รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร : 5050-0812

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00
100
100 / 100
2
50.00
100
100 / 100
3
75.00
0
0 / 0
4
100.00
0
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-ดำเนินการสุ่มตรวจอาหารจากสถานประกอบการในพื้นที่ ด้านจุลชีววิทยาหากพบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค หากไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จะดำเนินการส่งหนังสือแจ้งผลการตรวจและข้อแนะนำในการแก้ไขดำเนินการตรวจสอบด้านสุขลักษณะและสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ในกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ ได้แก่ 1. มินิมาร์ท 2. ร้านอาหาร 3. เรือนจำ 4. ตลาด และ 5 ซูเปอร์มาร์เก็ต

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ดำเนินการสุ่มตรวจอาหารจากสถานประกอบการในพื้นที่ ด้านจุลชีววิทยาหากพบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค หากไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จะดำเนินการส่งหนังสือแจ้งผลการตรวจและข้อแนะนำในการแก้ไขดำเนินการตรวจสอบด้านสุขลักษณะและสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ในกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ ได้แก่ 1. มินิมาร์ท 2. ร้านอาหาร 3. เรือนจำ 4. ตลาด และ 5 ซูเปอร์มาร์เก็ต

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินการสุ่มตรวจอาหารจากสถานประกอบการในพื้นที่ ด้านจุลชีววิทยาหากพบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค หากไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จะดำเนินการส่งหนังสือแจ้งผลการตรวจและข้อแนะนำในการแก้ไขดำเนินการตรวจสอบด้านสุขลักษณะและสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ในกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ ได้แก่ 1. มินิมาร์ท 2. ร้านอาหาร 3. เรือนจำ 4. ตลาด และ 5 ซูเปอร์มาร์เก็ต

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการสุ่มตรวจอาหารจากสถานประกอบการในพื้นที่ ด้านจุลชีววิทยาหากพบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค หากไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จะดำเนินการส่งหนังสือแจ้งผลการตรวจและข้อแนะนำในการแก้ไขดำเนินการตรวจสอบด้านสุขลักษณะและสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ในกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ ได้แก่ 1. มินิมาร์ท 2. ร้านอาหาร 3. เรือนจำ 4. ตลาด และ 5 ซูเปอร์มาร์เก็ต

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

๑. สถานประกอบการอาหาร หมายถึง สถานที่จำหน่ายอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ตและมินิมาร์ท ในพื้นที่ ๕๐ เขต ที่ได้รับใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองการแจ้งตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข ๒. เกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร หมายถึง เกณฑ์ที่ใช้ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารเพื่อขอรับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ประกอบด้วย ๓ องค์ประกอบหลัก ได้แก่ ด้านอาคารสถานที่ ด้านความปลอดภัยของอาหาร และด้านบุคลากรผู้สัมผัสอาหาร ดังนี้ 2.1 ด้านอาคารสถานที่ ต้องผ่านเกณฑ์สุขลักษณะ สถานประกอบการอาหาร 2.2 ด้านความปลอดภัยของอาหาร ต้องผ่านเกณฑ์ ด้านความปลอดภัย ดังนี้ 1) อาหารและวัตถุดิบสุ่มตรวจด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test kit) ทางด้านเคมี อยู่ในเกณฑ์คุณภาพอาหารที่กำหนด ดังนี้ - ต้องไม่พบการปนเปื้อนของสารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน สารฟอกขาว และสารกันรา - ต้องไม่พบสีสังเคราะห์ในอาหาร ที่ห้ามการใช้สี - ต้องไม่พบกรดแร่อิสระในน้ำส้มสายชู - ต้องไม่พบยาฆ่าแมลง สารไอโอเดท และสารโพลาร์ในน้ำมันทอดอาหารเกินเกณฑ์คุณภาพอาหารที่กำหนด 2) ตรวจความสะอาดของอาหารพร้อม บริโภคภาชนะอุปกรณ์ มือผู้สัมผัสอาหาร โดยใช้ชุดตรวจหาโคลิฟอร์มแบคทีเรียเบื้องต้น (SI-๒) พบการปนเปื้อน ไม่เกินร้อยละ 1๐ กรณี พบการปนเปื้อนสารเคมีอันตราย หรือโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ให้ออกคำสั่ง เจ้าพนักงานท้องถิ่น หรือคำแนะนำให้ผู้ประกอบการอาหาร ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขให้ผ่านเกณฑ์ความปลอดภัยโดยสุ่มตรวจวิเคราะห์ซ้ำ 2.3 ด้านบุคลากรผู้สัมผัสอาหารต้องผ่านการอบรม หรือการเรียนรู้ด้วยตนเองตามหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร และผ่านการทดสอบความรู้โดยได้รับหนังสือรับรองและบัตรประจำตัวผู้สัมผัสอาหาร

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร x ๑๐๐ จำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดในพื้นที่เขต

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

รายงานผลการดำเนินการ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน%
:๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง