ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

โครงการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนที่ เกิดจากมลพิษทางอากาศในโรงพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร : 07000000-3671

สำนักการแพทย์ : (2564)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

นายคณัตถ์เจต รัตอาภา โทร 023286901 ต่อ 11434

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 3 100

หลักการและเหตุผล

สถานการณ์ฝุ่นละออง PM 2.5 ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลโดยรวมอยู่ในเกณฑ์ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ ซึ่งนับเป็นปัญหาสำคัญ เนื่องจากส่งผลกระทบต่อสุขภาพโดยตรง เพิ่มอัตราการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล อันเนื่องมาจากโรคต่างๆ ยิ่งสูดดม PM 2.5 เป็นเวลายาวนาน ความรุนแรงของโรคยิ่งสูงมากขึ้น การรายงานค่า PM 2.5 จะทำให้ประชาชนรับทราบข้อมูล เตรียมความพร้อมในการดูแลสุขภาพ ลดความรุนแรงต่อภาวะสุขภาพ และป้องกันอันตรายจาก PM 2.5 ได้

07140000/07140000

วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อเป็นการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนที่เกิดจากมลพิษทางอากาศ 2. เพื่อรายงานสถานการณ์ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศในช่วงที่มีค่าระดับฝุ่นละออง (PM 2.5 ) ในพื้นที่กรุงเทพมหานครเกินเกณฑ์มาตรฐาน

เป้าหมายของโครงการ

การรายงานผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ ร้อยละ 50

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
๑.๑ - ปลอดมลพิษ
๑.๑.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพผู้ติดเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพที่มีมาตรฐานแ%
๑.๑.๓.๒ ปรับปรุงระบบการเก็บข้อมูลคุณภาพอากาศให้ครอบคลุมพื้นที่

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2021-05-25)

100.00

25/05/2564 : สรุปผลการดำเนินงานการรายงานผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2563 - 31 มีนาคม 2564 ของทั้ง 11 โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ โดยได้ทำการประชาสัมพันธ์ข้อมูลความรู้ PM 2.5 และรายงานข้อมูลสถานการณ์คุณภาพอากาศประจำวัน ผ่านสื่อโซเชียลมีเดียต่าง ๆ ของแต่ละโรงพยาบาล และมีการมีการรายงานผ่านบอร์ดประชาสัมพันธ์ และจัดทำรายงานผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศให้ผู้บริหารและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ ดังนี้ - โรงพยาบาลกลาง = รายงานทั้งหมดจำนวน 18 ครั้ง - โรงพยาบาลตากสิน = รายงานทั้งหมดจำนวน 18 ครั้ง - โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ = รายงานทั้งหมดจำนวน 18 ครั้ง - โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ = รายงานทั้งหมดจำนวน 18 ครั้ง - โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ = รายงานทั้งหมดจำนวน 18 ครั้ง - โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร = รายงานทั้งหมดจำนวน 18 ครั้ง - โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ = รายงานทั้งหมดจำนวน 18 ครั้ง - โรงพยาบาลสิรินธร = รายงานทั้งหมดจำนวน 18 ครั้ง - โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน = รายงานทั้งหมดจำนวน 18 ครั้ง - โรงพยาบาลคลองสามวา = รายงานทั้งหมดจำนวน 18 ครั้ง - โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร = รายงานทั้งหมดจำนวน 18 ครั้ง รวมรายงานทั้งสิ้น 198 ครั้ง จากจำนวน 18 สัปดาห์ ของทั้ง 11 โรงพยาบาล คิดเป็นร้อยละ 100

** ปัญหาของโครงการ :ไม่พบปัญหา

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่พบปัญหา

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2021-04-26)

5.00

26/04/2564 : ผลการดำเนินงานการรายงานผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ ประจำเดือนเมษายน 2564 ของทั้ง 11 โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ คือมีการประชาสัมพันธ์ข้อมูลความรู้ PM 2.5 และรายงานข้อมูลสถานการณ์คุณภาพอากาศประจำวัน ผ่านสื่อโซเชียลมีเดียต่าง ๆ และมีการมีการรายงานผ่านบอร์ดประชาสัมพันธ์ และจัดทำรายงานผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศให้ผู้บริหารและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ ดังนี้ - โรงพยาบาลกลาง = รายงานจำนวน 4 ครั้ง (วันที่ 6 - 31 มี.ค. 64) - โรงพยาบาลตากสิน = รายงานจำนวน 4 ครั้ง (วันที่ 6 - 31 มี.ค. 64) - โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ = รายงานจำนวน 15 ครั้ง (วันที่ 1 ต.ค. 63 - 15 มี.ค. 64) - โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ = รายงานจำนวน 2 ครั้ง (วันที่ 20 มี.ค. - 30 มี.ค. 64) - โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ = รายงานจำนวน 4 ครั้ง (วันที่ 6 - 31 มี.ค. 64) - โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร = รายงานจำนวน 150 ครั้ง - โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ = รายงานจำนวน 15 ครั้ง - โรงพยาบาลสิรินธร = รายงานจำนวน 2 ครั้ง (วันที่ 20 - 31 มี.ค. 64) - โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน = รายงานจำนวน 18 ครั้ง - โรงพยาบาลคลองสามวา = รายงานจำนวน 1 ครั้ง - โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร = รายงานจำนวน 2 ครั้ง

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2021-03-25)

20.00

25/03/2564 : ประชาสัมพันธ์ข้อมูลความรู้ PM 2.5 และรายงานข้อมูลสถานการณ์คุณภาพอากาศประจำวัน ผ่านสื่อโซเชียลมีเดียต่าง ๆ และมีการมีการรายงานผ่านบอร์ดประชาสัมพันธ์ และจัดทำรายงานผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศให้ผู้บริหารและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ ดังนี้ - โรงพยาบาลกลาง = รายงานจำนวน 4 ครั้ง (วันที่ 6 ก.พ. - 5 มี.ค. 64) - โรงพยาบาลตากสิน = รายงานจำนวน 4 ครั้ง (วันที่ 21 ก.พ. - 19 มี.ค. 64) - โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ = รายงานจำนวน 22 ครั้ง (วันที่ 1 ต.ค. 63 - 28 ก.พ. 64) - โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ = รายงานจำนวน 4 ครั้ง (วันที่ 21 ก.พ. - 19 มี.ค. 64) - โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ = รายงานจำนวน 4 ครั้ง (วันที่ 21 ก.พ. - 19 มี.ค. 64) - โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร = รายงานจำนวน 155 ครั้ง - โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ = รายงานจำนวน 15 ครั้ง - โรงพยาบาลสิรินธร = รายงานจำนวน 4 ครั้ง (วันที่ 21 ก.พ. - 19 มี.ค. 64) - โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน = รายงานจำนวน 7 ครั้ง (วันที่ 21 ก.พ. - 19 มี.ค. 64) - โรงพยาบาลคลองสามวา = รายงานจำนวน 1 ครั้ง (วันที่ 21 ก.พ. - 19 มี.ค. 64) - โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร = รายงานจำนวน 4 ครั้ง (วันที่ 21 ก.พ. - 19 มี.ค. 64)

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2021-02-25)

10.00

25/02/2564 : ผลการดำเนินงานประจำเดือนกุมภาพันธ์ มีดังนี้ 1) โรงพยาบาลกลาง : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 4 ครั้ง - ประชาสัมพันธ์ และรายงานข้อมูลสถานการณ์คุณภาพอากาศประจำวัน ผ่านช่องทาง Facebook PR รพ.กลาง - เปิดให้บริการคลินิกมลพิษทางอากาศ ทุกวันพฤหัสบดี เวลา 13.00 - 15.30 น. ณ ห้องตรวจประกันสุขภาพ ชั้น 2 - จัดทำรายงานผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ สัปดาห์ที่ 7 (วันที่ 9 - 15 มกราคม 2564) สัปดาห์ที่ 8 (วันที่ 16 - 22 มกราคม 2564) สัปดาห์ที่ 9 (วันที่ 23 - 29 มกราคม 2564) และสัปดาห์ที่ 10 (วันที่ 30 มกราคม - 5 กุมภาพันธ์ 2564) รายงานผู้บริหารและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ - ประชาสัมพันธ์ข้อมูลความรู้ PM 2.5 ผ่านช่องทาง Facebook PR รพ.กลาง, เสียงตามสาย, TV ช่อง 15 และช่อง Youtube “Klang Hospital Channel" 2) โรงพยาบาลตากสิน : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 4 ครั้ง - มีการเฝ้าระวังค่ามลพิษทางอากาศ (PM2.5) - จัดทำสื่อเพื่อประชาสัมพันธ์ค่าฝุ่นและผลกระทบให้บุคลากรและประชาชนทราบ - รายงานสถิติผู้ป่วยที่ได้รับผลกระทบจากมลพิษทางอากาศให้ผู้บริหารทราบทุกสัปดาห์ 3) โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 4 ครั้ง - รายงานสถานการณ์คุณภาพอากาศประจำวันให้ประชาชนทราบผ่านช่องทางแอพพลิเคชั่น LINE, FACEBBOK, เสียงตามสาย และบอร์ดประชาสัมพันธ์ - ดำเนินการร่วมกับคลินิกอายุรกรรม ในการตรวจคัดกรองและส่งต่อผู้ป่วยสงสัยโรคจากการสัมผัสมลพิษทางอากาศมายัง คลินิกมลพิษ เพื่อเฝ้าระวังและติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง - จัดทำแบบคัดกรองอาการ/โรคจากการสัมผัสมลพิษออนไลน์ และให้คำแนะนำแก่ผู้ป่วยผ่านโทรศัพท์มือถือ - จัดทำคู่มือคลินิกมลพิษ พร้อมเผยแพร่ให้เจ้าหน้าที่และบุคลากรทราบ รายงาน 4 ครั้ง (เลขที่หนังสือ กง.อชก.2/2564, 9/2564, 13/2564 และ 16/2564 ) 4) โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 8 ครั้ง - ประชาสัมพันธ์ และรายงานข้อมูลฝุ่นละออง PM2.5 ประจำวันที่บอร์ดประขาสัมพันธ์ และผ่านทาง Facebook ของทางโรงพยาบาล - ประชาสัมพันธ์ และคัดกรองกลุ่มเสี่ยงจากมลพิษทางอากาศผ่านคลีนิกอายุรกรรม 5) โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 4 ครั้ง - มีการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันมลพิษทางอากาศแก่ผู้ป่วยที่เป็นโรคที่เกิดจากมลพิษทางอากาศ - ประชาสัมพันธ์และรายงานข้อมูลสถานการณ์คุณภาพอากาศประจำวันฝุ่น PM2.5 ผ่านช่องทาง Facebook ของรพ.เวชการุณย์รัศมิ์และติดบอร์ดประชาสัมพันธ์ - จัดทำแผ่นพับความรู้เรื่องอันตรายจากมลพิษทางอากาศฝุ่นPM2.5ให้แก่ผู้ป่วยที่เป็นโรคที่เกิดจากมลพิษทางอากาศ" 6) โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 88 ครั้ง - รายงานสถานการณ์คุณภาพอากาศประจำวันให้ประชาชนทราบผ่านช่องทางแอพพลิเคชั่น FACEBBOK และบอร์ดประชาสัมพันธ์ - ดำเนินการร่วมกับคลินิกอายุรกรรม ในการตรวจคัดกรองและส่งต่อผู้ป่วยสงสัยโรคจากการสัมผัสมลพิษทางอากาศมายัง คลินิกมลพิษ เพื่อเฝ้าระวังและติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง - แจกแผ่นพับเรื่องฝุ่น PM2.5 ที่ได้รับจากสำนักการแพทย์พร้อมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบข้อมูลข่าวสาร""" 7) โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 12 ครั้ง - รายงานสถานการณ์มลพิษทางอากาศประจำวันฝุ่น PM 2.5 ผ่านช่องทาง facebook โรงพยาบาล - จัดตั้งบอร์ดแสดงค่าฝุ่น PM 2.5 บริเวณอาคารภูมิพัฒน์ และอาคารเฉลิมพระเกียรติ - จัดทำรายงานผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ สถิติการให้บริการแก่ผู้บริหารทราบ - จัดทำแผ่นพับความรู้เรื่องอันตราย และการดูแลตนเองในกรณีฝุ่น pm2.5 ผิดปกติ และเผยแพร่ลง facebook โรงพยาบาล - โทรติดตามอาการ ร่วมกับให้คำแนะนำกลุ่มเสี่ยงในการดูแลตนเอง 8) โรงพยาบาลสิรินธร : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 4 ครั้ง - รายงานผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนที่เกิดจากมลพิษทางอากาศ - รายงานสถานการณ์มลพิษทางอากาศประจำวันผ่านทางLine Group/Facebook fanpage/Website - ให้คำแนะนำในการดูแลตนเองตามผลคุณภาพอากาศประจำวัน 9) โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 3 ครั้ง มีป้ายแจ้งเตือนระดับมลพิษและระดับสีในแต่ละวันบริเวณจุดคัดกรองผู้ป่วย 10) โรงพยาบาลคลองสามวา : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 1 ครั้ง รายงานและประชาสัมพันธ์ค่าฝุ่น PM 2.5 ให้ผู้รับบริการและประชาชนทั่วไปทราบ 11) โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 12 ครั้ง ดำเนินการให้บริการแก่ผู้มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจ และให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการป้องกันมลพิษทางอากาศในผู้รับบริการที่เป็นกลุ่มเสี่ยง และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพ เฝ้าระวังผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ ความก้าวหน้าของโครงการร้อยละ 45 สรุป : มีการรายงานให้ผู้บริหารทราบทั้งหมด 144 ครั้ง

** ปัญหาของโครงการ :- คลินิกต่างๆ เช่น คลินิกอายุรกรรม GP ยังไม่มีการลงรหัสโรคร่วม เช่น Z581 Y97 Z77 (รพต) - ด้วยสถานการณ์โควิด19 มีการนัดผู้ป่วยลดลง ทำให้การคัดกรองผู้ที่ได้รับ ผลกระทบทางมลพิษทางอากาศ มีจำนวนลดลง (รพท) - โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร ยังขาดบุคลากรที่มีความรู้ด้านอาชีวอนามัยที่ผ่านการอบรมเฉพาะทาง (รพล) - เนื่องจากสถานการณ์โควิท จึงมีผลทำให้ผู้มารับบริการยังมีจำนวนน้อย (รพข) - จำนวนบุคลากร และสถานที่ไม่เพียง (รพค)

** อุปสรรคของโครงการ :- คลินิกต่างๆ เช่น คลินิกอายุรกรรม GP ยังไม่มีการลงรหัสโรคร่วม เช่น Z581 Y97 Z77 (รพต) - ด้วยสถานการณ์โควิด19 มีการนัดผู้ป่วยลดลง ทำให้การคัดกรองผู้ที่ได้รับ ผลกระทบทางมลพิษทางอากาศ มีจำนวนลดลง (รพท) - โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร ยังขาดบุคลากรที่มีความรู้ด้านอาชีวอนามัยที่ผ่านการอบรมเฉพาะทาง (รพล) - เนื่องจากสถานการณ์โควิท จึงมีผลทำให้ผู้มารับบริการยังมีจำนวนน้อย (รพข) - จำนวนบุคลากร และสถานที่ไม่เพียง (รพค)

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2021-01-25)

10.00

25/01/2564 : ผลการดำเนินงานประจำเดือนมกราคม มีดังนี้ 1) โรงพยาบาลกลาง : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 4 ครั้ง 1. ประชาสัมพันธ์ และรายงานข้อมูลสถานการณ์คุณภาพอากาศประจำวัน ผ่านช่องทาง Facebook PR รพ.กลาง 2. เปิดให้บริการคลินิกมลพิษทางอากาศ ทุกวันพฤหัสบดี เวลา 13.00 - 15.30 น. ณ ห้องตรวจประกันสุขภาพ ชั้น 2 3. จัดทำรายงานผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ สัปดาห์ที่ 3 (วันที่ 12 - 18 ธันวาคม 2563) สัปดาห์ที่ 4 (วันที่ 19 - 25 ธันวาคม 2563) สัปดาห์ที่ 5 (วันที่ 26 ธันวาคม 2563 - 1 มกราคม 2564) และสัปดาห์ที่ 6 (วันที่ 2 - 8 มกราคม 2564) รายงานผู้บริหารและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ 4. ประชาสัมพันธ์ข้อมูลความรู้ PM 2.5 ผ่านช่องทาง Facebook PR รพ.กลาง, เสียงตามสาย และ TV ช่อง 15 2) โรงพยาบาลตากสิน : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 7 ครั้ง ติดตามสถานการณ์ค่าฝุ่น ประชาสัมพันธ์ให้บุคคลทราบ ให้คำแนะนำแก่ผู้มารับบริการ รายงานสถิติการให้บริการแก่ผู้บริหารทราบ 3) โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 5 ครั้ง รพจ. ดำเนินการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพของ ปชช. ที่เกิดจากมลพิษทางอากาศใน รพ.อย่างต่อเนื่อง 4) โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 22 ครั้ง 1.ประชาสัมพันธ์ และคัดกรองกลุ่มเสี่ยงจากมลพิษทางอากาศ ผ่านคลีนิกอายุรกรรม 2.รายงานค่าฝุ่นละออง PM2.5 สถานการณ์คุณภาพอากาศประจำวัน ที่บอร์ดประชาสัมพันธ์ และผ่านทาง Facebook ของโรงพยาบาล 3.รายงานสถานการณ์ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ รายสัปดาห์ให้ผู้บริหารทราบ 5) โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 5 ครั้ง 1. มีการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันมลพิษทางอากาศแก่ผู้ป่วยที่เป็นโรคที่เกิดจากมลพิษทางอากาศ 2. ประชาสัมพันธ์และรายงานข้อมูลสถานการณ์คุณภาพอากาศประจำวันฝุ่น PM2.5 ผ่านช่องทาง Facebook ของรพ.เวชการุณย์รัศมิ์และติดบอร์ดประชาสัมพันธ์ 3. จัดทำแผ่นพับความรู้เรื่องอันตรายจากมลพิษทางอากาศฝุ่นPM2.5ให้แก่ผู้ป่วยที่เป็นโรคที่เกิดจากมลพิษทางอากาศ 6) โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 118 ครั้ง 1. รายงานสถานการณ์คุณภาพอากาศประจำวันให้ประชาชนทราบผ่านช่องทางแอพพลิเคชั่น FACEBBOK และบอร์ดประชาสัมพันธ์ 2. ดำเนินการร่วมกับคลินิกอายุรกรรม ในการตรวจคัดกรองและส่งต่อผู้ป่วยสงสัยโรคจากการสัมผัสมลพิษทางอากาศมายัง คลินิกมลพิษ เพื่อเฝ้าระวังและติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง 3. แจกแผ่นพับเรื่องฝุ่น PM2.5 ที่ได้รับจากสำนักการแพทย์พร้อมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบข้อมูลข่าวสาร 7) โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 7 ครั้ง 1.รายงานสถานการณ์มลพิษทางอากาศประจำวันฝุ่น PM 2.5 ผ่านช่องทาง facebook โรงพยาบาล 2. จัดทำรายงานผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ สถิติการให้บริการแก่ผู้บริหารทราบ 3. จัดทำแผ่นพับความรู้เรื่องอันตราย และการดูแลตนเองในกรณีฝุ่น pm2.5 ผิดปกติ 4. โทรติดตามอาการ ร่วมกับให้คำแนะนำกลุ่มเสี่ยงในการดูแลตนเอง 8) โรงพยาบาลสิรินธร : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 4 ครั้ง 1.รายงานผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนที่เกิดจากมลพิษทางอากาศ 2.รายงานสถานการณ์มลพิษทางอากาศประจำวัน 3.ให้คำแนะนำในการดูแลตนเองตามผลคุณภาพอากาศประจำวัน 9) โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 0 ครั้ง มีการจัดตั้งบอร์ดแสดงค่าฝุ่น PM2.5 และแสดงระดับสีที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพในแต่ละสัน เพื่อให้เจ้าหน้าที่และผู้มารับบริการได้ทราบ 10) โรงพยาบาลคลองสามวา : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 1 ครั้ง มีการประชาสัมพันธ์โดยการประกาศเสียงตามสาย และเปิด VDO ให้ผู้ป่วยรับทราบขณะรอตรวจ พร้อมทั้งแจ้งค่าฝุ่น PM ในแต่ละวันให้ผู้รับบริการทราบ 11) โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 3 ครั้ง ดำเนินการให้บริการแก่ผู้มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจ และให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการป้องกันมลพิษทางอากาศในผู้รับบริการที่เป็นกลุ่มเสี่ยง และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพ เฝ้าระวังผลกระทบจากมลพิษทางอากาศความก้าวหน้าของโครงการร้อยละ 40 สรุป : มีการรายงานให้ผู้บริหารทราบทั้งหมด 176 ครั้ง

** ปัญหาของโครงการ :- ไม่สามารถเปิดคลินิกได้ทุกวัน เนื่องจากไม่มีแพทย์ ประจำกลุ่มงานอาชีวเวชกรรม (รพต) - ด้วยสถานการณ์โควิด19 ทำให้การคัดกรองผู้ที่ได้รับผลกระทบทางมลพิษทางอากาศ มีจำนวนลดลง (รพท) - โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร ยังขาดบุคลากรที่มีความรู้ด้านอาชีวอนามัย

** อุปสรรคของโครงการ :- ไม่สามารถเปิดคลินิกได้ทุกวัน เนื่องจากไม่มีแพทย์ ประจำกลุ่มงานอาชีวเวชกรรม (รพต) - ด้วยสถานการณ์โควิด19 ทำให้การคัดกรองผู้ที่ได้รับผลกระทบทางมลพิษทางอากาศ มีจำนวนลดลง (รพท) - โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร ยังขาดบุคลากรที่มีความรู้ด้านอาชีวอนามัย

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2020-12-25)

20.00

25/12/2563 : ผลการดำเนินงานประจำเดือนธันวาคม มีดังนี้ 1) โรงพยาบาลกลาง : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 2 ครั้ง 1. จัดทำโครงการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนที่เกิดจากมลพิษทางอากาศ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 2. ปรับปรุง และพัฒนาแบบฟอร์มการซักประวัติ อาการ/โรคจากการสัมผัสสิ่งแวดล้อม และระบบรายงานข้อมูลสุขภาพจากปัญหามลพิษทางอากาศ 3. ประชาสัมพันธ์ และรายงานข้อมูลสถานการณ์คุณภาพอากาศประจำวัน ผ่านช่องทาง Facebook PR รพ.กลาง 4. เปิดให้บริการคลินิกมลพิษทางอากาศ ทุกวันพฤหัสบดี เวลา 13.00 - 15.30 น. ณ ห้องตรวจประกันสุขภาพ ชั้น 2 อาคารอนุสรณ์ 100 ปี โรงพยาบาลกลาง 5. จัดทำรายงานผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ สัปดาห์ที่ 1 (วันที่ 1 - 4 ธันวาคม 2563) และสัปดาห์ที่ 2 (วันที่ 5 - 11 ธันวาคม 2563) รายงานผู้บริหารและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ 6. ประชาสัมพันธ์ข้อมูลความรู้ PM 2.5 ผ่านช่องทาง Facebook PR รพ.กลาง และเสียงตามสาย 2) โรงพยาบาลตากสิน : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 2 ครั้ง 1. ติดตามสถานการณ์ค่าฝุ่น PM2.5 และจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ผ่านทาง social media อย่างต่อเนื่อง 2. รายงานผลการดำเนินการต่อผู้บริหารเพื่อปรับปรุงการบริหารจัดการการให้บริการคลินิกมลพิษทางอากาศสัปดาห์ละ 1 ครั้ง 3) โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 3 ครั้ง เปิดให้บริการคลินิกมลพิษทุกวันพุธ เวลา 13.00-15.00 น. ณ บริเวณกลุ่มงานอาชีวเวชกรรม ชั้น 22 อาคาร 72 พรรษา มหาราชินี (ข้อมูลเดือน ธ.ค. 63) ดำเนินการ ดังนี้ 1. รายงานสถานการณ์คุณภาพอากาศประจำวันให้ประชาชนทราบผ่านช่องทางแอพพลิเคชั่น LINE, FACEBBOK, เสียงตามสาย และบอร์ดประชาสัมพันธ์ 2. ดำเนินการร่วมกับคลินิกอายุรกรรม ในการตรวจคัดกรองและส่งต่อผู้ป่วยสงสัยโรคจากการสัมผัสมลพิษทางอากาศมายัง คลินิกมลพิษ เพื่อเฝ้าระวังและติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง 3. จัดทำแผ่นพับเรื่องฝุ่น PM2.5 พร้อมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบข้อมูลข่าวสาร 4) โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 9 ครั้ง ดำเนินการกิจกรรมเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพของประขาชนที่เกิดจากมลพิษทางอากาศ มีการให้ความรู้ประชาชนในคลีนิกอายุรกรรมทุกวัน และมีการคัดกรองโดยใช้แบบสอบถาม หากพบประชาชนที่อยู่ในเกณฑ์เสี่ยง จะส่งปรึกษาคลีนิกอาชีวเวชกรรม มีการติดตามรายงานค่าฝุ่นละออง PM2.5 และคุณภาพอากาศอย่างต่อเนื่องรายงานผลการดำเนินงานให้ผู้บริหารทราบ 5) โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ : รายงานให้ผู้บริหารทราบ ครั้ง ดำเนินการเฝ้าระวังผู้มีความเสี่ยงและติดตามสุขภาพของผู้ที่ได้รับผลกระทบจากมลพิษ 6) โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร : รายงานให้ผู้บริหารทราบ ครั้ง โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานครได้ดำเนินการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนที่เกิดจากมลพิษทางอากาศโดยคัดกรอง ให้ความรู้ และคำแนะนำในการดูแลสุขภาพแก่ผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกอายุรกรรม 7) โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 3 ครั้ง 1.จัดทำโครงการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนที่เกิดจากมลพิษทางอากาศ ปีงบประมาณ 2564 2.ประชาสัมพันธ์และรายงานข้อมูลสถานการณ์คุณภาพอากาศประจำวันผ่านช่องทาง face book รพ.ราชพิพัฒน์ 3.ประชาสัมพันธ์ข้อมูลความรู้ PM 2.5 ผ่านช่องทาง Face book รพ.ราชพิพัฒน์และการสอนสุขศึกษาประจำคลินิกอายุรกรรม คลินิกสุขใจสูงวัยประคับประคอง 4.จัดทำรายงานผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ และรายงานผู้บริหารอละหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ 8) โรงพยาบาลสิรินธร : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 2 ครั้ง 1.รายงานผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนที่เกิดจากมลพิษทางอากาศ 2.รายงานสถานการณ์มลพิษทางอากาศประจำวันผ่านสื่อ social media 3.ให้คำแนะนำในการดูแลตนเองตามผลคุณภาพอากาศประจำวัน 9) โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 0 ครั้ง มีการจัดตั้งป้ายแจ้งเตือนค่าฝุ่น PM2.5 ในแต่ละวันที่จุดคัดกรองผู้ป่วย 10) โรงพยาบาลคลองสามวา : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 1 ครั้ง ขั้นตอนที่ 1 ติดตามสถานการณ์ค่าระดับฝุ่นละออง PM 2.5 ในพื้นที่เขตคลองสามวา ขั้นตอนที่ 2 เปิดให้บริการคลินิกเพื่อแยกตรวจโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ 11) โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร : รายงานให้ผู้บริหารทราบ 2 ครั้ง - ดำเนินการให้บริการแก่ผู้มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจ และให้ความ รู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการป้องกันมลพิษทางอากาศในผู้รับบริการที่เป็นกลุ่มเสี่ยง - ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพ เฝ้า ระวังผลกระทบจากมลพิษทางอากาศแก่กลุ่มเสี่ยง โดยการ ให้ความรู้เรื่องฝุ่น PM2.5 ที่เขตบางนา และแจกหน้ากากป้องกัน PM2.5 เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2563

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2020-11-26)

5.00

26/11/2563 : มีผู้รับผิดชอบดำเนินการทั้งหมด 11 โรงพยาบาล ดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง : ติดตามสถานการณ์ระดับฝุ่นละออง PM 2.5 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางปฏิบัติ โดยกลุ่มงานอาชีวเวชกรรมวางแผนการดำเนินงานเพื่อเปิดคลินิกมลพิษทางอากาศในช่วงสถานการณ์ค่าระดับฝุ่นละออง PM 2.5 มีค่าระดับเกินมาตรฐานที่มีผลกระทบต่อสุขภาพประชาชน โดยติดตามสถานการณ์ค่าระดับฝุ่นละออง PM 2.5 และคุณภาพอากาศอย่างต่อเนื่อง เตรียมจัดทำสื่อแจ้งเตือน ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไปทราบและแนะนำการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยในช่วงระดับค่าฝุ่นละออง PM 2.5 เกินมาตรฐาน และรายงานผลการดำเนินงานให้ผู้บริหารทราบ 2. โรงพยาบาลตากสิน : กลุ่มงานอาชีวเวชกรรมวางแผนการดำเนินงานเพื่อจัดตั้งคลินิกมลพิษทางอากาศ เปิดให้บริการทุกวันจันทร์และพฤหัส เวลา 08.00 - 12.00 น. เตรียมการประสานงานไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อคัดกรอง ส่งต่อและเฝ้าระวังผู้ป่วยที่ได้รับผลกระทบมลพิษทางอากาศ PM 2.5 พร้อมทั้งติดตามสถานการณ์ค่าระดับฝุ่นละออง PM 2.5 และคุณภาพอากาศอย่างต่อเนื่อง เตรียมจัดทำสื่อแจ้งเตือน ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไปทราบและแนะนำการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยในช่วงระดับค่าฝุ่นละออง PM 2.5 เกินมาตรฐาน และรายงานผลการดำเนินงานให้ผู้บริหารทราบ 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ : ดำเนินการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนที่เกิดจากมลพิษทางอากาศใน รพจ. และรายงานผลกระทบต่อสุขภาพให้ผู้บริหาร รพจ. รับทราบ 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ : ดำเนินการกิจกรรมพัฒนาระบบการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนที่เกิดจากมลพิษทางอากาศ เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนกลุ่มงาน ผลการดำเนินงาน ระหว่างเดือนตุลาคม - 15 พฤศจิกายน 2563 ดำเนินการทำสื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ในการป้องกันตัวเอง และจัดทำบอร์ดรายงานค่าฝุ่นละออง PM2.5 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ : จัดทำกิจกรรมและขั้นตอนการปฏิบัติงานของกิจกรรมนำเสนอผู้บริหาร 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร : 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ : อยู่ระหว่างการเตรียมจัดประชุมแบ่งตัวชี้วัดแผนปฏิบัติราชการ 2564 8. โรงพยาบาลสิรินธร : ติดตามสถานการณ์ระดับฝุ่นละออง PM 2.5 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่ผู้มารับบริการเกี่ยวกับเรื่องฝุ่นละออง PM 2.5 9. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน : ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันมลพิษทางอากาศ วางแผนจัดตั้งคลินิกมลพิษทางอากาศ มีการเฝ้าระวังผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่เกิดโรคทางเดินหายใจจากภาวะมลพิษทางอากาศ 10. โรงพยาบาลคลองสามวา : ขั้นตอนที่ 1 ติดตามสถานการณ์ค่าระดับฝุ่นละออง PM 2.5 ในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานคร ขั้นตอนที่2 เปิดให้บริการคลินิกมลพิษทางอากาศ ขั้นตอนที่ 3 รายงานสถานการณ์ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศให้ผู้บริหารทราบเป็นรายสัปดาห์ 11. โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร : ดำเนินการให้บริการแก่ผู้มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจ และให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการป้องกันมลพิษทางอากาศในผู้รับบริการที่เป็นกลุ่มเสี่ยงและประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพ เฝ้าระวังผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ อาทิ แจกหน้ากากป้องกัน PM2.5 หรือ N95 หรือประชาสัมพันธ์สื่อทาง Website Facebook เป็นต้น

** ปัญหาของโครงการ :- ในช่วงที่ผ่านมาค่าระดับฝุ่นละออง PM 2.5 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครยังไม่เกินมาตรฐาน จึงยังไม่มีการรายงาน (รพก.) - ในช่วงที่ผ่านมาค่าระดับฝุ่นละออง PM 2.5 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครยังไม่เกินมาตรฐาน จึงยังไม่มีการรายงาน (รพต.) - ไม่มีปริมาณค่าฝุ่นลดลงต่ำกว่าเกณฑ์ และพื้นที่อยู่ใน Green zone (รพค.) - ช่วงนี้เกิดการระบาดโควิด-19 ทำให้การคัดกรองการเฝ้าระวังมลพิษทางอาการไม่ชัดเจน (รพบ.)

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2020-10-28)

5.00

28/10/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...จัดทำแผนรายละเอียดโครงการและแผนการดำเนินงานนำเสนอต่อผู้บริหาร

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:จัดทำรายละเอียดโครงการและแผนการดำเนินงานนำเสนอต่อผู้บริหาร
:5.00%
เริ่มต้น :2020-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2020-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:ประชุมปรึกษาหารือผู้เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางการดำเนินงานและจัดทำแผนปฏิบัติงาน
:5.00%
เริ่มต้น :2020-11-01 00:00:00
สิ้นสุด :2020-11-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:ดำเนินการปรับปรุงและพัฒนาแบบฟอร์มการคัดกรองสุขภาพ และระบบรายงานข้อมูลสุขภาพจากปัญหามลพิษ
:5.00%
เริ่มต้น :2020-11-01 00:00:00
สิ้นสุด :2020-11-01 00:00:00
ขั้นตอน 4
:ดำเนินการประชาสัมพันธ์และรายงานข้อมูลสถานการณ์คุณภาพอากาศประจำวันผ่านช่องทางต่างๆ ที่เหมาะสม
:10.00%
เริ่มต้น :2020-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2020-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 5
:ดำเนินการเปิดให้บริการคลินิกมลพิษทางอากาศ คลินิกโรคอายุรกรรม และคลินิกอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องแก่ผู้มารับบริการที่มีปัญหาสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ พร้อมเก็บรวบรวมสถิติข้อมูล
:35.00%
เริ่มต้น :2020-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2020-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 6
:ดำเนินการจัดทำรายงานสรุปข้อมูลผู้มีปัญหาสุขภาพจากมลพิษอากาศ (ในวันที่มีความเสี่ยงสูงค่า PM 2.5 > 50 มก./ลบม.) พร้อมรายงานผู้บริหารและหน่วยงานเกี่ยวข้องทราบ
:20.00%
เริ่มต้น :2020-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2020-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 7
:ดำเนินการประชาสัมพันธ์และรณรงค์ให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพ จากการเฝ้าระวังผลกระทบมลพิษทางอากาศ อาทิ แจกหน้ากากป้องกัน PM 2.5 หรือประชาสัมพันธ์ข้อมูลผ่านสื่อต่างๆ เช่น เสียงตามสาย Website Facebook เป็นต้น
:10.00%
เริ่มต้น :2020-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2020-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 8
:ดำเนินการรายงานผลความคืบหน้าในการดำเนินงานโครงการทุกๆ ไตรมาส
:5.00%
เริ่มต้น :2020-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2020-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 9
:ดำเนินการติดตาม ประเมินผล และสรุปผลโครงการ พร้อมนำเสนอที่ประชุมคณะทำงาน และคณะผู้บริหาร
:5.00%
เริ่มต้น :2021-09-01 00:00:00
สิ้นสุด :2021-09-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 07000000-3671

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 07000000-3671

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 0700-819

ตัวชี้วัด : ร้อยละของการรายงานผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 50

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
22.22

100 / 100
2
100.00

0 / 0
3
100.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **