ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

โครงการก่อสร้างทางลอดถนนจรัญสนิทวงศ์กับถนนพรานนก : 10000000-4042

สํานักการโยธา : (2563)

67.3

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 67.3

นายมนูศักดิ์ บินยะฟัล

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 3 100

หลักการและเหตุผล

โครงการก่อสร้างทางลอดถนนจรัญสนิทวงศ์กับถนนพรานนก เป็นหนึ่งในโครงการแก้ปัญหาจราจรเร่งด่วนระยะกลางของกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีทั้งหมด 8 โครงการ โดยกรุงเทพมหานครได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก(คจร.)ให้เป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการก่อสร้างตามมติที่ประชุมในการประชุมครั้งที่ 1/2547 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2547

10060000/10060000

วัตถุประสงค์ของโครงการ

แก้ไขปัญหาการจราจรบริเวณสามแยกไฟฉาย ลดจุดตัดทางแยก เพิ่มประสิทธิภาพการจราจรบนถนนจรัญสนิทวงศ์ ซึ่งเป็นโครงข่ายถนนวงแหวนรัชดาภิเษกของกรุงเทพมหานคร และรองรับโครงการต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

เป้าหมายของโครงการ

ก่อสร้างทางลอดรถยนต์ขนาด 2 ช่องจราจร ในพื้นที่เขตบางกอกน้อยบริเวณแยกไฟฉายในแนวถนนจรัญสนิทวงศ์ ความยาวโครงการ 1250 เมตร ความยาวทางลอดประมาณ 600 เมตร กว้าง 10.60 เมตร พร้อมงานระบบทางลอด งานระบบระบายน้ำ ป้ายและเครื่องหมายจราจร งานปรับปรุงถนนและทางลอด งานระบบระบายน้ำ ป้ายและเครื่องหมายจราจร งานปรับปรุงถนนและทางแยกเดิม รวมทั้งงานประกอบอื่น ๆ เป็าหมาย ร้อยละ 80

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
๒.๓ - ระบบขนส่งมวลชนทั่วถึง สะดวกประหยัด การจราจรคล่องตัวและมีทางเลือก
๒.๓.๒ การจราจรมีความคล่องตัวไม่แออัด%
๒.๓.๒.๑ เพิ่มประสิทธิภาพโครงข่ายถนนในกรุงเทพมหานคร

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 67.30 (2020-09-25)

67.30

25/9/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...-งานขุดดินปรับระดับ เตรียมเท lean concrete ตัดเสาเข็มโครงสร้างช่วง Transition

** ปัญหาของโครงการ :1.พื้นที่ก่อสร้างทับซ้อนกับโครงการรถไฟฟ้าของ รฟม. ต้องหยุดการก่อสร้างทางลอดให้รถไฟฟ้าดาเนินการก่อน -ปัจจุบันรถไฟฟ้าก่อสร้างเสร็จและสามารถเริ่มดาเนินการก่อสร้างทางลอดต่อได้ ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2563 2. การก่อสร้างทางลอดภายหลังรถไฟฟ้าเสร็จ ต้องมีการป้องกันโครงสร้างรถไฟฟ้าให้มีความปลอดภัยตามที่ รฟม.กำหนด -ได้มีการเปลี่ยนแปลงขั้นตอน วิธีการก่อสร้างทางลอดใหม่ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยกับโครงสร้างรถไฟฟ้า (ได้ข้อยุติเรื่องวิธีป้องกันโครงสร้างรถไฟฟ้าในเบื้องต้นกับรฟม.แล้ว)

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 67.25 (2020-08-21)

67.25

21/8/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... -งานเจาะเสาเข็ม Transition จำนวน 9 ต้น (รวมเจาะแล้วเสร็จ 136/150 ต้น)

** ปัญหาของโครงการ :1.พื้นที่ก่อสร้างทับซ้อนกับโครงการรถไฟฟ้าของ รฟม. ต้องหยุดการก่อสร้างทางลอดให้รถไฟฟ้าดาเนินการก่อน -ปัจจุบันรถไฟฟ้าก่อสร้างเสร็จและสามารถเริ่มดาเนินการก่อสร้างทางลอดต่อได้ ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2563 2. การก่อสร้างทางลอดภายหลังรถไฟฟ้าเสร็จ ต้องมีการป้องกันโครงสร้างรถไฟฟ้าให้มีความปลอดภัยตามที่ รฟม.กำหนด -ได้มีการเปลี่ยนแปลงขั้นตอน วิธีการก่อสร้างทางลอดใหม่ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยกับโครงสร้างรถไฟฟ้า (ได้ข้อยุติเรื่องวิธีป้องกันโครงสร้างรถไฟฟ้าในเบื้องต้นกับรฟม.แล้ว อยู่ระหว่างผู้รับจ้างจัดทำแผนระยะเวลาก่อสร้าง เมื่อแล้วเสร็จจะได้มีการประชุมกับ รฟม.ประมาณสิ้นเดือนสิงหาคม 2563

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 67.00 (2020-07-21)

67.00

21/7/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...-งานทาสี Barrier (งานเจาะเสาเข็ม Transition จะย้ายเครื่องจักรเข้าหน้างานวันพุธ ที่ 22 ก.ค 63)

** ปัญหาของโครงการ :1.พื้นที่ก่อสร้างทับซ้อนกับโครงการรถไฟฟ้าของ รฟม. ต้องหยุดการก่อสร้างทางลอดให้รถไฟฟ้าดาเนินการก่อน -ปัจจุบันรถไฟฟ้าก่อสร้างเสร็จและสามารถเริ่มดาเนินการก่อสร้างทางลอดต่อได้ ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2563 2. การก่อสร้างทางลอดภายหลังรถไฟฟ้าเสร็จ ต้องมีการป้องกันโครงสร้างรถไฟฟ้าให้มีความปลอดภัยตามที่ รฟม.กำหนด -ได้มีการเปลี่ยนแปลงขั้นตอน วิธีการก่อสร้างทางลอดใหม่ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยกับโครงสร้างรถไฟฟ้า (อยู่ระหว่างจัดทาขั้นตอนการก่อสร้าง คาดว่าจะแล้วเสร็จ 31 กรกฎาคม 2563

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 67.00 (2020-07-13)

67.00

13/07/2563 : งานเตรียมโครงเหล็กติดแผงผ้าใบ Barrier

** ปัญหาของโครงการ :1. โครงการก่อสร้างทางลอดถนนจรัญสนิทวงศ์กับถนนพรานนกมีพื้นที่ทับซ้อนและมีโครงสร้างที่ต่อเนื่องกับโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินของ รฟม. 2.การก่อสร้างทางลอดภายหลังโครงสร้างรถไฟฟ้าแล้วเสร็จบริเวณโซน 4 และโซน 5 จะต้องมีการเพิ่มขั้นตอนและวิธีการก่อสร้างไปจากเดิมและมีค่าก่อสร้างเพิ่มขึ้นเพื่อป้องกันโครงสร้างเดิมไม่ให้เกิดการเคลื่อนตัว

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 67.00 (2020-06-08)

67.00

8/6/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... - ก่อสร้างโครงสร้างผนังและพื้นทางลอด -ก่อสร้างถนนระดับราบบริเวณแยกไฟฉาย - ก่อสร้างห้องควบคุม - ก่อสร้างสะพานลอย

** ปัญหาของโครงการ :- งานก่อสร้างโครงสร้างของทางลอดฯ มีพื้นที่ทับซ้อนและมีโครงสร้างที่ต่อเนื่องกับโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (จึงได้ชะลองานในส่วนพื้นที่ทับซ้อนเพื่อให้ รฟม.เร่งดำเนินการก่อสร้างรางและสถานีรถไฟฟ้าแยกไฟฉาย เพื่อให้สามารถเปิดเดินรถทันตามกำหนดปัจจุบัน รฟม.ก่อสร้างแล้วเสร็จและส่งมอบพื้นที่คืน กทม.แล้ว - การก่อสร้างทางลอดภายหลังโครงสร้างรถไฟฟ้าแล้วเสร็จ บริเวณโซน 4 และโซน 5 จะต้องมีการเพิ่มขั้นตอนและวิธีการก่อสร้างไปจากเดิมและมีค่าก่อสร้างเพิ่มขึ้น เพื่อป้องกันโครงสร้างเดิม ไม่ให้เกิดการเคลื่อนตัว( รฟม.จะเป็นผู้กำหนดรูปแบบและขั้นตอนดำเนินการและออกค่าใช้จ่ายเอง) - ปัจจุบันอยู่ระหว่างขออนุมัติต่ออายุสัญญา

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 67.00 (2020-05-12)

67.00

12/5/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...- ก่อสร้างโครงสร้างผนังและพื้นทางลอดก่อสร้างถนนระดับราบบริเวณแยกไฟฉาย - ก่อสร้างห้องควบคุม - ก่อสร้างสะพานลอย

** ปัญหาของโครงการ :- งานก่อสร้างโครงสร้างของทางลอดฯ มีพื้นที่ทับซ้อนและมีโครงสร้างที่ต่อเนื่องกับโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (จึงได้ชะลองานในส่วนพื้นที่ทับซ้อนเพื่อให้ รฟม.เร่งดำเนินการก่อสร้างรางและสถานีรถไฟฟ้าแยกไฟฉาย เพื่อให้สามารถเปิดเดินรถทันตามกำหนด ปัจจุบัน รฟม.ก่อสร้างแล้วเสร็จและส่งมอบพื้นที่คืน กทม.แล้ว - การก่อสร้างทางลอดภายหลังโครงสร้างรถไฟฟ้าแล้วเสร็จ บริเวณโซน 4 และโซน 5 จะต้องมีการเพิ่มขั้นตอนและวิธีการก่อสร้างไปจากเดิมและมีค่าก่อสร้างเพิ่มขึ้น เพื่อป้องกันโครงสร้างเดิม ไม่ให้เกิดการเคลื่อนตัว( รฟม.จะเป็นผู้กำหนดรูปแบบและขั้นตอนดำเนินการและออกค่าใช้จ่ายเอง) - ปัจจุบันอยู่ระหว่างขออนุมัติต่ออายุสัญญา

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 67.00 (2020-04-07)

67.00

7/4/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... - ก่อสร้างโครงสร้างผนังและพื้นทางลอด ก่อสร้างถนนระดับราบบริเวณแยกไฟฉาย - ก่อสร้างห้องควบคุม - ก่อสร้างสะพานลอย

** ปัญหาของโครงการ :-- งานก่อสร้างโครงสร้างของทางลอดฯ มีพื้นที่ทับซ้อนและมีโครงสร้างที่ต่อเนื่องกับโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (จึงได้ชะลองานในส่วนพื้นที่ทับซ้อนเพื่อให้ รฟม.เร่งดำเนินการก่อสร้างรางและสถานีรถไฟฟ้าแยกไฟฉาย เพื่อให้สามารถเปิดเดินรถทันตามกำหนดปัจจุบัน รฟม.ก่อสร้างแล้วเสร็จและส่งมอบพื้นที่คืน กทม.แล้ว - การก่อสร้างทางลอดภายหลังโครงสร้างรถไฟฟ้าแล้วเสร็จ บริเวณโซน 4 และโซน 5 จะต้องมีการเพิ่มขั้นตอนและวิธีการก่อสร้างไปจากเดิมและมีค่าก่อสร้างเพิ่มขึ้น เพื่อป้องกันโครงสร้างเดิม ไม่ให้เกิดการเคลื่อนตัว( รฟม.จะเป็นผู้กำหนดรูปแบบและขั้นตอนดำเนินการและออกค่าใช้จ่ายเอง) - ปัจจุบันอยู่ระหว่างขออนุมัติต่ออายุสัญญา

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 67.00 (2020-03-10)

67.00

10/3/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...- ก่อสร้างโครงสร้างผนังและพื้นทางลอด ก่อสร้างถนนระดับราบบริเวณแยกไฟฉาย - ก่อสร้างห้องควบคุม - ก่อสร้างสะพานลอย

** ปัญหาของโครงการ : งานก่อสร้างโครงสร้างของทางลอดฯ ต้องก่อสร้างร่วมกับโครงการรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) ซึ่งเป็นนโยบายของรัฐบาล เนื่องจากใช้โครงสร้างที่ต่อเนื่องกันและอยู่ในพื้นที่เดียวกันจึงต้องมีการปรับแผนงานก่อสร้างให้สอดคล้องกัน

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 67.00 (2020-02-05)

67.00

5/2/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... - ก่อสร้างโครงสร้างผนังและพื้นทางลอดก่อสร้างถนนระดับราบบริเวณแยกไฟฉาย - ก่อสร้างห้องควบคุม - ก่อสร้างสะพานลอย

** ปัญหาของโครงการ :- งานก่อสร้างโครงสร้างของทางลอดฯ ต้องก่อสร้างร่วมกับโครงการรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) ซึ่งเป็นนโยบายของรัฐบาล เนื่องจากใช้โครงสร้างที่ต่อเนื่องกันและอยู่ในพื้นที่เดียวกันจึงต้องมีการปรับแผนงานก่อสร้างให้สอดคล้องกัน

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 67.00 (2020-01-13)

67.00

13/1/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...- ก่อสร้างโครงสร้างผนังและพื้นทางลอด ก่อสร้างถนนระดับราบบริเวณแยกไฟฉาย - ก่อสร้างห้องควบคุม- ก่อสร้างสะพานลอย

** ปัญหาของโครงการ :- งานก่อสร้างโครงสร้างของทางลอดฯ ต้องก่อสร้างร่วมกับโครงการรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) ซึ่งเป็นนโยบายของรัฐบาล เนื่องจากใช้โครงสร้างที่ต่อเนื่องกันและอยู่ในพื้นที่เดียวกัน จึงต้องมีการปรับแผนงานก่อสร้างให้สอดคล้องกัน

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 67.00 (2019-12-09)

67.00

9/12/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...- ก่อสร้างโครงสร้างผนังและพื้นทางลอดก่อสร้างถนนระดับราบบริเวณแยกไฟฉาย - ก่อสร้างห้องควบคุม - ก่อสร้างสะพานลอย

** ปัญหาของโครงการ :- งานก่อสร้างโครงสร้างของทางลอดฯ ต้องก่อสร้างร่วมกับโครงการรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) ซึ่งเป็นนโยบายของรัฐบาล เนื่องจากใช้โครงสร้างที่ต่อเนื่องกันและอยู่ในพื้นที่เดียวกันจึงต้องมีการปรับแผนงานก่อสร้างให้สอดคล้องกัน

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 67.00 (2019-11-11)

67.00

11/11/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...- ก่อสร้างโครงสร้างผนังและพื้นทางลอดก่อสร้างถนนระดับราบบริเวณแยกไฟฉาย - ก่อสร้างห้องควบคุม - ก่อสร้างสะพานลอย

** ปัญหาของโครงการ :- งานก่อสร้างโครงสร้างของทางลอดฯ ต้องก่อสร้างร่วมกับโครงการรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) ซึ่งเป็นนโยบายของรัฐบาล เนื่องจากใช้โครงสร้างที่ต่อเนื่องกันและอยู่ในพื้นที่เดียวกันจึงต้องมีการปรับแผนงานก่อสร้างให้สอดคล้องกัน

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(13) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 67.00 (2019-10-09)

67.00

9/10/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...- ก่อสร้างโครงสร้างผนังและพื้นทางลอดก่อสร้างถนนระดับราบบริเวณแยกไฟฉาย - ก่อสร้างห้องควบคุม - ก่อสร้างสะพานลอย

** ปัญหาของโครงการ :- งานก่อสร้างโครงสร้างของทางลอดฯ ต้องก่อสร้างร่วมกับโครงการรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) ซึ่งเป็นนโยบายของรัฐบาล เนื่องจากใช้โครงสร้างที่ต่อเนื่องกันและอยู่ในพื้นที่เดียวกันจึงต้องมีการปรับแผนงานก่อสร้างให้สอดคล้องกัน

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:งานจัดการจราจร ความปลอดภัยและป้องกันมลภาวะระหว่างการก่อสร้าง
:4.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:งานผิวจราจร
:4.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:งานเสาเข็มและผนังพืด
:57.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 4
:งานโครงสร้างทางลอด
:15.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 5
:งานโครงสร้างส่วนอื่นๆ
:8.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 6
:งานระบบระบายน้ำ
:0.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 7
:งานคันหิน ทางเท้า เกาะกลาง
:1.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 8
:ปรับปรุงส่วนอื่นๆให้สมบูรณ์
:1.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 9
:งานระบบสำหรับทางลอด
:6.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 10
:งานขยายขอบเขตการก่อสร้างในถนนพุทธมณฑลสาย 4
:3.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 10000000-4042

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 10000000-4042

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 1000-0962

ตัวชี้วัด : 15. ร้อยละความสำเร็จของโครงการเพิ่มประสิทธิภาพถนนที่มีอยู่เดิม

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 59.92

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
23.57

100 / 100
2
31.84

100 / 100
3
34.11

100 / 100
4
59.92

100 / 100

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **