ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
สำนักงานเขตบางบอนจัดประชุมชี้แจงเป้าหมาย ขั้นตอนในการดำเนินการตามตัวชี้วัดที่ 4.2 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงาน ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของหน่วยงาน เพื่อให้ทราบแนวทางความสำคัญ สร้างความรู้ ความเข้าใจเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรในสังกัดโดยทบทวน วิเคราะห์ความเสี่ยง คัดเลือกงานที่มีความเสี่ยงสูงนำมาจัดการความเสี่ยงในการทำงาน โดยคัดเลือกงานที่ได้จัดการความเสี่ยงในปีที่ผ่านมานำมาต่อยอด 1 งาน แต่งตั้งคณะกรรมการฯ และทบทวน วิเคราะห์ความเสี่ยง ประเมินอันตรายจากการทำงานของแต่ละส่วนราชการ จัดประชุมคณะทำงานฯเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2562 เพื่อพิจาณาคัดเลือกงานที่มีความเสี่ยงสูงมาจัดทำโครงการและแผนงานจัดการความเสี่ยงในการทำงานของบุคลากรในสำนักงานเขตบางบอน
อยู่ระหว่างจัดทำคู่มือของพนักงานขับรถยนต์ของสำนักงานเขตบางบอนเพื่อถือปฏิบัติในการลดความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน
-อยู่ระหว่างการดำเนินการตามแผนการจัดกิจกรรมของโครงการฯ
-สำนักงานเขตบางบอนดำเนินการโครงการ/กิจกรรมเพื่อจัดการความเสี่ยงในการทำงานของหน่วยงาน จำนวน 3 งาน ได้แก่ งานพ่นสารเคมีกำจัดยุง งานกวาดมูลฝอย และงานจัดเก็บป้ายโฆษณา และคัดเลือกงานที่จัดการความเสี่ยงในปีที่ผ่านมา นำมาต่อยอดพัฒนา จำนวน 2 งาน ได้แก่ งานอาสาจราจรหน้าสถานศึกษา และงานล้างทำความสะอาดท่อระบายนำ้ ซึ่งได้ดำเนินการเป็นไปตามแผนที่กำหนด และดำเนินการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์วิธีการและความสำเร็จของโครงการภายในและภายนอกหน่วยงานทางเว็ปไซต์ของสำนักงานเขตบางบอน เรียบร้อยแล้ว
การเสริมสร้างคุณภาพชีวิตในการทำงาน หมายถึงการสร้างสรรค์บรรยากาศที่จะทำให้บุคลากรในองค์กรมีความผูกพัน และพึงพอใจในการทำงานกับองค์กรสูงขึ้น อันเนื่องจากการดูแลเอาใจใส่และให้ความสำคัญต่อบุคลากรในฐานะที่เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าสูงสุด ด้วยการสร้างสภาพแวดล้อมที่ดี มีความปลอดภัย ไม่ก่อให้เกิดโรคภัยหรืออุบัติเหตุจากากรทำงาน และมีระบบงานที่คล่องตัว ไม่ยุ่งยากซับซ้อน ที่จะส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตส่วนตัวของบุคลากร รวมทั้งการดูแลให้บุคลากรมีความั่นคงในชีวิตทั้งด้านสุขภาพ ด้านการเงิน ด้านครอบครัว และด้านสังคม
ดำเนินการครบตามขั้นตอนที่กำหนด จำนวน 6 ขั้นตอน
:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
:๗.๓ - การบริหารทรัพยากรบุคคล |
:๗.๓.๒ กรุงเทพมหานครมีระบบบริหารทรัพยากรบุคคลเข้มแข็งเอื้อต่อความเป็นธรรมสามารถสร้างสมดุล% |
:๗.๓.๒.๑ ทบทวนและปรับปรุงกรอบอัตราก?าลัง และโครงสร้างอัตราก?าลังให้มีความ |