ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
นางสาวพนิดา แซ่ก๊วย
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 3
สำนักงานเขตบางบอนได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ขึ้น ภายใต้แผนยุทธศาสตร์กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย และเป็นไปตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ด้านมหานครแห่งความสุข ทั้งนี้ เพื่อกำหนดกรอบและทิศทางในการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยให้มีความต่อเนื่อง เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนได้ตื่นตัวและตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร รวมทั้งเป็นการเสริมสร้างภาครัฐและประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร
50500400/50500400
1. เพื่อปรับปรุงยกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะการจำหน่ายอาหารในสถานประกอบการอาหาร 2. เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบการ 3. เพื่อตรวจสอบคุณภาพอาหารกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินและร้องเรียนด้านอาหาร 4. เพื่อพัฒนาความรู้ความเข้าใจ จิตสำนึกและความร่วมมือของผู้ประกอบการและประชาชนทั่วไปในเรื่องอาหารปลอดภัย 5. เพื่อเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคและสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย
ร้อยละ 100 ความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน% |
๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2021-09-28)
28/09/2564 : ได้ดำเนินการตรวจสอบด้านสุขลักษณะและสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ในกลุ่มเป้าหมาย สรุปผลได้ดังนี้ 1. ร้านจำหน่ายอาหาร จำนวน 10 แห่ง ผลการตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยาจำนวน 17 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค ด้านเคมีจำนวน 52 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนด้านเคมี
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 95.00 (2021-08-30)
30/08/2564 : ได้ดำเนินการตรวจสอบด้านสุขลักษณะและสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ในกลุ่มเป้าหมาย สรุปผลได้ดังนี้ 1. ร้านจำหน่ายอาหาร จำนวน 7 แห่ง 2. มินิมาร์ท จำนวน 12 แห่ง ผลการตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยาจำนวน 59 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค ด้านเคมีจำนวน 196 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน
** ปัญหาของโครงการ :เนื่องจากเกิดการระบาดกระจายของโรคไวรัสโควิด-19 เป็นอย่างมาก จึงทำร้านอาหารบางแห่ง ปิดทำการ
** อุปสรรคของโครงการ :ควรมีการลดจำนวนร้ยละ 100 เป็นร้อยละ 80
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2021-07-30)
30/07/2564 : 1. ร้านมินิมาร์ท จำนวน 7 แห่ง 2. ร้านอาหาร จำนวน 5 แห่ง ผลการตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยาจำนวน 70 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค ด้านเคมีจำนวน 12 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนด้านเคมี
** ปัญหาของโครงการ :เกิดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อย่างรุนแรง ส่งผลให้ไม่สามารถออกตรวจได้ตามแผนที่ตั้งไว้ บางแห่งปิดกิจการชั่วคราว
** อุปสรรคของโครงการ :ควรปรับลดเกินการประเมินให้อยู่ที่ร้อยละ 80
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2021-06-29)
29/06/2564 : ได้ดำเนินการตรวจสอบด้านสุขลักษณะและสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ในกลุ่มเป้าหมาย สรุปผลได้ดังนี้ 1. ร้านจำหน่ายอาหาร จำนวน 7 แห่ง 2. มินิมาร์ท จำนวน 2 แห่ง ผลการตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยาจำนวน 56 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค ผลตรวจ SI-2 จำนวน 6 ตัวอย่าง ด้านเคมีจำนวน 60 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนด้านเคมี
** ปัญหาของโครงการ :เนื่องจากประสบปัญหาการติดโควิด จึงทำให้ร้านบางแห่งปิดกิจการ
** อุปสรรคของโครงการ :ควรลดผลกำดำเนินการจากร้อยละ 100 ลดลงเหลือร้อยละ 80
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2021-05-28)
ได้ดำเนินการตรวจสอบด้านสุขลักษณะและสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ในกลุ่มเป้าหมาย สรุปผลได้ดังนี้ 1. มินิมาร์ท จำนวน 14 แห่ง 2. สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 10 แห่ง จำนวน ผลการตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยาจำนวน 142 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค ด้านเคมีจำนวน 40 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนด้านเคมี ตรวจน้ำแข็ง 20 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน ตรวจ SI-2 จำนวน 122 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน
** ปัญหาของโครงการ :ควรลดเป้าหมายจากร้อยละ100 ลดลง ร้อยละ 80 เนื่องจากบัตรผู้สัมผัสอาหารบางรายหมดอายุ ไม่สามารถจัดอบรมและส่งรายงานได้
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 65.00 (2021-04-29)
29/04/2564 : ได้ดำเนินการตรวจสอบด้านสุขลักษณะและสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ในกลุ่มเป้าหมาย สรุปผลได้ดังนี้ 1. ตลาด จำนวน 1 แห่ง 2. มินิมาร์ทจำนวน 9 แห่ง 3. ร้านอาหารจำนวน 4 แห่ง ผลการตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยาจำนวน 96 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค ด้านเคมีจำนวน 143 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนด้านเคมี
** ปัญหาของโครงการ :สถานการณ์แพร่ระบาดไวรัสโควิด-19 ร้านอาหารบางแห่งปิดให้การบริการเป็นการชั่วคราว จึงควรลดจำนวนตัวชี้วัด
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2021-03-30)
30/03/2564 : ได้ดำเนินการตรวจสอบด้านสุขลักษณะและสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ในกลุ่มเป้าหมาย สรุปผลได้ดังนี้ 1. โรงเรียนจำนวน 1 แห่ง 2. มินิมาร์ทจำนวน 8 แห่ง ผลการตรวจวิเคราะห์ด้านจุลชีววิทยาจำนวน 125 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค ด้านเคมีจำนวน 17 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนด้านเคมี
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2021-02-25)
2021-2-25 : ได้ดำเนินการตรวจสอบด้านสุขลักษณะและสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ในกลุ่มเป้าหมาย สรุปผลได้ดังนี้ 1. โรงเรียน 10 แห่ง ด้านจุลชีววิทยาจำนวน 132 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค ด้านเคมีจำนวน 70 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนด้านเคมี
** ปัญหาของโครงการ :บางโรงเรียนไม่สามารถตรวจได้ตามแผน เนื่องจากโรงเรียนบางแห่งยังไม่สามารถเปิดโรงเรียนติดสถานการณ์โควิด-19
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2021-01-28)
28/01/2564 : ได้ดำเนินการตรวจสอบด้านสุขลักษณะและสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ในกลุ่มเป้าหมาย สรุปผลได้ดังนี้ 1. ตลาด จำนวน 3 แห่ง 2. ซูเปอร์มาร์เก็ตจำนวน 1 แห่ง 3. มินิมาร์ทจำนวน 5 แห่ง ดำเนินการสุ่มตรวจอาหารประจำเดือนมกราคม 2564 ด้านจุลชีววิทยาจำนวน 39 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค ด้านเคมีจำนวน 159 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2021-01-27)
27/01/2564 : ดำเนินการสุ่มตรวจอาหารจากสถานประกอบการในพื้นที่ด้านจุลชีววิทยา หากพบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จะส่งหน้งสือแจ้งผลการตรวจให้แก้ไขให้ถูกสุขลักษณะ 1. ร้านอาหาร จำนวน 7 แห่ง 2. มินิมาร์ท จำนวน 2 แห่ง ดำเนินการสุ่มตรวจอาหารประจำเดือนธันวาคม 2563 ด้านจุลชีววิทยาจำนวน 56 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค จำนวน 6 ตัวอย่าง การตรวจ อ.11 จำนวน 6 ตัวอย่าง ไม่พบว่ามีการปนเปื้อน ด้านเคมีจำนวน 60 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 25.00 (2021-01-05)
2021-1-5 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2020-12-03)
03/12/2563 : ได้ดำเนินการตรวจสอบด้านสุขลักษณะและสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ในกลุ่มเป้าหมาย สรุปผลได้ดังนี้ 1. ร้านอาหาร จำนวน 8 แห่ง 2. มินิมาร์ท จำนวน 1 แห่ง ดำเนินการสุ่มตรวจอาหารประจำเดือนพฤศจิกายน 2563 ด้านจุลชีววิทยาจำนวน 72 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค ตรวจ อ.11 จำนวน 5 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค ด้านเคมีจำนวน 61 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนด้านเคมี
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(13) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2020-11-27)
27/11/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(14) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2020-10-27)
27/10/2563 : 31/8/2563 : ได้ดำเนินการตรวจสอบด้านสุขลักษณะและสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ในกลุ่มเป้าหมาย สรุปผลได้ดังนี้ 1. ตลาด จำนวน 5 แห่ง 2. ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 3 แห่ง 3. ร้านอาหาร จำนวน 5 แห่ง ดำเนินการสุ่มตรวจอาหารประจำเดือนตุลาคม 2563 ด้านจุลชีววิทยาจำนวน 39 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค ด้านเคมีจำนวน 231 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อนด้านเคมี 8 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **