ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
นางสาวกาญจนา นนทวงค์
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 3
ด้วยกรุงเทพมหานคร มีแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2561 ด้านที่ 1 มหานครปลอดภัย มิติที่ 1.6 ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย เป้าหมายที่ 1.6.5 ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัย ปราศจากเชื้อและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เป้าประสงค์ที่ 1.6.5.1 ควบคุมกำกับดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ สำนักงานเขตคันนายาว จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย เพื่อสนุบสนุนแผนยุทธศาาสตร์ และสนับสนุนให้ประชาชน นักท่องเที่ยว ได้รับการคุ้มครองทางสุขภาพ จากการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย
50430400/50430400
1. ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้ประกอบการด้านอาหารมีความรู้ ความเข้าใจ ในการปฏิบัติตามหลักการสุขาภิบาลอาหาร และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2. เพื่อให้มีการตรวจสอบและเฝ้าระวังการปนเปื้อนของเชื้แโรค และสารพิษในอาหารและน้ำ 3. เพื่อกระตุ้นให้ผู้ประกอบการด้านอาหารเกิดจิตสำนึกและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารที่สะอาด ปลอดภัย มีความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค 4. เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับทราบข้อมูลข่าวสาร และมีความรู้ ความเข้าใจ มีทางเลือกในการซื้ออาหารที่ปลอดภัย 5. เพื่อปรับปรุงมาตรฐานด้านสุขลักษณะสถานที่ของสถานประกอบการด้านอาหาร 6. เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และสร้างความมั่นใจให้กับประชาชนในการบริโภคิาหารที่สะอาดปลอดภัย
1. ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 100 2. ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ ร้อยละ 100 3. ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค ร้อยละ 95
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน% |
๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2021-09-23)
23/09/2564 : ดำเนินการแล้วเสร็จ
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2021-08-25)
25/08/2564 : ทำการตรวจประเมิน และต่อป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยเรียบร้อยแล้วค่ะ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2021-07-23)
23/07/2564 : กำลังดำเนินการตรวจประเมินสถานที่จำหน่ายอาหารและต่ออายุป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 81.00 (2021-06-22)
22/06/2564 :
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 76.00 (2021-05-27)
27/05/2564 : ดำเนินการตรวจประเมินสถานประกอบการด้านสุขลักษณะสถานที่ ด้านความปลอดภัยของอาหาร และด้านสุขวิทยาส่วนบุคคล จำนวน 272 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 76 ได้ส่งเสริมให้สถานประกอบการมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ได้รับป้ายรับรอง 261 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 73.31 (ป้ายรับรองที่หมดอายุและทำการขอต่อประเภทสถานประกอบการสะสมอาหาร (มินิมาร์ท) จำนวน 10 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 3.83) ขอรับป้ายรับรองใหม่ จำนวน 10 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 3.09
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 65.00 (2021-04-27)
27/04/2564 : ตรวจดำเนินกิจการสถานที่จำหน่ายอาหารและสะสมอาหารในพื้นที่เขตคันนายาว จำนวนทั้งหมด 345 แห่ง ได้ดำเนินการตรวจไปแล้ว 224 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 65 แห่ง
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 58.00 (2021-03-25)
25/03/2564 : ได้ดำเนินการตรวจประเมินสถานประกอบการในพื้นที่เขตคันนายาว จำนวนทั้งหมด 345 ร้าน ตรวจประเมินไปทั้งหมด 204 ร้าน
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 46.00 (2021-02-22)
22/02/2564 : สถานประกอบการทั้งหมด 335 แห่ง ดำเนินการตรวจประเมินด้านสุขลักษณะสถานที่และคุณภาพอาหาร ทั้งสิ้น 155 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 46
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 39.00 (2021-01-25)
25/01/2564 : 1. ทำการตรวจประเมินยกระดับมาตรฐานสถานประกอบการด้านอาหารปลอดภัย ของสถานประกอบการในพื้นที่เขตคันนายาว ทั้งสิ้น 330 แห่ง และได้ทำการตรวจประเมินด้านสุขลักษณะและคุณภาพอาหาร จำนวน 130 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 39 2. ได้ดำเนินการเบิกค่าตัวอย่างอาหาร ตามโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ของเดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม 2563 จำนวน 2 เดือน เดือนละ 4000 บาท รวมเป็นเงิน 8000 บาท 3. ได้ดำเนินการเบิกค่าตัวอย่างอาหาร ในหมวดรายจ่าย ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ ของเดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม 2563 จำนวน 2 เดือน เดือนละ 4380 บาท รวมเป็นเงิน 8760 บาท
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2020-12-22)
22/12/2563 : กำลังดำเนินการตรวจประเมินสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ในพื้นที่เขตคันนายาวในรายที่ได้รับใบอนุญาต และตรวจประเมินร้านอาหารที่ไม่ได้รับใบอนุญาตในพื้นที่เขตคันนายาว
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 25.00 (2020-11-25)
25/11/2563 : อยู่ระหว่างตรวจประเมินสถานประกอบการจำนนทั้งหมด 298 ร้าน และกำบังดำเนินการขออนุมัติเบิกค่าใช้งานค่าตอบแทนและนอกเวลาราชการ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2020-10-26)
26/10/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...จัดทำแผนปฏิบัติงานในสถานที่เป้าหมาย ได้แก่ จำหน่ายอาหาร สะสมอาหาร และตลาด
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **