ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
คุณสุพิชากรณ์ ธนานุวงศ์ โทร 3247
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 3
ปัจจุบันประชากรสูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มปริมาณสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งที่มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรที่ส่งผลให้จำนวนผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นทั้งขนาดและสัดส่วน โดยในปี พ.ศ. 2553 มีประชากรผู้สูงอายุเพียงร้อยละ 5.4 ของประชากรทั้งหมด แต่จำนวนประชากรคาดประมาณ ณ กลางปี พ.ศ. 2557 มีผู้สูงอายุจำนวน 10,014,705 คน คิดเป็นร้อยละ 15.54 เมื่อเทียบกับจำนวนประชากรทั้งหมด ของประเทศ จำนวน 64 ล้านคน และมีแนวโน้มว่าสัดส่วนผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 25 ในปี พ.ศ. 2573 หรือเพิ่มขึ้นเกือบ 2 เท่าตัว การเพิ่มจำนวนของผู้สูงอายุ มีผลกระทบโดยตรงต่อนโยบายและแผนงานด้านสาธารณสุขของประเทศ เพราะผู้สูงอายุจะมีปัญหาด้านสุขภาพมาก เนื่องจากมีความเสื่อมและความเจ็บป่วยทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ บุคลิกภาพ รวมถึงการสูญเสียบทบาทและสถานภาพทางสังคม จากรายงานการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทยของสำนักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2557 พบว่า กลุ่มประชากรสูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) มีสัดส่วนของผู้ที่มีปัญหาเรื่องโรคเรื้อรัง หรือโรคประจำตัวสูงกว่าทุกกลุ่มอายุ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง คิดเป็นร้อยละ 31.7 โรคเบาหวาน คิดเป็นร้อยละ 13.3 โรคหัวใจและหลอดเลือด คิดเป็นร้อยละ 7.0 จากข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าโรคที่พบในผู้สูงอายุมักจะเป็นโรคเรื้อรัง ซึ่งเชื่อว่าเกิดจากสภาพร่างกายและความเสื่อมตามวัย เมื่อพิจารณา ถึงสาเหตุของการเกิดโรคแล้วพบว่าโรคส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมการดำเนินชีวิตหรือพฤติกรรมการดูแล ตนเอง และเป็นโรคที่สามารถหลีกเลี่ยงหรือบรรเทาความรุนแรงได้ และยังพบโรคและกลุ่มอาการที่เกิดในผู้สูงอายุ เรียกว่า Geriatric Syndrome ซึ่งโรคที่สำคัญและส่งผลต่อคุณภาพการดำเนินชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุ จากรายงานการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทยของ สำนักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ.2557 ยังพบว่าผู้สูงอายุเป็นโรคสมองเสื่อม คิดเป็นร้อยละ 7.8 กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ คิดเป็นร้อยละ 11.2 เดินลำบากและเสี่ยงต่อการหกล้มบ่อยคิดเป็นร้อยละ 12.3 มีภาวะเครียด และขาดคุณค่าในตนเอง และสังคม คิดเป็นร้อยละ 6.3 กรุงเทพมหานครซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบในการบริการด้านสาธารณสุขของประชากรในกรุงเทพมหานคร มีนโยบายที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรในกรุงเทพมหานครให้มีคุณภาพชีวิตดีขึ้นทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคมให้แข็งแรงสมบูรณ์ เกิดการสูงวัยอย่างมีพลัง (Active ageing) ซึ่งเป็นกระบวนการสร้างโอกาสที่ดีที่สุดเพื่อสุขภาพ การมีส่วนร่วมและความมั่นคงเพื่อที่จะยกระดับ “คุณภาพชีวิต” (Quality of life) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มผู้สูงอายุให้มีการส่งเสริมฟื้นฟูสมรรถภาพให้สามารถพึ่งตนเอง และช่วยเหลือสังคมได้ โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ได้จัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพขึ้น ซึ่งเป็นก้าวแรกของการพัฒนาระบบการดูแลรักษาผู้สูงอายุในโรงพยาบาล โดยอาศัยการประเมินสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม (Comprehensive Geriatric Assessment) จากทีมสหสาขาวิชาชีพของโรงพยาบาล เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลครบทุกมิติสุขภาพ ส่งผลให้ผู้สูงอายุฟื้นคืนสภาพได้รวดเร็วขึ้น และนำผู้สูงอายุกลับเข้าสู่สังคมได้อีกครั้ง และได้ขยายการดำเนินงานไปยังศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย รวมถึงโรงพยาบาลสังกัดภาครัฐและเอกชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษกนี้ สำนักการแพทย์ จึงจัดโครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ขึ้นเพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติ
07020000/07020000
1. เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก 2. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. เพื่อเพิ่มการค้นพบโรคเรื้อรังในระยะเริ่มแรกของผู้สูงอายุ
ตรวจคัดกรองกลุ่มอาการที่เกิดในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome) จำนวน 10,000 ราย และมีการจัดนิทรรศการให้ความรู้ด้านการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม 2562 – 30 เมษายน 2563 (ระยะเวลา 1 ปี) ณ โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร รวมถึงโรงพยาบาลสังกัดภาครัฐและเอกชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All |
๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร |
๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด% |
๓.๑.๓.๑ พัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2020-09-21)
21/9/2563 : โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ดำเนินการตรวจคัดกรองผู้สูงอายุและส่งผลการดำเนินงานมายังสำนักการแพทย์เรียบร้อยแล้ว
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 95.00 (2020-08-27)
27/8/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...อยู่ระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ดำเนินการตรวจคัดกรองผู้สูงอายุ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2020-07-20)
20/7/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...อยู่ระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ดำเนินการตรวจคัดกรองผู้สูงอายุ
** ปัญหาของโครงการ :กิจกรรมดังกล่าว เป็นการจัดกิจกรรมให้บริการตรวจคัดกรองคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุ โดยโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ซึ่งลักษณะของการให้บริการมีทั้งเชิงรุก (จัดหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ฯ ให้บริการตามชุมชนหรือพื้นที่นอกโรงพยาบาลอื่นๆ) และเชิงรับ (ให้บริการในโรงพยาบาล) จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)ทำให้การออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ฯ ให้บริการตามชุมชน หรือพื้นที่ต่างๆ ไม่สามารถดำเนินการได้ เนื่องจากต้องมีการจำกัดจำนวนคน และต้องมีการป้องกันการแพร่ระบาดอย่างเข้มงวด และนโยบายลดความแอดอัดในโรงพยาบาล อีกทั้งกลุ่มผู้สูงอายุซึ่งถือเป็นกลุ่มเสี่ยงที่อาจติดเชื้อ COVID – 19 และอาจเกิดการสูญเสียขึ้นได้ส่งผลให้โรงพยาบาลไม่สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนด
** อุปสรรคของโครงการ :กิจกรรมดังกล่าว เป็นการจัดกิจกรรมให้บริการตรวจคัดกรองคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุ โดยโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ซึ่งลักษณะของการให้บริการมีทั้งเชิงรุก (จัดหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ฯ ให้บริการตามชุมชนหรือพื้นที่นอกโรงพยาบาลอื่นๆ) และเชิงรับ (ให้บริการในโรงพยาบาล) จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)ทำให้การออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ฯ ให้บริการตามชุมชน หรือพื้นที่ต่างๆ ไม่สามารถดำเนินการได้ เนื่องจากต้องมีการจำกัดจำนวนคน และต้องมีการป้องกันการแพร่ระบาดอย่างเข้มงวด และนโยบายลดความแอดอัดในโรงพยาบาล อีกทั้งกลุ่มผู้สูงอายุซึ่งถือเป็นกลุ่มเสี่ยงที่อาจติดเชื้อ COVID – 19 และอาจเกิดการสูญเสียขึ้นได้ส่งผลให้โรงพยาบาลไม่สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนด
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2020-06-28)
28/06/2563 : อยู่ระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ดำเนินการตรวจคัดกรองผู้สูงอายุ
** ปัญหาของโครงการ :กิจกรรมดังกล่าว เป็นการจัดกิจกรรมให้บริการตรวจคัดกรองคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุ โดยโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ซึ่งลักษณะของการให้บริการมีทั้งเชิงรุก (จัดหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ฯ ให้บริการตามชุมชนหรือพื้นที่นอกโรงพยาบาลอื่นๆ) และเชิงรับ (ให้บริการในโรงพยาบาล) จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)ทำให้การออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ฯ ให้บริการตามชุมชน หรือพื้นที่ต่างๆ ไม่สามารถดำเนินการได้ เนื่องจากต้องมีการจำกัดจำนวนคน และต้องมีการป้องกันการแพร่ระบาดอย่างเข้มงวด และนโยบายลดความแอดอัดในโรงพยาบาล อีกทั้งกลุ่มผู้สูงอายุซึ่งถือเป็นกลุ่มเสี่ยงที่อาจติดเชื้อ COVID – 19 และอาจเกิดการสูญเสียขึ้นได้ส่งผลให้โรงพยาบาลไม่สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนด
** อุปสรรคของโครงการ :กิจกรรมดังกล่าว เป็นการจัดกิจกรรมให้บริการตรวจคัดกรองคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุ โดยโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ซึ่งลักษณะของการให้บริการมีทั้งเชิงรุก (จัดหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ฯ ให้บริการตามชุมชนหรือพื้นที่นอกโรงพยาบาลอื่นๆ) และเชิงรับ (ให้บริการในโรงพยาบาล) จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)ทำให้การออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ฯ ให้บริการตามชุมชน หรือพื้นที่ต่างๆ ไม่สามารถดำเนินการได้ เนื่องจากต้องมีการจำกัดจำนวนคน และต้องมีการป้องกันการแพร่ระบาดอย่างเข้มงวด และนโยบายลดความแอดอัดในโรงพยาบาล อีกทั้งกลุ่มผู้สูงอายุซึ่งถือเป็นกลุ่มเสี่ยงที่อาจติดเชื้อ COVID – 19 และอาจเกิดการสูญเสียขึ้นได้ส่งผลให้โรงพยาบาลไม่สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนด
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2020-05-29)
29/5/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...อยู่ระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ดำเนินการตรวจคัดกรองผู้สูงอายุ
** ปัญหาของโครงการ :กิจกรรมดังกล่าว เป็นการจัดกิจกรรมให้บริการตรวจคัดกรองคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุ โดยโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ซึ่งลักษณะของการให้บริการมีทั้งเชิงรุก (จัดหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ฯ ให้บริการตามชุมชนหรือพื้นที่นอกโรงพยาบาลอื่นๆ) และเชิงรับ (ให้บริการในโรงพยาบาล) จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)ทำให้การออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ฯ ให้บริการตามชุมชน หรือพื้นที่ต่างๆ ไม่สามารถดำเนินการได้ เนื่องจากต้องมีการจำกัดจำนวนคน และต้องมีการป้องกันการแพร่ระบาดอย่างเข้มงวด และนโยบายลดความแอดอัดในโรงพยาบาล อีกทั้งกลุ่มผู้สูงอายุซึ่งถือเป็นกลุ่มเสี่ยงที่อาจติดเชื้อ COVID – 19 และอาจเกิดการสูญเสียขึ้นได้ส่งผลให้โรงพยาบาลไม่สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนด
** อุปสรรคของโครงการ :กิจกรรมดังกล่าว เป็นการจัดกิจกรรมให้บริการตรวจคัดกรองคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุ โดยโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ซึ่งลักษณะของการให้บริการมีทั้งเชิงรุก (จัดหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ฯ ให้บริการตามชุมชนหรือพื้นที่นอกโรงพยาบาลอื่นๆ) และเชิงรับ (ให้บริการในโรงพยาบาล) จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)ทำให้การออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ฯ ให้บริการตามชุมชน หรือพื้นที่ต่างๆ ไม่สามารถดำเนินการได้ เนื่องจากต้องมีการจำกัดจำนวนคน และต้องมีการป้องกันการแพร่ระบาดอย่างเข้มงวด และนโยบายลดความแอดอัดในโรงพยาบาล อีกทั้งกลุ่มผู้สูงอายุซึ่งถือเป็นกลุ่มเสี่ยงที่อาจติดเชื้อ COVID – 19 และอาจเกิดการสูญเสียขึ้นได้ส่งผลให้โรงพยาบาลไม่สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนด
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2020-04-24)
24/4/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...อยู่ระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทยบ์ดำเนินการตรวจคัดกรองผู้สูงอายุ
** ปัญหาของโครงการ : - กิจกรรมดังกล่าว เป็นการจัดกิจกรรมให้บริการตรวจคัดกรองคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุ โดยโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ซึ่งลักษณะของการให้บริการมีทั้งเชิงรุก (จัดหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ฯ ให้บริการตามชุมชนหรือพื้นที่นอกโรงพยาบาลอื่นๆ) และเชิงรับ (ให้บริการในโรงพยาบาล) จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)ทำให้การออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ฯ ให้บริการตามชุมชน หรือพื้นที่ต่างๆ ไม่สามารถดำเนินการได้ เนื่องจากต้องมีการจำกัดจำนวนคน และต้องมีการป้องกันการแพร่ระบาดอย่างเข้มงวด และนโยบายลดความแอดอัดในโรงพยาบาล อีกทั้งกลุ่มผู้สูงอายุซึ่งถือเป็นกลุ่มเสี่ยงที่อาจติดเชื้อ COVID – 19 และอาจเกิดการสูญเสียขึ้นได้ส่งผลให้โรงพยาบาลไม่สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนด - ขอปรับลดค่าเป้าหมายของโครงการจากการคัดกรองผู้สูงอายุจำนวน 5,000 ราย เหลือ 4,500 ราย
** อุปสรรคของโครงการ : - กิจกรรมดังกล่าวเป็นการจัดกิจกรรมให้บริการตรวจคัดกรองคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุ โดยโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ซึ่งลักษณะของการให้บริการมีทั้งเชิงรุก (จัดหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ฯ ให้บริการตามชุมชนหรือพื้นที่นอกโรงพยาบาลอื่นๆ) และเชิงรับ (ให้บริการในโรงพยาบาล) จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)ทำให้การออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ฯ ให้บริการตามชุมชน หรือพื้นที่ต่างๆ ไม่สามารถดำเนินการได้ เนื่องจากต้องมีการจำกัดจำนวนคน และต้องมีการป้องกันการแพร่ระบาดอย่างเข้มงวด และนโยบายลดความแอดอัดในโรงพยาบาล อีกทั้งกลุ่มผู้สูงอายุซึ่งถือเป็นกลุ่มเสี่ยงที่อาจติดเชื้อ COVID – 19 และอาจเกิดการสูญเสียขึ้นได้ส่งผลให้โรงพยาบาลไม่สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนด - ขอปรับลดค่าเป้าหมายของโครงการจากการคัดกรองผู้สูงอายุจำนวน 5,000 ราย เหลือ 4,500 ราย
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2020-03-28)
28/3/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...อยู่ระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทยบ์ดำเนินการตรวจคัดกรองผู้สูงอายุ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2020-02-27)
27/2/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...อยู่ระหว่างรอสปสชส่งข้อมูลให้สำนักการแพทย์
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2020-01-30)
30/1/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง geriatric ของรพ.ทั้งหมด3,731 ราย -คัดกรอง geriatric เฉพาะ รพ.สนพ. 3,731 ราย
** ปัญหาของโครงการ :สพบ. ได้ทำการประสานข้อมูลกับ สปสช เขต 13 กรุงเทพมหานคร (ในวันที่ 30 มกราคม 2563) โดย สปสช.แจ้งว่า ระบบดึงข้อมูลการคัดกรองผู้สูงอายุพบปัญหา โดยทาง สปสช.กำลังดำเนินการแก้ไข แต่ยังไม่แล้วเสร็จ จึงทำให้ไม่สามารถดึงข้อมูลได้
** อุปสรรคของโครงการ :สพบ. ได้ทำการประสานข้อมูลกับ สปสช เขต 13 กรุงเทพมหานคร (ในวันที่ 30 มกราคม 2563) โดย สปสช.แจ้งว่า ระบบดึงข้อมูลการคัดกรองผู้สูงอายุพบปัญหา โดยทาง สปสช.กำลังดำเนินการแก้ไข แต่ยังไม่แล้วเสร็จ จึงทำให้ไม่สามารถดึงข้อมูลได้
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2019-12-27)
27/12/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...อยู่ระหว่างขั้นตอน.-จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง geriatric ของรพ.ทั้งหมด3,731 ราย -คัดกรอง geriatric เฉพาะ รพ.สนพ. 3,731 ราย
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2019-11-27)
27/11/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...-จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง geriatric ของรพ.ทั้งหมด13,705 ราย -คัดกรอง geriatric เฉพาะ รพ.สนพ. 3,731 ราย
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2019-10-28)
28/10/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...คัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุตามโครงการฯ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุ (โครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก)
ค่าเป้าหมาย ราย : 5000
ผลงานที่ทำได้ ราย : 8
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **