รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละความพึงพอใจที่มีต่อการเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนวันสำคัญของไทย/วันสำคัญทางศาสนาและวันสำคัญทางประเพณี : 5049-2011

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 98.06

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
98.00
100
100 / 100
2
98.00
100
100 / 100
3
98.00
0
0 / 0
4
98.06
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

29/10/2563 : ขออนุมัติเงินประจำงวด 30/11/2563 : ประชาสัมพันธ์และทำหนังสือเชิญร่วมงาน 29/12/2563 : ดำเนินการจัดกิจกรรมเนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร วันชาติ และวันพ่อแห่งชาติ 5 ธันวาคม 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

22/01/2564 : รายงานสรุปผลการจัดกิจกรรมเนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร วันชาติ และวันพ่อแห่งชาติ ประจำปี 2563 ตามโครงการค่าใช้จ่ายในการจัดงานวันสำคัญอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณี ประจำปีงบประมาณ 2564 ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม คิดเป็นร้อยละ 98.2 20/02/2564 : ประชาสัมพันธ์รับสมัครคัดเลือกผู้สูงวัยขวัญใจเขตทุ่งครุ และจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ สำหรับจัดกิจกรรมวันสงกรานต์ 22/03/2564 : เตรียมจัดงานวันสงกรานต์ ซึ่งจะจัดขึ้นในวันที่ 8 เมษายน 2564 ณ วัดทุ่งครุ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

27/04/2564 : ดำเนินการจัดกิจกรรมที่ 2 (กิจกรรมวันสงกรานต์) เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 8 เม.ย. 2564 โดยปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(โควิด-19) อย่างเคร่งครัด 30/05/2564 : ดำเนินการส่งใบขอเบิกเงินค่าจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการจัดทำพานดอกไม้สดเพื่อใช้ในกิจกรรมสรงน้ำพระและรดน้ำขอพรผู้สูงอายุ (วันสงกรานต์) ประจำปี 2564 จำนวนเงิน 19,000 บาท และค่าจ้างเหมาจัดทำโล่รางวัลสำหรับผู้เข้าประกวดผู้สูงวัยขวัญใจเขตทุ่งครุ จำนวนเงิน 6,000 บาท รวมจำนวนเงิน 25,000 บาท และอยู่ระหว่างการจัดทำเอกสารเตรียมการจัดกิจกรรมที่ 3 และกิจกรรมที่ 4 ซึ่งกำหนดจัดกิจกรรมในเดือน กรกฎาคม 2564 24/06/2564 : ดำเนินการจัดกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติและวันสงกรานต์เรียบร้อยแล้ว และได้รับอนุมัติงดจัดกิจกรรมวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิรลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว และกิจกรรมวันเข้าพรรษา เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่มีจำนวนผู้ติดเชื้อสูงขึ้น เพื่อความปลอดภัยของทุกคน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

30/07/2564 : ขออนุมัติงดการจัดกิจกรรมตามโครงการจัดงานวันสำคัญอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณี ประจำปี 2564 จำนวน 3 กิจกรรม ได้แก่ ... 1) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวง 2) กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว วันที่ 27 กรกฎาคม 2564 3) กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมวันเข้าพรรษา วันที่ 19-21 กรกฎาคม 2564 30/08/2564 : ได้รับอนุมัติงดการจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวง เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 16/09/2564 : ได้รับอนุมัติงดการจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวง เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ความพึงพอใจ หมายถึง ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการจัดงานวันสำคัญและอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทยมีความพึงพอใจในระดับมากและมากที่สุด ดำเนินการสำรวจความพึงพอใจโดยใช้แบบสอบถามผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 600 ชุด โดยระดับความพึงพอใจแบ่งเป็น ระดับ 5 = พึงพอใจมากที่สุด ระดับ 4 = พึงพอใจมาก ระดับ 3 = พึงพอใจปานกลาง ระดับ 2 = พึงพอใจน้อย ระดับ 1 = พึงพอใจน้อยที่สุด

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจในระดับมากและมากที่สุด คูณ 100 หารด้วย จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
:๓.๔ - สังคมพหุวัฒนธรรม
:๓.๔.๑ คนกรุงเทพฯที่มีความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขและ%
:๓.๔.๑.๒ พัฒนากระบวนการเรียนรู้ด้านพหุวัฒนธรรมในสถานศึกษาและชุมชนในพื้นที่

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง