2564 ดำเนินการสำรวจพื้นที่เพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของกรุงเทพมหานคร จำนวน 3 แห่ง 1.บ่อเลี้ยงปลาซอยประชาอุทิศ 72 จำนวน 3 ไร่ 1 งาน 2. บ่อเลี้ยงปลาซอยนุชมีอุทิศ จำนวน 1 ไร่ 3.ที่ว่างซอยประชาอุทิศ 75 แยก 4 จำนวน 1 งาน เก็บรวบร่วมข้อมูลเตรียมลงข้อมูลระบบการจัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียวกรุงเทพมหานคร
** ปัญหาของโครงการ : - ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2021-03-30)
30/03/2564 : เดือน กุมภาพันธ์ 2564 ดำเนินการสำรวจพื้นที่ว่างจำนวน 3 แห่งเพื่อลงข้อมูลพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของกรุงเทพมหานครจำนวน 3 แห่งดังนี้ 1.ที่สวนเกษตรปลูกกล้วยซอยประชาอุทิศ 72 จำนวนพื้นที่ 1ไร่ 3งาน 2.บ่อปลาซอยประชาอุทิศ 72 จำนวนพื้นที่ 2ไร่ 3.บ่อปลาซอยประชาอุทิศ54 แยก16 จำนวน พื้นที่2ไร่ 1 งานเก็บข้อมูลเพื่อลงในระบบการจัดการฐานข้อมูลพื้นที่สีเขียวไตรมาศที่3 ต่อไป
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2021-02-26)
26/02/2564 :เดือนกุมภาพันธ์ 2564 ดำเนินการสำรวจพื้นที่ว่างจำนวน 3 แห่ง เพื่อเตรียมรายงานตามไตรมาศที่ 2 ดังนี้ 1.1ที่ว่างข้างชุมชนซอยประชาอุทิศ 43จำนวนพื้นที่1ไร่3งาน 1.2 ที่ว่างซอยประชาอุทิศ41แห่งที่ 1 จำนวนพื้นที่1ไร่ 1.3ที่ว่างซอยประชาอุทิศ 41แห่งที่2 จำนวนพื้นที่ 2 ไร่ 1 งาน เก็บข้อมูล
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2021-01-26)
1/26/2021 : เดือนมกราคม 2564 ดำเนินการสำรวจพื้นที่เกษตรกรรมริมคลองรางแม่น้ำจำนวน 3 แห่งเตรียมเก็บข้อมูล 1. รูปภาพ 2. ขนาดพื้นที่ 3.ที่ตั้งจุดเช็คอิน เพื่อลงในระบบพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของกรุงเทพมหานคร
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2020-12-28)
28/12/2563 : เดือนธันวาคม 2563 ดำเนินการดังนี้ 1. สำรวจพื้นที่รกร้างว่างเปล่าบริเวณชุมชนหลังสวนธนจำนวน 3 แห่งเพื่อลงข้อมูลในระบบ 2.เก็บข้อมูลจำนวนพื้นที่ทั้ง3 แห่ง 3.เก็บข้อมูลรูปภาพจำนวน 3 แห่ง 4.นำข้อมูลลงในระบบการจัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของกรุงเทพมหานคร
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2020-11-26)
26/11/2563 : เดือนพฤศจิกายน 2563 ดำเนินการดังนี้ 1.สำรวจพื้นที่รกร้างบริเวณหลังชุมชนสวนธนบุรีรมย์ จำนวน 1 แห่ง เก็บข้อมูลภาพ 3.เก็บข้อมูลขนาดพื้นที่ 4.กำหนดพกัดที่พื้นที่เป้าหมาย เพื่อนำข้อมูลลงในระบบการจัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียวต่อไป
** ปัญหาของโครงการ : - ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ : - ไม่มี
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2020-10-30)
30/10/2563 : เดือนตุลาาคม 2563 ดำเนินการ1.สำรวจพื้นที่บ่อเลี้ยงปลาบ่อเลี้ยงกุ้งและพื้นที่เกษตรกรรมริมคลองบางมด 2.เก็บข้อมูลจำนวนพื้นที่ 3.ข้อมูลรูปภาพเพื่อเตรียมลงข้อมูลในระบบการจัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียว
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **