๑.๑.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพผู้ติดเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพที่มีมาตรฐานแ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :50.00 ผลงาน :100.00 |
การรายงานผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ ประกอบด้วย กลุ่มอาการที่เกิดจากผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ ได้แก่ โรคทางเดินหายใจ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคตา โรคผิวหนัง โรคมะเร็ง ที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจหรือคลินิกอายุรกรรมหรือคลินิกเวชกรรม ในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ และมีการรายงานสถานการณ์ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศในช่วงที่มีค่าระดับฝุ่นละออง (PM 2.5 ) ในพื้นที่กรุงเทพมหานครเกินเกณฑ์มาตรฐาน และรายงานผู้บริหาร โรงพยาบาลและหรือผู้บริหารสำนักการแพทย์ เป็นรายสัปดาห์ ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2563 – 31 มีนาคม 2564 โดยโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ได้ดำเนินการดังนี้ โดยมีผลการดำเนินการดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง รพก. ดำเนินการจัดตั้งคลินิกมลพิษเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงจากมลพิษทางอากาศ ณ ชั้น 2 อาคาร อาคารอนุสรณ์ 100 ปี และติดตามสถานการณ์ระดับฝุ่นละออง PM 2.5 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางปฏิบัติ โดยกลุ่มงานอาชีวเวชกรรมวางแผนการดำเนินงานเพื่อเปิดคลินิกมลพิษทางอากาศในช่วงสถานการณ์ค่าระดับฝุ่นละออง PM 2.5 มีค่าระดับเกินมาตรฐานที่มีผลกระทบต่อสุขภาพประชาชน โดยติดตามสถานการณ์ค่าระดับฝุ่นละออง PM 2.5 และคุณภาพอากาศอย่างต่อเนื่อง เตรียมจัดทำสื่อแจ้งเตือน ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไปทราบและแนะนำการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยในช่วงระดับค่าฝุ่นละออง PM 2.5 เกินมาตรฐาน 2. โรงพยาบาลตากสิน กลุ่มงานอาชีวเวชกรรมวางแผนการดำเนินงานเพื่อจัดตั้งคลินิกมลพิษทางอากาศ เปิดให้บริการทุกวันจันทร์และพฤหัส เวลา 08.00 - 12.00 น. ซึ่งมีการดำเนินการดังนี้ 1. ติดตามสถานการณ์ค่าฝุ่น PM2.5 และจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ผ่านทาง social media อย่างต่อเนื่อง 2. รายงานผลการดำเนินการต่อผู้บริหารเพื่อปรับปรุงการบริหารจัดการการให้บริการคลินิกมลพิษทางอากาศสัปดาห์ละ 1 ครั้ง 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ รพจ. ดำเนินการจัดตั้งคลินิกมลพิษเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงจากมลพิษทางอากาศ ณ ชั้น 22 อาคาร 72 พรรษา มหาราชินี ซึ่งมีการดำเนินงานดังนี้ 1. รายงานสถานการณ์คุณภาพอากาศประจำวันให้ประชาชนทราบผ่านช่องทางแอพพลิเคชั่น LINE, FACEBBOK, เสียงตามสาย และบอร์ดประชาสัมพันธ์ 2. ดำเนินการร่วมกับคลินิกอายุรกรรม ในการตรวจคัดกรองและส่งต่อผู้ป่วยสงสัยโรคจากการสัมผัสมลพิษทางอากาศมายัง คลินิกมลพิษ เพื่อเฝ้าระวังและติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง 3. จัดทำแผ่นพับเรื่องฝุ่น PM2.5 พร้อมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบข้อมูลข่าวสาร 4.โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ ดำเนินการจัดกิจกรรมให้ความรู้ และคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยงจากมลพิษทางอากาศ ผ่านคลีนิกอายุรกรรมทุกวัน และประชาชนที่อยู่ในเกณฑ์เสี่ยง จะส่งปรึกษาคลีนิกอาชีวเวชกรรม ในวันพฤหัสบดี เวลา 13.00-16.00 น. มีการให้ความรู้ประชาชนในคลีนิกอายุรกรรมทุกวัน และมีการคัดกรองโดยใช้แบบสอบถาม หากพบประชาชนที่อยู่ในเกณฑ์เสี่ยง จะส่งปรึกษาคลีนิกอาชีวเวชกรรม มีการติดตามรายงานค่าฝุ่นละออง PM2.5 และคุณภาพอากาศอย่างต่อเนื่อง 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ดำเนินการประชาสัมพันธ์และความรู้แก่ผู้รับบริการเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ การปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันจากฝุ่น และมลพิษ ดำเนินการเฝ้าระวังผู้มีความเสี่ยงและติดตามสุขภาพของผู้ที่ได้รับผลกระทบจากมลพิษ 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร ดำเนินการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนที่เกิดจากมลพิษทางอากาศโดยคัดกรอง ให้ความรู้ และคำแนะนำในการดูแลสุขภาพแก่ผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกอายุรกรรม 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ ดำเนินการวางแผนเปิดคลินิกมลพิษเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงจากมลพิษทางอากาศในเวลาราชการสัปดาห์ละ 1 วัน โดยดำเนินการดังนี้ 1.จัดทำโครงการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนที่เกิดจากมลพิษทางอากาศ ปีงบประมาณ 2564 2.ประชาสัมพันธ์และรายงานข้อมูลสถานการณ์คุณภาพอากาศประจำวันผ่านช่องทาง face book รพ.ราชพิพัฒน์ 3.ประชาสัมพันธ์ข้อมูลความรู้ PM 2.5 ผ่านช่องทาง Face book รพ.ราชพิพัฒน์และการสอนสุขศึกษาประจำคลินิกอายุรกรรม คลินิกสุขใจสูงวัยประคับประคอง 4.จัดทำรายงานผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ 8. โรงพยาบาลสิรินธร เปิดให้บริการผ่านคลินิกทางเดินหายใจ ทุกวันอังคาร,พุธ,ศุกร์ เวลา 08.00 -12.00 น. โดยจะมีการประชุมหารือเรื่องการเปิดคลินิกเฝ้าระวังมลพิษทางอากาศ และดำเนินการดังนี้ 1.รายงานผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนที่เกิดจากมลพิษทางอากาศ 2.รายงานสถานการณ์มลพิษทางอากาศประจำวันผ่านสื่อ social media 3.ให้คำแนะนำในการดูแลตนเองตามผลคุณภาพอากาศประจำวัน 8. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน อยู่ระหว่างการจัดตั้งคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมและมีการจัดตั้งป้ายแจ้งเตือนค่าฝุ่น PM2.5 ในแต่ละวันที่จุดคัดกรองผู้ป่วย 9. โรงพยาบาลคลองสามวา กิจกรรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันมลพิษทางอากาศในผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจ และดำเนินการดังนี้ 1. ติดตามสถานการณ์ค่าระดับฝุ่นละออง PM 2.5 ในพื้นที่เขตคลองสามวา 2. เปิดให้บริการคลินิกเพื่อแยกตรวจโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ 10.โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร ดำเนินโครงการจัดตั้งคลินิกมลพิษเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงจากมลพิษทางอากาศ – แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานเฝ้าระวังผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ วันที่ 12 ตุลาคม 2563 ตามคำสั่งโรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร ที่ 3/2564 และดำเนินการจัดตั้งคลินิกมลพิษเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงจากมลพิษทางอากาศแล้วเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2563 เริ่มเปิดดำเนินการคลินิกมลพิษ วันที่ 19 ตุลาคม 2563 เป็นต้น โดยโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ได้รายงานสถานการณ์ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศในช่วงที่มีค่าระดับฝุ่นละออง (PM 2.5 ) ในพื้นที่กรุงเทพมหานครเกินเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 4 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 22.22
การรายงานผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ ประกอบด้วย กลุ่มอาการที่เกิดจากผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ ได้แก่ โรคทางเดินหายใจ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคตา โรคผิวหนัง โรคมะเร็ง ที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจหรือคลินิกอายุรกรรมหรือคลินิกเวชกรรม ในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ และมีการรายงานสถานการณ์ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศในช่วงที่มีค่าระดับฝุ่นละออง (PM 2.5 ) ในพื้นที่กรุงเทพมหานครเกินเกณฑ์มาตรฐาน และรายงานผู้บริหาร โรงพยาบาลและหรือผู้บริหารสำนักการแพทย์ เป็นรายสัปดาห์ ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2563 – 31 มีนาคม 2564 รวม 18 สัปดาห์ ในไตรมาสที่ 1 สำนักการแพทย์ได้รายงานสถานการณ์ฝุ่นฯ จำนวน 4 สัปดาห์ คิดเป็น 22.22 ในไตรมาสที่ 2 โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ได้รายงานสถานการณ์ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศในช่วงที่มีค่าระดับฝุ่นละออง (PM 2.5 ) ในพื้นที่กรุงเทพมหานครเกินเกณฑ์มาตรฐาน ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 5 ถึง สัปดาห์ที่ 18 จำนวน 14 สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 100
การรายงานผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ ประกอบด้วย กลุ่มอาการที่เกิดจากผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ ได้แก่ โรคทางเดินหายใจ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคตา โรคผิวหนัง โรคมะเร็ง ที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจหรือคลินิกอายุรกรรมหรือคลินิกเวชกรรม ในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ และมีการรายงานสถานการณ์ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศในช่วงที่มีค่าระดับฝุ่นละออง (PM 2.5 ) ในพื้นที่กรุงเทพมหานครเกินเกณฑ์มาตรฐาน และรายงานผู้บริหาร โรงพยาบาลและหรือผู้บริหารสำนักการแพทย์ เป็นรายสัปดาห์ ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2563 – 31 มีนาคม 2564 รวม 18 สัปดาห์ ในไตรมาสที่ 1 สำนักการแพทย์ได้รายงานสถานการณ์ฝุ่นฯ จำนวน 4 สัปดาห์ คิดเป็น 22.22 ในไตรมาสที่ 2 โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ได้รายงานสถานการณ์ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศในช่วงที่มีค่าระดับฝุ่นละออง (PM 2.5 ) ในพื้นที่กรุงเทพมหานครเกินเกณฑ์มาตรฐาน ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 5 ถึง สัปดาห์ที่ 18 จำนวน 14 สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 100
โดยมีรายงานผู้บริหารโรงพยาบาลหรือสำนักการแพทย์เป็นรายสัปดาห์ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2563 - 31 มีนาคม 2564 จำนวน 18 สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 100
๑.๑.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพผู้ติดเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพที่มีมาตรฐานแ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :50.00 ผลงาน :100.00 |
การรายงานผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ ประกอบด้วย กลุ่มอาการที่เกิดจากผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ ได้แก่ โรคทางเดินหายใจ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคตา โรคผิวหนัง โรคมะเร็ง ที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจหรือคลินิกอายุรกรรมหรือคลินิกเวชกรรม ในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ และมีการรายงานสถานการณ์ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศในช่วงที่มีค่าระดับฝุ่นละออง (PM 2.5 ) ในพื้นที่กรุงเทพมหานครเกินเกณฑ์มาตรฐาน และรายงานผู้บริหาร โรงพยาบาลและหรือผู้บริหารสำนักการแพทย์ เป็นรายสัปดาห์ ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2563 – 31 มีนาคม 2564 โดยโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ได้ดำเนินการดังนี้ โดยมีผลการดำเนินการดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง รพก. ดำเนินการจัดตั้งคลินิกมลพิษเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงจากมลพิษทางอากาศ ณ ชั้น 2 อาคาร อาคารอนุสรณ์ 100 ปี และติดตามสถานการณ์ระดับฝุ่นละออง PM 2.5 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางปฏิบัติ โดยกลุ่มงานอาชีวเวชกรรมวางแผนการดำเนินงานเพื่อเปิดคลินิกมลพิษทางอากาศในช่วงสถานการณ์ค่าระดับฝุ่นละออง PM 2.5 มีค่าระดับเกินมาตรฐานที่มีผลกระทบต่อสุขภาพประชาชน โดยติดตามสถานการณ์ค่าระดับฝุ่นละออง PM 2.5 และคุณภาพอากาศอย่างต่อเนื่อง เตรียมจัดทำสื่อแจ้งเตือน ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไปทราบและแนะนำการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยในช่วงระดับค่าฝุ่นละออง PM 2.5 เกินมาตรฐาน 2. โรงพยาบาลตากสิน กลุ่มงานอาชีวเวชกรรมวางแผนการดำเนินงานเพื่อจัดตั้งคลินิกมลพิษทางอากาศ เปิดให้บริการทุกวันจันทร์และพฤหัส เวลา 08.00 - 12.00 น. ซึ่งมีการดำเนินการดังนี้ 1. ติดตามสถานการณ์ค่าฝุ่น PM2.5 และจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ผ่านทาง social media อย่างต่อเนื่อง 2. รายงานผลการดำเนินการต่อผู้บริหารเพื่อปรับปรุงการบริหารจัดการการให้บริการคลินิกมลพิษทางอากาศสัปดาห์ละ 1 ครั้ง 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ รพจ. ดำเนินการจัดตั้งคลินิกมลพิษเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงจากมลพิษทางอากาศ ณ ชั้น 22 อาคาร 72 พรรษา มหาราชินี ซึ่งมีการดำเนินงานดังนี้ 1. รายงานสถานการณ์คุณภาพอากาศประจำวันให้ประชาชนทราบผ่านช่องทางแอพพลิเคชั่น LINE, FACEBBOK, เสียงตามสาย และบอร์ดประชาสัมพันธ์ 2. ดำเนินการร่วมกับคลินิกอายุรกรรม ในการตรวจคัดกรองและส่งต่อผู้ป่วยสงสัยโรคจากการสัมผัสมลพิษทางอากาศมายัง คลินิกมลพิษ เพื่อเฝ้าระวังและติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง 3. จัดทำแผ่นพับเรื่องฝุ่น PM2.5 พร้อมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบข้อมูลข่าวสาร 4.โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ ดำเนินการจัดกิจกรรมให้ความรู้ และคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยงจากมลพิษทางอากาศ ผ่านคลีนิกอายุรกรรมทุกวัน และประชาชนที่อยู่ในเกณฑ์เสี่ยง จะส่งปรึกษาคลีนิกอาชีวเวชกรรม ในวันพฤหัสบดี เวลา 13.00-16.00 น. มีการให้ความรู้ประชาชนในคลีนิกอายุรกรรมทุกวัน และมีการคัดกรองโดยใช้แบบสอบถาม หากพบประชาชนที่อยู่ในเกณฑ์เสี่ยง จะส่งปรึกษาคลีนิกอาชีวเวชกรรม มีการติดตามรายงานค่าฝุ่นละออง PM2.5 และคุณภาพอากาศอย่างต่อเนื่อง 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ดำเนินการประชาสัมพันธ์และความรู้แก่ผู้รับบริการเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ การปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันจากฝุ่น และมลพิษ ดำเนินการเฝ้าระวังผู้มีความเสี่ยงและติดตามสุขภาพของผู้ที่ได้รับผลกระทบจากมลพิษ 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร ดำเนินการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนที่เกิดจากมลพิษทางอากาศโดยคัดกรอง ให้ความรู้ และคำแนะนำในการดูแลสุขภาพแก่ผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกอายุรกรรม 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ ดำเนินการวางแผนเปิดคลินิกมลพิษเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงจากมลพิษทางอากาศในเวลาราชการสัปดาห์ละ 1 วัน โดยดำเนินการดังนี้ 1.จัดทำโครงการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนที่เกิดจากมลพิษทางอากาศ ปีงบประมาณ 2564 2.ประชาสัมพันธ์และรายงานข้อมูลสถานการณ์คุณภาพอากาศประจำวันผ่านช่องทาง face book รพ.ราชพิพัฒน์ 3.ประชาสัมพันธ์ข้อมูลความรู้ PM 2.5 ผ่านช่องทาง Face book รพ.ราชพิพัฒน์และการสอนสุขศึกษาประจำคลินิกอายุรกรรม คลินิกสุขใจสูงวัยประคับประคอง 4.จัดทำรายงานผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ 8. โรงพยาบาลสิรินธร เปิดให้บริการผ่านคลินิกทางเดินหายใจ ทุกวันอังคาร,พุธ,ศุกร์ เวลา 08.00 -12.00 น. โดยจะมีการประชุมหารือเรื่องการเปิดคลินิกเฝ้าระวังมลพิษทางอากาศ และดำเนินการดังนี้ 1.รายงานผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนที่เกิดจากมลพิษทางอากาศ 2.รายงานสถานการณ์มลพิษทางอากาศประจำวันผ่านสื่อ social media 3.ให้คำแนะนำในการดูแลตนเองตามผลคุณภาพอากาศประจำวัน 8. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน อยู่ระหว่างการจัดตั้งคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมและมีการจัดตั้งป้ายแจ้งเตือนค่าฝุ่น PM2.5 ในแต่ละวันที่จุดคัดกรองผู้ป่วย 9. โรงพยาบาลคลองสามวา กิจกรรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันมลพิษทางอากาศในผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจ และดำเนินการดังนี้ 1. ติดตามสถานการณ์ค่าระดับฝุ่นละออง PM 2.5 ในพื้นที่เขตคลองสามวา 2. เปิดให้บริการคลินิกเพื่อแยกตรวจโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ 10.โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร ดำเนินโครงการจัดตั้งคลินิกมลพิษเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงจากมลพิษทางอากาศ – แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานเฝ้าระวังผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ วันที่ 12 ตุลาคม 2563 ตามคำสั่งโรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร ที่ 3/2564 และดำเนินการจัดตั้งคลินิกมลพิษเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงจากมลพิษทางอากาศแล้วเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2563 เริ่มเปิดดำเนินการคลินิกมลพิษ วันที่ 19 ตุลาคม 2563 เป็นต้น โดยโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ได้รายงานสถานการณ์ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศในช่วงที่มีค่าระดับฝุ่นละออง (PM 2.5 ) ในพื้นที่กรุงเทพมหานครเกินเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 4 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 22.22
การรายงานผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ ประกอบด้วย กลุ่มอาการที่เกิดจากผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ ได้แก่ โรคทางเดินหายใจ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคตา โรคผิวหนัง โรคมะเร็ง ที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจหรือคลินิกอายุรกรรมหรือคลินิกเวชกรรม ในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ และมีการรายงานสถานการณ์ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศในช่วงที่มีค่าระดับฝุ่นละออง (PM 2.5 ) ในพื้นที่กรุงเทพมหานครเกินเกณฑ์มาตรฐาน และรายงานผู้บริหาร โรงพยาบาลและหรือผู้บริหารสำนักการแพทย์ เป็นรายสัปดาห์ ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2563 – 31 มีนาคม 2564 รวม 18 สัปดาห์ ในไตรมาสที่ 1 สำนักการแพทย์ได้รายงานสถานการณ์ฝุ่นฯ จำนวน 4 สัปดาห์ คิดเป็น 22.22 ในไตรมาสที่ 2 โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ได้รายงานสถานการณ์ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศในช่วงที่มีค่าระดับฝุ่นละออง (PM 2.5 ) ในพื้นที่กรุงเทพมหานครเกินเกณฑ์มาตรฐาน ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 5 ถึง สัปดาห์ที่ 18 จำนวน 14 สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 100
การรายงานผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ ประกอบด้วย กลุ่มอาการที่เกิดจากผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ ได้แก่ โรคทางเดินหายใจ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคตา โรคผิวหนัง โรคมะเร็ง ที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจหรือคลินิกอายุรกรรมหรือคลินิกเวชกรรม ในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ และมีการรายงานสถานการณ์ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศในช่วงที่มีค่าระดับฝุ่นละออง (PM 2.5 ) ในพื้นที่กรุงเทพมหานครเกินเกณฑ์มาตรฐาน และรายงานผู้บริหาร โรงพยาบาลและหรือผู้บริหารสำนักการแพทย์ เป็นรายสัปดาห์ ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2563 – 31 มีนาคม 2564 รวม 18 สัปดาห์ ในไตรมาสที่ 1 สำนักการแพทย์ได้รายงานสถานการณ์ฝุ่นฯ จำนวน 4 สัปดาห์ คิดเป็น 22.22 ในไตรมาสที่ 2 โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ได้รายงานสถานการณ์ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศในช่วงที่มีค่าระดับฝุ่นละออง (PM 2.5 ) ในพื้นที่กรุงเทพมหานครเกินเกณฑ์มาตรฐาน ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 5 ถึง สัปดาห์ที่ 18 จำนวน 14 สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 100
โดยมีรายงานผู้บริหารโรงพยาบาลหรือสำนักการแพทย์เป็นรายสัปดาห์ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2563 - 31 มีนาคม 2564 จำนวน 18 สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 100
๑.๕.๑๑ ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ | |
![]() |
หน่วยนับ :ระดับ เป้าหมาย :5.00 ผลงาน :5.00 |
สำนักการแพทย์ได้จัดประชุมหารือแนวทางการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ความสำเร็จของการจัดทำแผนบูรณาการเพื่อเตรียมความพร้อมรองรับสถานการณ์ระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2563 เวลา 13.30-16.00 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 2 ศูนย์เอราวัณ โดยสำนักการแพทย์ได้มอบหมายให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการจัดทำแผนบูรณาการดังกล่าว ดังนี้ 1. โรงพยาบาลตากสิน จัดทำแผนบูรณาการเพื่อเตรียมความพร้อมรองรับสถานการณ์ระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ในส่วนของในโรงพยาบาล (In-hospital care) 2. ศูนย์บริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร (ศูนย์เอราวัณ) จัดทำแผนบูรณาการเพื่อเตรียมความพร้อมรองรับสถานการณ์ระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ในส่วนของการรับ-ส่งต่อผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล (Pre-hospital care) 3. สำนักงานพัฒนาระบบบริการทางการแพทย์ รวบรวมข้อมูล และจัดทำแผนบูรณาการเพื่อเตรียมความพร้อมรองรับสถานการณ์ระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ในภาพรวมของสำนักการแพทย์ ในส่วนของการดำเนินงานของศูนย์บริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร (ศูนย์เอราวัณ) อยู่ระหว่าง ทบทวนบทบาทอำนาจหน้าที่ภารกิจของส่วนราชการ วิเคราะห์ความเสี่ยงและผลกระทบที่เกิดขึ้นกับส่วนราชการ และวางแผน แนวทางการดำเนินงานแก้ไขความเสี่ยง เพื่อจัดทำแผนบูรณาการฯ ต่อไป
สำนักการแพทย์ ได้ดำเนินการประชุมซ้อมแผนเพื่อเตรียมความพร้อมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เมื่อวันศุกร์ที่ 8 มกราคม 2564 เวลา 09.00 - 14.00 น.ณ ห้องประชุมพิทยรักษ์ ชั้น 4 สำนักการแพทย์ จำนวน 50 คน และถ่ายทอดผ่านระบบ Conference ไปยังโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ผู้เข้าร่วมประชุมซ้อมแผนประกอบด้วย ปลัดกรุงเทพมหานคร ผู้บริหารสำนักการแพทย์ ผู้แทนโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ แพทย์ พยาบาล นักเทคนิคการแพทย์ เภสัชกร นักวิชาการสาธารณสุข เป็นต้น และหน่วยงานยที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย ผู้แทนจากสำนักอนามัย ผู้แทนสำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ผู้แทนสำนักงานเขตคลองสาน สำนักการแพทย์จัดทำเล่มแผนบูรณาการเพื่อเตรียมความพร้อมรองรับสถานการณ์การระบาดของโรคอุบัติใหม่/อุบัติซ้ำ ฉบับสมบูรณ์ และอยู่ระหว่างส่งให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วน
สำนักการแพทย์ ได้ส่งเล่มแผนบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤติ (Business Continuity Plan : BCP) ไปยังสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตามบันทึกที่ กท 0602/4595 ลงวันที่ 1 พฤษภาคม 2564 เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ และประชาสัมพันธืผ่านเวบไซด์สำนักการแพทย์
สำนักการแพทย์ได้จัดทำแผนดำเนินงานต่อเนื่องสำหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤตกรณีโรคอุบัติใหม่/อุบัติซ้ำ (Business Continuity Plan for Emerging Infection Disease : BCP for EID) โดยได้ดำเนินการฝึกซ้อมแผนเพื่อเป็นการซักซ้อมความเข้าใจและเตรียมความพร้อมในการตอบสนองต่อสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยเป็นการฝึกซ้อมแผนชนิดบนโต๊ะ (Tabletop exercise) เมื่อวันศุกร์ที่ 8 มกราคม 2564 เวลา 09.00 – 14.00 น. ณ ห้องประชุมพิทยรักษ์ ชั้น 4 สำนักการแพทย์
๑.๕.๑๑ ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ | |
![]() |
หน่วยนับ :≥ร้อยละ เป้าหมาย :88.00 ผลงาน :88.70 |
อัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ร้อยละ 84.85 ผลการดำเนินงานมีดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง อยู่ระหว่างเตรียมประชุมคณะกรรมการพัฒนาการรักษาวัณโรคของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ เพื่อปรึกษา หารือ แนวทางการดำเนินงาน โดยโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ดำเนินการในคลินิกวัณโรค ดำเนินการระบบการรักษาวัณโรคของโรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง และดำเนินการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล 2. โรงพยาบาลตากสิน คลินิกวัณโรค เปิดบริการวัน จ-ศ เวลา 8.00 – 16.00 น. - ให้การรักษาขึ้นทะเบียนผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภท - มีแพทย์เฉพาะทางด้านปอด 2 ท่าน และแพทย์อายุรกรรม 1 ท่าน - ให้บริการแบบ one stop service และ บริการจ่ายยา Dot ตามนัดมากกว่า 2 สัปดาห์ - รับปรึกษาระหว่างแผนกทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในทุกวัน - ประสานส่งต่อผู้ป่วยวัณโรคไปรักษาต่อศูนย์บริการสาธารณสุข และ สถานพยาบาลตามสิทธิ์ 3.โรงพยาบาลเจริญกรุงฯ ดำเนินการระบบการรักษาวัณโรคของ รพ. อย่างต่อเนื่อง ขณะนี้อยู่ระหว่างการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล 4.โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ 1.คลินิควัณโรค เปิดให้บริการแบบ one stop service ทุกวันพุธ เวลา 13:00-16:00น. โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ 2.ให้ความรู้วิธีการปฏิบัติตัวกับผู้ป่วยวัณโรค ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 16 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 14 ราย คิดเป็นร้อยละ 87.50 5.โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ดำเนินกา่รประชุมคณะกรรมการวัณโรคเพื่อวางแนวแผนการดำเนินงาน 6.โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร เปิดคลินิกรักษาวัณโรคทุกวันศุกร์เวลา 13.00น.-16.00น. เว้นวันหยุดราชการ ให้การบริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ ไตรมาสแรกได้มีการประชุมทีม เพื่อวางแผนการดำเนินงาน การดูแลผู้ป่วยวัณโรคอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 7 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 7 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 7.โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 11 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 10 ราย คิดเป็นร้อยละ 90.91 8.โรงพยาบาลสิรินธร ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 32 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 25 ราย คิดเป็นร้อยละ 78.13
อัตราผลสำเร็จในการรักษา (Success Rate) ของโรงพยาบาลในสังกัด ทั้ง 8 แห่งในภาพรวมเท่ากับร้อยละ 91.86 ดังนี้ ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 172 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 158 ราย คิดเป็นร้อยละ 91.86
อัตราผลสำเร็จในการรักษา (Success Rate) ของโรงพยาบาลในสังกัด ทั้ง 8 แห่งในภาพรวมเท่ากับร้อยละ 81.66 ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 – มิถุนายน 2564 ดังนี้ ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 616 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 503 ราย คิดเป็นร้อยละ 81.66
อัตราผลสำเร็จในการรักษา (Success Rate) ของโรงพยาบาลในสังกัด ทั้ง 8 แห่ง ในภาพรวมเท่ากับร้อยละ 88.70 ดังนี้ ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 903 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 801 ราย คิดเป็นร้อยละ 88.70
๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ เป้าหมาย :30.00 ผลงาน :62.38 |
1. โรงพยาบาลกลาง ประชุมหารือแนวทางการดำเนินงานตามตัวชี้วัด “ความสำเร็จในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ได้รับการประเมิน CVD Risk และมีความเสี่ยงสูง” ครั้งที่ 2/2563 ในวันจันทร์ที่ 7 ธันวาคม 2563 เวลา 09.00 – 12.00 น.ณ ห้องประชุมแพทยพัฒน์ ชั้น 5 สำนักการแพทย์ ชี้แจงวิธีการเก็บข้อมูลเพื่อสร้างความเข้าที่ตรงกัน 1.ดำเนินการเก็บข้อมูลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยเบาหวาน และผู้ป่วยที่มีโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน 2.เก็บ ข้อมูลผู้ป่วยที่ได้รับ CVD risk 3. รวบรวมข้อมูลผู้ป่วยที่มีค่า CVD risk สูง เพื่อเตรียมการในการจัดระบบและติดตามผู้ป่วยเพื่อให้การดูแลในด้านต่างๆ เป้าหมายคือลดค่า CVD risk " จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการประเมิน Thai CVD Risk ทั้งหมด 2,306ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูง ที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ/หรือได้รับการรักษาที่เหมาะสม และมีค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 32 ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและหรือได้รับการรักษาที่เหมาะสมทั้งหมด จำนวน 874 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.66 2.โรงพยาบาลตากสิน คลินิกเบาหวานดำเนินการดังนี้ 1.ปรับเพิ่มคลินิกในการตรวจรักษาในศูนย์เบาหวาน อีก 1 คลินิก คือ คลินิกเบาหวานทั่วไป เพื่อแยกผู้ป่วนที่มารับให้คำปรึกษา การตรวจภาวะแทรกซ้อน และการฝึกการดูแตนเองโดยไม่ได้รับการตรวจรักษาในศูนย์เบาหวาน เพื่อสะดวกในการติดตาม 2. การทบทวนผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงที่เข้ารับการตรวจรักษาจริงในคลินิกทั้งหมดของศูนย์เบาหวาน 3.ทำ Pop up เตือนบุคลากรในหน่วยงานในเคสที่มีความเสี่ยงสูง โดยใช้คำว่า CVD Risk เสี่ยงสูง ใน DMCC 4.ทบทวนร่วมกันกับทีมสหวิชาชีพในการดูแลเพื่อลดระดับความเสี่ยง 5.การให้ความรู้ในการดูแลตนเองเพื่อลดความเสี่ยงลง ขณะรอคอยโดยให้ความรู้เป็นกลุ่ม ขณะรอคอยการตรวจรักษา 6.เน้นการใช้สมุดเบาหวานแก่ผู้เป็นเบาหวานและญาติ เพื่อตั้งเป้าในการดูแลตนเองให้เหมาะสม 7.นำคู่มือการใหคำแนะนำของส่วนกล่าวมาใช้ ห้องตรวจผู้ป่วยอายุรกรรม มีการดำเนินการดังนี้ 1. มีการใช้ใบคัดกรองผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 2. มีการติดตามผล LAB ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 3. อยู่ระหว่างการจัดทำเอกสารใบแนะนำให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการประเมิน Thai CVD Risk ทั้งหมด 670ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูง ที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ/หรือได้รับการรักษาที่เหมาะสม และมีค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 6ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและหรือได้รับการรักษาที่เหมาะสมทั้งหมด จำนวน 139 ราย คิดเป็นร้อยละ 4.32 3.โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ดำเนินการให้บริการดูแลผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน ตามแนวทางของ สนพ. อย่างต่อเนื่อง จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการประเมิน Thai CVD Risk ทั้งหมด 96 ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูง ที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ/หรือได้รับการรักษาที่เหมาะสม และมีค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 18ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและหรือได้รับการรักษาที่เหมาะสมทั้งหมด จำนวน 23ราย คิดเป็นร้อยละ 78.26 4.โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ 1.ดำเนินการเก็บข้อมูลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยเบาหวาน และผู้ป่วยที่มีโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน 2.เก็บ ข้อมูลผู้ป่วยที่ได้รับ CVD risk 3 รวบรวมข้อมูลผู้ป่วยที่มีค่า CVD risk สูง เพื่อเตรียมการในการจัดระบบและติดตามผู้ป่วยเพื่อให้การดูแลในด้านต่างๆ เป้าหมายคือลดค่า CVD risk จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการประเมิน Thai CVD Risk ทั้งหมด 32 ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูง ที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ/หรือได้รับการรักษาที่เหมาะสม และมีค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 18ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและหรือได้รับการรักษาที่เหมาะสมทั้งหมด จำนวน 19 ราย คิดเป็นร้อยละ 94.74 5.โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ดำเนินการมให้บริการผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามแผนงานที่วางไว้ จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการประเมิน Thai CVD Risk ทั้งหมด 789 ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูง ที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ/หรือได้รับการรักษาที่เหมาะสม และมีค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 308 ราย อยู่ระหว่างดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้กับผู้ป่วย 6.โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร อยู่ระหว่างดำเนินการ จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการประเมิน Thai CVD Risk ทั้งหมด 608 ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูง ที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ/หรือได้รับการรักษาที่เหมาะสม และมีค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 308 ราย จำนวนผู้ป่วย CVD Risk เสี่ยงสูงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและรับการรักษา และค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 0 ราย เนื่องจากอยู่ระหว่างการดำเนินการรักษาอยู่ 7.โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ อยู่ระหว่างดำเนินการ จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการประเมิน Thai CVD Risk ทั้งหมด 711 ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูง ที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ/หรือได้รับการรักษาที่เหมาะสม และมีค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 319 ราย จำนวนผู้ป่วย CVD Risk เสี่ยงสูงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและรับการรักษา และค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 0 ราย เนื่องจากอยู่ระหว่างการดำเนินการรักษาอยู่ 8.โรงพยาบาลสิรินธร 1. แต่งตั้งคณะกรรมการเบาหวานความดันโลหิตสูง สหสาขาวิชาชีพ กำหนดบทบาทหน้าที่ และดำเนินการเขียนโครงการเบาหวานความดันปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดุแลรักษาเพื่อลดความเสี่ยง ในกลุ่มเป้าหมายตามเกณฑ์ที่กำหนด 2. ร่วมประสานเครือข่าย ประชุมร่วมในการกำนดแนวทางในการดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามเกณฑ์ที่กำหนด และร่วมประเมินความเสี่ยง CVD risk 3. กำหนดแผนในการดำเนินการ 4. รวบรวมข้อมูลผู้ป่วยที่มีค่า CVD risk >= 20 และติดตามผู้ป่วยเพื่อดูแลเพิ่มเติมในด้านต่างๆ ให้ค่า CVD risk ลดลง - จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการประเมิน Thai CVD Risk ทั้งหมด 2,722 ราย - จำนวนผู้ป่วย CVD Risk เสี่ยงสูงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและรับการรักษา จำนวน 549 ราย - จำนวนผู้ป่วย CVD Risk เสี่ยงสูงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและรับการรักษา และค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 0 ราย เนื่องจากอยู่ระหว่างการดำเนินการรักษาอยู่ จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการประเมิน Thai CVD Risk ทั้งหมด 7,934 ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูง ที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ/หรือได้รับการรักษาที่เหมาะสม และมีค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 2,539 ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและหรือได้รับการรักษาที่เหมาะสมทั้งหมด จำนวน 74 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.91
จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูง ที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ/หรือได้รับการรักษาที่เหมาะสม และมีค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 3,587 ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและหรือได้รับการรักษาที่เหมาะสมทั้งหมด จำนวน 52 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.45
จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูง ที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ/หรือได้รับการรักษาที่เหมาะสม และมีค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 3,526 ราย จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) และ/หรือความดันโลหิตสูง (I10 - I15) กลุ่มเสี่ยงสูงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและหรือได้รับการรักษาที่เหมาะสมทั้งหมด จำนวน 1,192 ราย คิดเป็นร้อยละ 33.81
ความสำเร็จในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ได้รับการประเมิน CVD Risk และมีความเสี่ยงสูงของโรงพยาบาลในสังกัด ทั้ง 8 แห่ง ได้รับการประเมิน CVD Risk จำนวน 10,764 ราย มีความเสี่ยงสูง จำนวน 3,272 ราย ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และหรือได้รับการรักษาที่เหมาะสม แล้วมีค่า CVD Risk ลดลง จำนวน 2,041 ราย คิดเป็นร้อยละ 62.38
๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :90.00 ผลงาน :0.00 |
1.โรงพยาบาลกลาง อยู่ระหว่างเขียนโครงการเพื่อเสนอผู้บริหารอนุมัติ 2. โรงพยาบาลตากสิน อยู่ระหว่างพัฒนาและปรับปรุงเนื้อหาให้สอดคล้องทันสมัยและติดต่อทีมวิทยากร (จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการอยู่ระหว่างการดำเนินการ) 3.โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ขณะนี้อยู่ระหว่างการศึกษาข้อมูล เพื่อนำมาจัดทำโครงการเสนอผู้บริหาร 4.โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ฯ 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ อยู่ระหว่างประชุมคณะกรรมการฯ เพื่อกำหนดแนวทางในการดูแลประชาชนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน 6.โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร อยู่ระหว่างดำเนินการขอรายชื่อเพื่อจัดทำโครงการ 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ อยู่ระหว่าง 1. ประชุมคณะกรรมการฯ หรือคณะทำงานระดับโรงพยาบาล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการคัดกรองบุคลากรที่มี BMI และรอบเอวเกิน 2. ดำเนินกิจกรรมตามแนวทางที่กำหนด 8. โรงพยาบาลสิรินธร อยู่ระหว่างการเขียนโครงการ แต่งตั้งคณะกรรมการ และเชิญวิทยากร
โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ได้ดำเนินโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและปัจจัยเสี่ยงจากภาวะน้ำหนักเกินจนสามารถทำให้รอบเอวหรือค่า BMI ลดลงจากเดิม อยู่ระหว่างดำเนินโครงการ
ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลต่อการดำเนินงานของสำนักการแพทย์ ซึ่งสำนักการแพทย์มีภารกิจด้านการบริหารจัดการการแพทย์และสาธารณสุขในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยทำหน้าที่บริหารจัดการเตียงและทรัพยากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ตลอดจนร่วมบริหาร สั่งการ และประสานงานการส่งต่อทั้งผู้ป่วยยืนยันโรคติดเชื้อ COVID – 19 ผู้ป่วยที่เข้าข่ายสงสัยติดเชื้อ (PUI) รวมไปถึงการดูแลรักษาผู้ป่วยจากโรคดังกล่าว จากสถานการณ์ดังกล่าวส่งผลต่อการดำเนินงานใน ตัวชี้วัด ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการอ้วนลงพุงมีรอบเอวหรือ BMI ลดลงจากเดิม ซึ่งการดำเนินงานตัวชี้วัดดังกล่าวต้องมีการจัดโครงการหรือกิจกรรมลักษณะของการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการสร้างแรงจูงใจ เสริมพลังและ ฝึกทักษะ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีความจำเป็นต้องมีการพบปะระหว่างเจ้าหน้าที่และผู้เข้าร่วมโครงการฯอย่างต่อเนื่อง จึงทำให้ต้องชะลอโครงการดังกล่าวออกไป
ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID- 19) ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครเกิดการแพร่ระบาดของโรคเป็นวงกว้าง ตลอดจนมีผู้ติดเชื้อรายใหม่ที่เพิ่มปริมาณสูงขึ้นและมีแนวโน้มเพิ่มจำนวนสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการไม่สามารถปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ได้ ประกอบกับกรุงเทพมหานครได้มีหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กท 0303/ว 115 ลงวันที่ 16 เมษายน 2564 เรื่อง การปฏิบัติงานนอกสถานที่ตั้งเพื่อรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19) ของกรุงเทพมหานคร รายละเอียดตามข้อที่ ๒ ให้จัดการประชุมการเรียน การศึกษาอบรมผ่านรูปแบบ Online และขอให้หลีกเลี่ยงการรวมกลุ่มทำกิจกรรมต่าง ๆ รวมถึงกับประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง สั่งปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว (ฉบับที่ ๒๔) รายละเอียดตามข้อที่ 3.5 การจัดกิจกรรมที่มีความเสี่ยงต่อการแพร่โรค เช่น การประชุม การสัมมนา การจัดเลี้ยง การแจกจ่ายอาหารหรือสิ่งของต่าง ๆ ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้ดำเนินการโดยจำกัดจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่เกิน 50 คน กรณีเกิน 50 คน แต่ไม่เกิน 1,000 คน ให้ขออนุญาตโดยยื่นแผนการจัดงานและมาตรการควบคุมโรคต่อสำนักงานเขตพื้นที่ก่อนจัดงาน กรณีเกิน 1,000 คน ให้ขออนุญาตโดยยื่นแผนการจัดงานและมาตรการควบคุมโรคต่อสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ก่อนจัดงาน เว้นแต่เป็นการดำเนินการโดยหน่วยงานรัฐ หรือเป็นกิจกรรมในพื้นที่ที่กำหนดให้เป็นสถานที่กักกันโรค โดยดำเนินการตามมาตรการป้องกันและควบคุมโรคเพื่อยับยั้งการแพร่ระบาดของโรค สำนักการแพทย์ พิจารณาแล้วเห็นควรขอยกเลิกตัวชี้วัด ตามหนังสือ กท 0602.3/2691 ลงวันที่ 13 สิงหาคม 2564 เรื่อง ขออนุมัติยกเลิกโครงการตามแผนปฏิบัติราชการสำนักการแทพย์ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :40.00 ผลงาน :43.64 |
โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ 8 แห่ง ได้มีการให้บริการด้านอนามัยเจริญพันธุ์ มีกิจกรรมโรงเรียนพ่อ-แม่สำหรับหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น และมีการให้ความรู้ในหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่ฝากครรภ์จนถึงหลังคลอด โดยมีผลการดำเนินการดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง ดำเนินการดังนี้ 1. คลินิกฝากครรภ์แม่วัยรุ่นวันศุกร์ 2. ส่งปรึกษานักจิตวิทยาและนักสังคมสงเคราะห์ เพื่อประเมินความพร้อม 3. โรงเรียนพ่อแม่วัยรุ่น และการวางแผนครอบครัว โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 4. บริการฝังยาคุมกำเนิดในมารดาวัยรุ่นหลังคลอดที่คลินิกนรีเวชและหอผู้ป่วยหลังคลอด 5. ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ มีจำนวนวัยรุ่นตั้งครรภ์อายุ 10 - 19 ปี ที่ตั้งครรภ์ต่อได้เข้ารับบริการฝากครรภ์และการคลอดอย่างมีคุณภาพ ทั้งหมด 10 ราย และมีจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปีที่ตั้งครรภ์ต่อได้รับการฝากครรภ์และคลอดอย่างมีคุณภาพ จำนวน 25 ราย คิดเป็นร้อยละ 40 2. โรงพยาบาลตากสิน ดำเนินการดังนี้ คลินิกหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น ในวันพฤหัสบดี เวลา 8.00 – 12.00 น. และมีการแนะนำให้ความรู้เกี่ยวกับกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่วัยรุ่น มีจำนวนวัยรุ่นตั้งครรภ์อายุ 10 - 19 ปี ที่ตั้งครรภ์ต่อได้เข้ารับบริการฝากครรภ์และการคลอดอย่างมีคุณภาพ ทั้งหมด 10 ราย และมีจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปีที่ตั้งครรภ์ต่อได้รับการฝากครรภ์และคลอดอย่างมีคุณภาพ จำนวน 18 ราย คิดเป็นร้อยละ 55.56 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ดำเนินการให้บริการทางการเพศและอนามัยเจริญสำหรับวัยรุ่นอย่างต่อเนื่อง มีจำนวนวัยรุ่นตั้งครรภ์อายุ 10 - 19 ปี ที่ตั้งครรภ์ต่อได้เข้ารับบริการฝากครรภ์และการคลอดอย่างมีคุณภาพ ทั้งหมด 11 ราย และมีจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปีที่ตั้งครรภ์ต่อได้รับการฝากครรภ์และคลอดอย่างมีคุณภาพ จำนวน 69 ราย คิดเป็นร้อยละ 15.94 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ฯ ดำเนินการจัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อ - แม่ สำหรับหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นใน รพท. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นที่มีอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่มาฝากครรภ์ครั้งแรกอายุน้อยกว่า/เท่ากับ12 สัปดาห์ และฝากครรภ์ตามไตรมาสละ 1 ครั้ง ได้รับการคลอดอย่างมีคุณภาพตามระบบ ANC ในโรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ โดยมีการจัดกิจกรรมดังนี้ 1.จัดกิจกรรม โรงเรียนพ่อแม่ ให้ความรู้ขณะตั้งครรภ์และหลังตั้งครรภ์ 2. แจกแผ่นพับให้ความรู้ 3. เปิดวีดีโอ ให้ความรู้ขณะตั้งครรภ์ จำนวนวัยรุ่นตั้งครรภ์อายุ 10 - 19 ปี ที่ตั้งครรภ์ต่อได้เข้ารับบริการฝากครรภ์และการคลอดอย่างมีคุณภาพ ทั้งหมด 7 ราย และมีจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปีที่ตั้งครรภ์ต่อได้รับการฝากครรภ์และคลอดอย่างมีคุณภาพ จำนวน 11 ราย คิดเป็นร้อยละ 63.64 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ - จัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่สำหรับวัยรุ่นในระยะตั้งครรภ์ 2 ครั้ง - ติดตามเยี่ยมบ้านในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น จำนวนวัยรุ่นตั้งครรภ์อายุ 10 - 19 ปี ที่ตั้งครรภ์ต่อได้เข้ารับบริการฝากครรภ์และการคลอดอย่างมีคุณภาพ ทั้งหมด 5 ราย และมีจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปีที่ตั้งครรภ์ต่อได้รับการฝากครรภ์และคลอดอย่างมีคุณภาพ จำนวน 13 ราย คิดเป็นร้อยละ 38.46 6.โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร ดำเนินการดูแลหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นในคลินิกฝากครรภ์ ระยะคลอด หลังคลอด อย่างต่อเนื่อง จำนวนวัยรุ่นตั้งครรภ์อายุ 10 - 19 ปี ที่ตั้งครรภ์ต่อได้เข้ารับบริการฝากครรภ์และการคลอดอย่างมีคุณภาพ ทั้งหมด 5 ราย และมีจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปีที่ตั้งครรภ์ต่อได้รับการฝากครรภ์และคลอดอย่างมีคุณภาพ จำนวน 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นอายุ 10 - 19 ปีได้รับบริการฝากครรภ์ ณ คลีนิกสูตินรีเวชกรรม ทุกวันจันทร์ - วันศุกร์ เวลา 8.00 - 12.00 น. วัยรุ่นตั้งครรภ์อายุ 10 - 19 ปี ที่ตั้งครรภ์ต่อได้เข้ารับบริการฝากครรภ์และการคลอดอย่างมีคุณภาพ ทั้งหมด 21 ราย และมีจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปีที่ตั้งครรภ์ต่อได้รับการฝากครรภ์และคลอดอย่างมีคุณภาพ จำนวน 42 ราย คิดเป็นร้อยละ 50 9. โรงพยาบาลสิรินธร วัยรุ่นตั้งครรภ์อายุ 10 - 19 ปี ที่ตั้งครรภ์ต่อได้เข้ารับบริการฝากครรภ์และการคลอดอย่างมีคุณภาพ ทั้งหมด 48 ราย และมีจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปีที่ตั้งครรภ์ต่อได้รับการฝากครรภ์และคลอดอย่างมีคุณภาพ จำนวน 91 ราย คิดเป็นร้อยละ 52.75 รวมจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปี ที่มารับบริการคลอดบุตรทั้งหมด จำนวน 117 ราย และมีจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปีที่ตั้งครรภ์ต่อได้รับการฝากครรภ์และคลอดอย่างมีคุณภาพ จำนวน 274 ราย คิดเป็นร้อยละ 42.70
จำนวนวัยรุ่นตั้งครรภ์อายุ 10 - 19 ปี ที่ตั้งครรภ์ต่อได้เข้ารับบริการฝากครรภ์และการคลอดอย่างมีคุณภาพ เท่ากับ 99 ราย จำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปี ที่มารับบริการคลอดบุตรทั้งหมดในช่วงเวลาเดียวกัน (เก็บข้อมูลจาก ห้องคลอด) เท่ากับ 261 ราย คิดเป็นร้อยละ 37.93
จำนวนวัยรุ่นตั้งครรภ์อายุ 10 - 19 ปี ที่ตั้งครรภ์ต่อได้เข้ารับบริการฝากครรภ์และการคลอดอย่างมีคุณภาพ เท่ากับ 57 ราย จำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปี ที่มารับบริการคลอดบุตรทั้งหมดในช่วงเวลาเดียวกัน (เก็บข้อมูลจาก ห้องคลอด) เท่ากับ 213 ราย คิดเป็นร้อยละ 26.76
จำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปี ที่มารับบริการคลอดบุตรทั้งหมด จำนวน 990 ราย และ มีจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปีที่ตั้งครรภ์ต่อได้รับการฝากครรภ์และคลอดอย่างมีคุณภาพ จำนวน 432 ราย คิดเป็นร้อยละ 43.64
๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ราย เป้าหมาย :80,000.00 ผลงาน :94.00 |
สำนักการแพทย์ดำเนินการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไป จำนวนทั้งสิ้น เท่ากับ 20,677 ราย 1. โรงพยาบาลกลาง 1. จัดทำโครงการการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในประชาชนที่มีอายุ 15 ปี ขึ้นไป เสนอผู้บริหาร โดยดำเนินการ 2 ส่วน คือ การคัดกรองภายในโรงพยาบาลกลาง และการคัดกรองในชุมชน 2. ประชุมบุคลากรในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : การพยาบาล ฝ่ายวิชาการและแผนงาน พยาบาลผู้ป่วยนอก พยาบาลอาชีวเวชศาสตร์ เพื่อจัดทำรูปแบบการคัดกรอง และการรายงานผลการดำเนินการ 3. กำหนดวันจัดกิจกรรม ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ใช้บริการรับทราบ 4. ข้อมูลการคัดกรองเบาหวานและความดันในประชนชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ในวันที่ 1-15 ต.ค.63 เท่ากับ 505 ราย 16 ต.ค.-15 พ.ย.63 เท่ากับ 1,320 ราย 16 พ.ย.-15 ธ.ค.63 เท่ากับ 1,267 ราย ยอดรวมผู้ป่วยที่ได้รับการคัดกรองทั้งหมด 3,092 ราย 2. โรงพยาบาลตากสิน คัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป โดยหน่วยงานต่างๆในโรงพยาบาลและคลินิกยาเสพติด เมื่อวันที่ 16-30 พ.ย. และ 1-15 ธ.ค. 63 , ชุมชนวัดทองนพคุณ เมื่อวันที่ 1-15 ธ.ค. 63 ,และศาลาตากสินปิยรังสฤษฏ์ ในงานวันแพทย์ไทย เมื่อวันที่ 27 พ.ย.63 จำนวนคัดกรอง 2124 ราย 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ดำเนินการคัดกรองประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปให้ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง อย่างต่อเนื่อง จำนวน 3,381 ราย 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ ดำเนินกิจกรรมการคัดกรองประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ในทุกวันราชการ และออกหน่วยคัดกรองร่วมกับการจัดกิจกรรมอื่น ๆ จำนวน 3,870 ราย 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ อยู่ระหว่างดำเนินการประชาสัมพันธ์โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ให้ประชาชนรับทราบ 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร คัดกรองคัดกรองในร.พ.และนอกร.พ. และคัดกรองวันเบาหวานโลก คัดกรองหมู่บ้านวนารมย์ คัดกรองในคลินิกผู้สูงอายุ จำนวน 7,017 ราย 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ 1. ดำเนินการปรับเปลี่ยนคณะกรรมการดำเนินงานดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานประจำปี 2563 2. จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงานดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานเพื่อวางแผนกระจายงานคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามเป้าหมาย 3. เสนอแผนงานแก่คณะผู้บริหารโรงพยาบาลเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานและกระจายงานแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. พัฒนาระบบการให้บริการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มเป้าหมายประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปที่ไม่เคยถูกวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ทั้งภายนอกและภายในโรงพยาบาล โดยมีแนวทาง ดังนี้ - มีการติดป้ายประชาสัมพันธ์ตามจุดต่างๆ เช่น ลิฟท์ จุดคัดกรอง แผนกประสัมพันธ์, ประกาศทางสื่อ ออนไลน์ Facebook, และประกาศประชาสัมพันธ์ผ่านเครื่องกระจายเสียงเป็นระยะ - ให้บริการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ณ บริเวณจุดคัดกรองหน้าห้องตรวจผู้ป่วยนอก - ให้บริการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงทั้งผู้ป่วยและญาติ บริเวณหน้าห้องตรวจผู้ป่วยนอกแต่ละคลินิก - ให้บริการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงและเพิ่มการตรวจประเมินระดับไขมันในหลอดเลือดแก่ประชาชนที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไปและประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อโรคไขมันโลหิตสูงที่มีประวัติบิดา มารดาผู้ป่วยเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง ประสานกับหน่วยงานเวชศาสตร์ชุมชนและศูนย์ประกันสุขภาพ ในการให้บริการประชาชนทั่วไปนอกสถานที่เช่น โรงเรียน โรงงาน 5. เพิ่มอัตรากำลังพยาบาลและเจ้าหน้าที่จุดคัดกรอง เพื่อให้การคัดกรองผู้ป่วย จำนวน 1,451 ราย 8. โรงพยาบาลสิรินธร คัดกรองผู้ป่วยนอกที่เข้ารับบริการที่รพส. โดยตั้งจุดคัดกรองบริเวณห้องตรวจผู้ป่วยนอกอายุรกรรม จำนวน 1,086 ราย 9. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน 1.เปิดให้บริการคลินิกเบาหวานทุกวันพุธและวันพฤหัสของสัปดาห์ มีการคัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2.มีคลินิกให้คำปรึกษาแก่ผู้ป่วยที่เริ่มเป็นเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยให้คำแนะนำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การบริโภคอาหาร และการแนะนำการออกกำลังกาย จำนวน 133 ราย 10.โรงพยาบาลคลองสามวา กิจกรรมตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไป จำนวน 35 ราย 11. โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร - ประชาสัมพันธ์กิจกรรมตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไป -ดำเนินการจัดกิจกรรมตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไปที่ศาลอาญาพระโขนง และวัดบางนานอก -รายงานความก้าวหน้าโครงการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไป รายไตรมาส จำนวน 313 ราย
โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทั้ง 11 แห่ง ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไป โดยการตรวจน้ำตาลในเลือดด้วยวิธีการเจาะจากปลายนิ้ว (DTX>200) และวัดความดันโลหิต ในกลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูง พร้อมให้คำแนะนำเกี่ยวกับ การดูแลสุขภาพ โดยการแจกแผ่นพับความรู้ให้ประชาชนรับรู้ถึงอันตรายของโรค และวิธีปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรค ผลการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไปทั้งหมด เท่ากับ 29,503 ราย
โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทั้ง 11 แห่ง ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไป โดยการตรวจน้ำตาลในเลือดด้วยวิธีการเจาะจากปลายนิ้ว (DTX>200) และวัดความดันโลหิต ในกลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูง พร้อมให้คำแนะนำเกี่ยวกับ การดูแลสุขภาพ โดยการแจกแผ่นพับความรู้ให้ประชาชนรับรู้ถึงอันตรายของโรค และวิธีปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรค ผลการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไปทั้งหมด เท่ากับ 20,600 ราย
สรุปผลการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไป ในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์มีผู้ได้รับการคัดกรองทั้งหมด จำนวน 94,240 ราย พบความผิดปกติ เบาหวานจำนวน 10,062 ราย ความดันโลหิตสูงจำนวน 16,945 ราย ในกรณีที่ผิดปกติผู้ป่วยได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :36.00 ผลงาน :47.53 |
ดำเนินการดังนี้ 1. พัฒนาและจัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน 1.1 ปรับ CPG:Hypoglycemia เริ่มปรับใหม่ 26 พ.ย. 63 1.2 แบบฟอร์มการลงบันทึกทางการพยาบาลในศูนย์เบาหวาน ปรับใหม่รอลงเลข fm 1.3 แบบฟอร์มการส่งปรึกษา และรับบริการในศูนย์เบาหวาน ส่งให้หน่วยงานและหอผู้ป่วยทดลองใช้ เริ่ม 19 พ.ย. 63 1.4 แนวทางการเข้าถึงการรักษาในคลินิกผู้ป่วยนอกสำหรับผู้เป็นเบาหวาน อยู่ในระหว่างจัดทำ 2. พัฒนาและจัดทำคู่มือการส่งเสริมและป้องกันโรคเบาหวาน อยู่ในขั้นตอนการปรับคู่มือ 3. จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพให้ความรู้การอยู่กับเบาหวานโดยทีมสหวิชาชีพแก่ผู้มารับบริการที่ศูนย์เบาหวาน ที่ศูนย์เบาหวาน สัปดาห์ละครั้ง สลับวันอังคาร และวันพุธ ในเดือนหน้าจะเพิ่มวันศุกร์ด้วย 4. ประเมินภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน ตรวจเท้า Foot exam, Lab ชุด DM ประจำปี ส่งตรวจ DR 5. วันเบาหวานโลก จัดกิจกรรมวันที่ 5 พ.ย. 63 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 155 ราย ความพึงพอใจในกิจจกรมอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 90.67 การให้ความรู้ "เรียนรู้ อยู่กับเบาหวาน" โดยให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติ ขณะรอคอยรับการตรวจรักษาในวันอังคาร และวันศุกร์ โดยมีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมดจำนวน 7,229 ราย และมีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลได้ดีตามเกณฑ์จำนวน 4,109 ราย คิดเป็นร้อยละ 56.84 2. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ให้บริการผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการในโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ณ คลินิกอายุรกรรม (ศูนย์เบาหวาน) ชั้น 2 อาคารอนุสรณ์ 20 ปี ในวันราชการ จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.00-11.00 น. โดยมีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมดจำนวน 1,810 ราย และมีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลได้ดีตามเกณฑ์จำนวน 917 ราย คิดเป็นร้อยละ 50.66 4.โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ ดำเนินการจัดกิจกรรมการดูแลผู้ป่วยเบาหวานในคลินิกเบาหวานในโรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ และดำเนินการให้การดูแลโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ คัดกรองภาวะแทรกซ้อนประจำปี โดยมีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมดจำนวน 4,701 ราย และมีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลได้ดีตามเกณฑ์จำนวน 2,521 ราย คิดเป็นร้อยละ 53.63 5.โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ อยู่ระหว่างดำเนินการให้บริการแก่ผู้ป่วยเบาหวานตามแนวทางที่วางไว้ 6.โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร มีการประชุมคณะกรรมการ มอบหมายงานผู้รับผิดชอบในการรายงานตามไตรมาส มีการวางแผนในการดำเนินการโครงการให้ความรู้เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนของทีสหสาขาวิชาชีพ เพื่อความเหมาะสมในการปฏิบัติงาน วางแผนการจัดทำเอกสารในการบันทึกข้อมูลผู้ป่วยเบาหวาน ณ คลินิกเบาหวานโรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการในวันพุธและศุกร์ เวลา 07.00-12.00น. จัดทำเอกสารให้ความรู้ในการควบคุมอาหาร ออกกำลังกาย การรับประทานยา ให้ทันสมัยและครอบคลุมมากขึ้น วางแผนการตรวจระดับน้ำตาล ตรวจภาวะแทรกซ้อน การให้ความรู้ในผู้ป่วยรายใหม่ การติดตามเยี่ยมบ้านในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง โดยมีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมดจำนวน 1,400 ราย และมีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลได้ดีตามเกณฑ์จำนวน 606 ราย คิดเป็นร้อยละ 43.29 7.โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ 1. ให้บริการตรวจคัดกรองวันจันทร์-ศุกร์เวลา 8.00 น. - 16.00 น. บริเวณจุดคัดกรอง อาคารเฉลิมพระเกียรติ ชั้น 1 เพื่อคัดกรองภาวะกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน และร่วมมือกับหน่วยงานอื่นในการตรวจคัดกรองเมื่อมีการจัดกิจกรรมต่างๆ ในโรงพยาบาล 2. เมื่อพบผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน รีบให้คำแนะนำและให้ได้รับการดูแลรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรก 3. ทบทวนเกณฑ์การรับผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีภาวะความเสี่ยงสูงเพื่อนัดพบแพทย์เฉพาะทางอายุรกรรมโรคเบาหวาน 4. ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาตามมาตรฐาน และได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตา ไต เท้า อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5. ประสานงานกับนักกายภาพมาช่วยดูแลการตรวจสุขภาพเท้าและแนะนำการออกกำลังกายบริหารเท้า 6. ประสานในทีมสหสาขาวิชาชีพด้านโภชนาการในการส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยมีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมดจำนวน 3,375 ราย และมีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลได้ดีตามเกณฑ์จำนวน 1,320 ราย คิดเป็นร้อยละ 39.11 8.โรงพยาบาลสิรินธร 1. ประชุมคณะกรรมการ เพื่อวางแผน เตรียมงานและมอบหมายงานประชาสัมพันธ์เพื่อเชิญชวนผู้ป่วยและผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมวันเบาหวานโลก จัดกิจกรรม วันที่ 12 พ.ย. 63 2. ดำเนินการดูแลโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ พร้อมจัดทำเอกสารให้ความรู้ด้านอาหาร การออกกำลังกาย 3. จัดนิทรรศการความรู้ให้แก่ผู้ป่วยและประชาชนผู้รับบริการ บริเวณ ชั้น 1 อาคารอำนวยการ 4. ผู้ป่วยที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยมีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมดจำนวน 1,421 ราย และมีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลได้ดีตามเกณฑ์จำนวน 327 ราย คิดเป็นร้อยละ 23.01 โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ มีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมด จำนวน 22,539 ราย และผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 10,955 ราย คิดเป็นร้อยละ 46.60
โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทั้ง 8 แห่ง ได้ดำเนินกิจกรรมการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน ทั้งในสถานะผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก ที่ได้รับการวินิจฉัยโรคเบาหวาน และเป็นผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนรับการรักษากับโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทั้ง 8 แห่ง ได้รับการติดตาม ให้สามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ตามเกณฑ์ ดังนี้ (1) ค่าระดับ HbA1c ค่าระดับครั้งสุดท้าย น้อยกว่าร้อยละ 7 หรือ (2) ค่าระดับ Fasting Plasma Glucose (FPG) 2 ครั้งสุดท้ายติดต่อกันอยู่ในระดับ 70 -130 มก./ดล. ซึ่งเป็น ค่าระดับน้ำตาลของผู้ป่วยเบาหวานที่มารับการตรวจติดตาม ในคลินิกเบาหวานตามนัด โดยมีผลการดำเนินงานดังนี้ โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ มีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมด จำนวน 12,049 ราย และผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 23,739 ราย คิดเป็นร้อยละ 50.76
โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทั้ง 8 แห่ง ได้ดำเนินกิจกรรมการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน ทั้งในสถานะผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก ที่ได้รับการวินิจฉัยโรคเบาหวาน และเป็นผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนรับการรักษากับโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทั้ง 8 แห่ง ได้รับการติดตาม ให้สามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ตามเกณฑ์ ดังนี้ (1) ค่าระดับ HbA1c ค่าระดับครั้งสุดท้าย น้อยกว่าร้อยละ 7 หรือ (2) ค่าระดับ Fasting Plasma Glucose (FPG) 2 ครั้งสุดท้ายติดต่อกันอยู่ในระดับ 70 -130 มก./ดล. ซึ่งเป็น ค่าระดับน้ำตาลของผู้ป่วยเบาหวานที่มารับการตรวจติดตาม ในคลินิกเบาหวานตามนัด โดยมีผลการดำเนินงานดังนี้ โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ มีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมด จำนวน 9,209ราย และผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 19,584 ราย คิดเป็นร้อยละ 47.02
โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ มีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมด จำนวน 75,343 ราย และผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 35,813 ราย คิดเป็นร้อยละ 47.53
๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :36.00 ผลงาน :48.83 |
โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทั้ง 8 แห่ง ดำเนินการคัดกรองผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงทั้งในสถานะผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ได้รับการวินิฉัย โรคความดันโลหิตสูงและเป็นผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนรับการรักษาในคลินิกอายุรกรรม ซึ่งมาตรวจติดตามในคลินิก ≥ 2 ครั้งใน 6 เดือนหรือ ≥ 3 ครั้งใน 1 ปี โดยเป็นโรคที่มีรหัสโรคตาม ICD - 10 TM,ICD-10,ICD - 9 ดังที่ระบุ (E10, E11, E12, E13, E14) ตามเกณฑ์ดังนี้ 1) ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั่วไปที่ไม่มีเบาหวานร่วม มีระดับความดันโลหิต 2 ครั้ง สุดท้ายติดต่อกัน < 140/90 มม.ปรอท. 2) ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีเบาหวานร่วม มีระดับความดันโลหิต 2 ครั้งสุดท้ายติดต่อกัน < 140/80 มม.ปรอท. มีผลการดำเนินการดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ณ OPD อายุรกรรมทั่วไป ชั้น 3 อาคารอนุสรณ์ 100 ปี ให้บริการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 - 12.00 น. - เมื่อวันพุธที่ 11 พฤศจิกายน 2563 นายแพทย์สมเกียรติ อัศวโรจน์พงษ์ รองผู้อำนวยการโรงพยาบาล ฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลกลาง เป็นประธานเปิดงาน วันเบาหวานโลก “พยาบาลกับเบาหวาน” พร้อมด้วยคณะผู้บริหารโรงพยาบาลกลาง บุคลากร และประชาชนร่วมงาน ในงานมีกิจกรรม คัดกรองเบาหวาน ตรวจวัดระดับน้ำตาล ตรวจวัดระดับไขมันในร่างกาย ให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคเบาหวาน การนับคาร์โบไฮเดรต และรู้ทันฉลากโภชนาการ สาธิตการทำอาหารว่างสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ตอบคำถามชิงรางวัล โดยทีมงานเบาหวาน โรงพยาบาลกลาง และร่วมกันเต้นบริหาร โดยมีผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมดจำนวน 4,040 คน และมีผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 1,495 คน คิดเป็นร้อยละ 37.00 2.โรงพยาบาลตากสิน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มาเข้ารับการรักษาที่คลินิกอายุรกรรม โรงพยาบาลตากสิน ที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมดจำนวน 5,488 คน และมีผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 3,094 คน คิดเป็นร้อยละ 56.38 3.โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ให้บริการผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการในโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ณ คลินิกอายุรกรรม ชั้น 2 อาคารอนุสรณ์ 20 ปี ในวันราชการ จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.00-11.00 น. 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ ดำเนินการจัดกิจกรรมการดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูงในคลินิกอายุรกรรมในโรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ โดยมีผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมดจำนวน 6,487 คน และมีผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 4,112 คน คิดเป็นร้อยละ 63.39 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ อยู่ระหว่างดำเนินการให้บริการแก่ผู้ป่วยเโรคความดันโลหิตสูงตามแนวทางที่วางไว้ 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร 1. ทบทวนและจัดตั้งคณะทำงาน 2. จัดทำกิจกรรมและขั้นตอนการปฏิบัติงานเพื่อขออนุมัติจากผู้บริหาร 3. มอบหมายหน้าที่ผู้รับผิดชอบ โดยมีผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมดจำนวน 3,070 คน และมีผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 1,236 คน คิดเป็นร้อยละ 40.26 7.โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ 1. ผู้รับบริการที่เข้ามาในโรงพยาบาลได้รับการตรวจวัดความดันโลหิตทุกราย 2. มีการประเมินระดับความดันโลหิต เพิ่อค้นหากลุ่มเสี่ยงของโรคความดันโลหิตสูง 3. ดูแลให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลรักษาและการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น 4. ประสานกับสหสาขาวิชาชีพเพื่อดูแลผู้ป่วยร่วมกัน ส่งเสริมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ 2 ส โดยมีผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมดจำนวน 3,506 คน และมีผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 9,294 คน คิดเป็นร้อยละ 37.72 8.โรงพยาบาลสิรินธร 1. ประสานบุคลากรและหน่วยงานทีเกี่ยวข้อง 2. ดำเนินการตามแผนงานที่กำหนด นัดผู้ป่วยเข้ากิจกรรมส่งเสริมความรู้ในวันพฤหัสบดี 3. แนะนำช่องทางกาเข้าถึงความรู้ในเรื่องโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง 4. ตรวจติดตามผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โดยมีผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมดจำนวน 3,586คน และมีผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 720 คน คิดเป็นร้อยละ 20.08 สรุป ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์และมารับบริการทั้งหมด จำนวน 31,965 คน และมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 14,163 คน คิดเป็นร้อยละ 44.31
โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทั้ง 8 แห่ง ดำเนินการคัดกรองผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงทั้งในสถานะผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ได้รับการวินิฉัย โรคความดันโลหิตสูงและเป็นผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนรับการรักษาในคลินิกอายุรกรรม ซึ่งมาตรวจติดตามในคลินิก ≥ 2 ครั้งใน 6 เดือนหรือ ≥ 3 ครั้งใน 1 ปี โดยเป็นโรคที่มีรหัสโรคตาม ICD - 10 TM,ICD-10,ICD - 9 ดังที่ระบุ (E10, E11, E12, E13, E14) ตามเกณฑ์ดังนี้ 1) ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั่วไปที่ไม่มีเบาหวานร่วม มีระดับความดันโลหิต 2 ครั้ง สุดท้ายติดต่อกัน < 140/90 มม.ปรอท. 2) ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีเบาหวานร่วม มีระดับความดันโลหิต 2 ครั้งสุดท้ายติดต่อกัน < 140/80 มม.ปรอท. มีผลการดำเนินการ ดังนี้ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์และมารับบริการทั้งหมด จำนวน 48,469 คน และมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 20,006 คน คิดเป็นร้อยละ 41.28
โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทั้ง 8 แห่ง ดำเนินการคัดกรองผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงทั้งในสถานะผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ได้รับการวินิฉัย โรคความดันโลหิตสูงและเป็นผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนรับการรักษาในคลินิกอายุรกรรม ซึ่งมาตรวจติดตามในคลินิก ≥ 2 ครั้งใน 6 เดือนหรือ ≥ 3 ครั้งใน 1 ปี โดยเป็นโรคที่มีรหัสโรคตาม ICD - 10 TM,ICD-10,ICD - 9 ดังที่ระบุ (E10, E11, E12, E13, E14) ตามเกณฑ์ดังนี้ 1) ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั่วไปที่ไม่มีเบาหวานร่วม มีระดับความดันโลหิต 2 ครั้ง สุดท้ายติดต่อกัน < 140/90 มม.ปรอท. 2) ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีเบาหวานร่วม มีระดับความดันโลหิต 2 ครั้งสุดท้ายติดต่อกัน < 140/80 มม.ปรอท. มีผลการดำเนินการ ดังนี้ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์และมารับบริการทั้งหมด จำนวน 26,503 คน และมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 15,055 คน คิดเป็นร้อยละ 56.80
สรุป ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์และ มารับบริการทั้งหมด จำนวน 143,627 ราย และมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดัน-โลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 70,130 ราย คิดเป็นร้อยละ 48.83
๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง | |
![]() |
หน่วยนับ :ระดับ เป้าหมาย :5.00 ผลงาน :5.00 |
สำนักการแพทย์ได้จัดประชุมหารือแนวทางการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ความสำเร็จของการจัดทำแผนบูรณาการเพื่อเตรียมความพร้อมรองรับสถานการณ์ระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2563 เวลา 13.30-16.00 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 2 ศูนย์เอราวัณ โดยสำนักการแพทย์ได้มอบหมายให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการจัดทำแผนบูรณาการดังกล่าว ดังนี้ 1. โรงพยาบาลตากสิน จัดทำแผนบูรณาการเพื่อเตรียมความพร้อมรองรับสถานการณ์ระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ในส่วนของในโรงพยาบาล (In-hospital care) 2. ศูนย์บริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร (ศูนย์เอราวัณ) จัดทำแผนบูรณาการเพื่อเตรียมความพร้อมรองรับสถานการณ์ระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ในส่วนของการรับ-ส่งต่อผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล (Pre-hospital care) 3. สำนักงานพัฒนาระบบบริการทางการแพทย์ รวบรวมข้อมูล และจัดทำแผนบูรณาการเพื่อเตรียมความพร้อมรองรับสถานการณ์ระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ในภาพรวมของสำนักการแพทย์ ในส่วนของการดำเนินงานของศูนย์บริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร (ศูนย์เอราวัณ) อยู่ระหว่าง ทบทวนบทบาทอำนาจหน้าที่ภารกิจของส่วนราชการ วิเคราะห์ความเสี่ยงและผลกระทบที่เกิดขึ้นกับส่วนราชการ และวางแผน แนวทางการดำเนินงานแก้ไขความเสี่ยง เพื่อจัดทำแผนบูรณาการฯ ต่อไป
สำนักการแพทย์ ได้ดำเนินการประชุมซ้อมแผนเพื่อเตรียมความพร้อมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เมื่อวันศุกร์ที่ 8 มกราคม 2564 เวลา 09.00 - 14.00 น.ณ ห้องประชุมพิทยรักษ์ ชั้น 4 สำนักการแพทย์ จำนวน 50 คน และถ่ายทอดผ่านระบบ Conference ไปยังโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ผู้เข้าร่วมประชุมซ้อมแผนประกอบด้วย ปลัดกรุงเทพมหานคร ผู้บริหารสำนักการแพทย์ ผู้แทนโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ แพทย์ พยาบาล นักเทคนิคการแพทย์ เภสัชกร นักวิชาการสาธารณสุข เป็นต้น และหน่วยงานยที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย ผู้แทนจากสำนักอนามัย ผู้แทนสำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ผู้แทนสำนักงานเขตคลองสาน สำนักการแพทย์จัดทำเล่มแผนบูรณาการเพื่อเตรียมความพร้อมรองรับสถานการณ์การระบาดของโรคอุบัติใหม่/อุบัติซ้ำ ฉบับสมบูรณ์ และอยู่ระหว่างส่งให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วน
สำนักการแพทย์ ได้ส่งเล่มแผนบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤติ (Business Continuity Plan : BCP) ไปยังสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตามบันทึกที่ กท 0602/4595 ลงวันที่ 1 พฤษภาคม 2564 เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ และประชาสัมพันธืผ่านเวบไซด์สำนักการแพทย์
สำนักการแพทย์ได้จัดทำแผนดำเนินงานต่อเนื่องสำหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤตกรณีโรคอุบัติใหม่/อุบัติซ้ำ (Business Continuity Plan for Emerging Infection Disease : BCP for EID) โดยได้ดำเนินการฝึกซ้อมแผนเพื่อเป็นการซักซ้อมความเข้าใจและเตรียมความพร้อมในการตอบสนองต่อสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยเป็นการฝึกซ้อมแผนชนิดบนโต๊ะ (Tabletop exercise) เมื่อวันศุกร์ที่ 8 มกราคม 2564 เวลา 09.00 – 14.00 น. ณ ห้องประชุมพิทยรักษ์ ชั้น 4 สำนักการแพทย์
๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง | |
![]() |
หน่วยนับ :≥ร้อยละ เป้าหมาย :88.00 ผลงาน :88.70 |
อัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ร้อยละ 84.85 ผลการดำเนินงานมีดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง อยู่ระหว่างเตรียมประชุมคณะกรรมการพัฒนาการรักษาวัณโรคของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ เพื่อปรึกษา หารือ แนวทางการดำเนินงาน โดยโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ดำเนินการในคลินิกวัณโรค ดำเนินการระบบการรักษาวัณโรคของโรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง และดำเนินการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล 2. โรงพยาบาลตากสิน คลินิกวัณโรค เปิดบริการวัน จ-ศ เวลา 8.00 – 16.00 น. - ให้การรักษาขึ้นทะเบียนผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภท - มีแพทย์เฉพาะทางด้านปอด 2 ท่าน และแพทย์อายุรกรรม 1 ท่าน - ให้บริการแบบ one stop service และ บริการจ่ายยา Dot ตามนัดมากกว่า 2 สัปดาห์ - รับปรึกษาระหว่างแผนกทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในทุกวัน - ประสานส่งต่อผู้ป่วยวัณโรคไปรักษาต่อศูนย์บริการสาธารณสุข และ สถานพยาบาลตามสิทธิ์ 3.โรงพยาบาลเจริญกรุงฯ ดำเนินการระบบการรักษาวัณโรคของ รพ. อย่างต่อเนื่อง ขณะนี้อยู่ระหว่างการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล 4.โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ 1.คลินิควัณโรค เปิดให้บริการแบบ one stop service ทุกวันพุธ เวลา 13:00-16:00น. โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ 2.ให้ความรู้วิธีการปฏิบัติตัวกับผู้ป่วยวัณโรค ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 16 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 14 ราย คิดเป็นร้อยละ 87.50 5.โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ดำเนินกา่รประชุมคณะกรรมการวัณโรคเพื่อวางแนวแผนการดำเนินงาน 6.โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร เปิดคลินิกรักษาวัณโรคทุกวันศุกร์เวลา 13.00น.-16.00น. เว้นวันหยุดราชการ ให้การบริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ ไตรมาสแรกได้มีการประชุมทีม เพื่อวางแผนการดำเนินงาน การดูแลผู้ป่วยวัณโรคอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 7 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 7 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 7.โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 11 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 10 ราย คิดเป็นร้อยละ 90.91 8.โรงพยาบาลสิรินธร ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 32 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 25 ราย คิดเป็นร้อยละ 78.13
อัตราผลสำเร็จในการรักษา (Success Rate) ของโรงพยาบาลในสังกัด ทั้ง 8 แห่งในภาพรวมเท่ากับร้อยละ 91.86 ดังนี้ ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 172 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 158 ราย คิดเป็นร้อยละ 91.86
อัตราผลสำเร็จในการรักษา (Success Rate) ของโรงพยาบาลในสังกัด ทั้ง 8 แห่งในภาพรวมเท่ากับร้อยละ 81.66 ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 – มิถุนายน 2564 ดังนี้ ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 616 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 503 ราย คิดเป็นร้อยละ 81.66
อัตราผลสำเร็จในการรักษา (Success Rate) ของโรงพยาบาลในสังกัด ทั้ง 8 แห่ง ในภาพรวมเท่ากับร้อยละ 88.70 ดังนี้ ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 903 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 801 ราย คิดเป็นร้อยละ 88.70
๑.๖.๓ คนกรุงเทพฯทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เท่าเทียม มีคุณภาพ แ | |
![]() |
หน่วยนับ :ระดับ เป้าหมาย :5.00 ผลงาน :5.00 |
โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ 3 แห่ง มีการเตรียมความพร้อมเข้าสู่กระบวนการรับรองคุณภาพ ตลอดจนทบทวนผลงานความเสี่ยง และปัญหา ดังนี้ 1. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน 1.จัดทำกิจกรรมเสนอขออนุมัติต่อผู้บริหาร 2. ดำเนินกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลตามแผนพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล เช่น 2.1 แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล 2.2 จัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านการพัฒนาคุณภาพภายในโรงพยาบาล 2 ครั้ง - ครั้งที่ 1 วันที่ 16 พฤศจิกายน 2563 - ครั้งที่ 2 วันที่ 22 พฤศจิกายน 2563 2.3 จัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านการพัฒนาคุณภาพในรูปแบบต่างๆให้กับหน่วยงาน - กิจกรรมทบทวน 12 กิจกรรม - ให้คำปรึกษาหน่วยงาน 2.โรงพยาบาลคลองสามวา เรียนรู้เรื่องการทำ service profile การทบทวน 12 กิจกรรม การทำ RCA 3. โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร ขั้นตอนที่ 2 ดำเนินกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลตามแผนพัฒนาคุณภาพระดับโรงพยาบาล - แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาล - จัดทำนโยบายการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลและสื่อสารให้บุคลากรทุกระดับรับทราบ -จัดกิจกรรมการให้ความรู้ด้านการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2563 -จัดกิจกรรมกระตุ้นการพัฒนางานในรูปแบบต่าง ๆ เช่น กิจกรรมทบทวน 12 กิจกรรม, การเยี่ยมสำรวจคุณภาพภายในฯ - จัดทำคู่มือเอกสารพัฒนาคุณภาพของโงพยาบาล -ส่งตัวแทนเข้าร่วมประชุม 2P Safety Hospital เมื่อวันที่ 2-3, 18 ธันวาคม 2563 -ส่งตัวแทนเข้าร่วมประชุม Share vision ร่วมกับ QLN ของ สนพ. ที่ศูนย์ประชุมเมืองทองธานี วันที่ 22-23 ธันวาคม 2563
โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน 1. จัดการอบรมเรื่อง “การบันทึกข้อมูล และการจัดการความเสี่ยง” ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2564 2. จัดการอบรมเรื่อง “การบันทึกข้อมูล และการจัดการความเสี่ยง” ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2564 3. จัดกิจกรรม Walk Through Survey ให้คำปรึกษาหน่วยงานในการทำกิจกรรมทบทวน 12 กิจกรรม และบันทึกข้อมูลในระบบ HRMS on Cloud 4. ประชุมคณะกรรมการองค์กรแพทย์ เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2564 5. สังเกตการณ์ Pre-survey การเตรียมการสฝุ่การรับรองคุณภาพสถานพยาบาลขั้นที่ 1 (2) ที่โรงพยาลคลองสามวา เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2564 6. จัดประชุมการจัดการความรู้ (Knowledge Management) เรื่อง การคัดกรองผู้ป่วยที่ห้องอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน (ED TRIAGE) 7. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง “บทบาทของผู้ดูแลความเสี่ยงประจำหน่วยงานกับการบริหารความเสี่ยง” เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2564 8. กิจกรรมจิตอาสา “Big Cleaning Day” เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2564d 9. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง “การดูแลผู้ป่วยในภาวะวิกฤต : Sepsis Anaphylaxis เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2564 10. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง “มาตรฐานสำคัญจำเป็นต่อผู้ป่วย 9 ข้อ กับการบริหารความเสี่ยง” เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2564 11. ส่งบุคลากร 4 ท่านร่วมประชุม HA Forum ครั้งที่ 21 เมื่อวันที่ 17-19 มีนาคม 2564 แบบ Virtual Conference HA Forum 21st ภายใต้หัวข้อ Enhancing Trust in Healthcare 12. อบรมปฏิบัติการ เรื่อง “การปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน” เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2564 13. ประชุมคณะกรมการพัฒนาคุณภาพชุดต่างๆ ประจำเดือนมีนาคม 2564 โรงพยาบาลคลองสามวา 1.ดำเนินการจัดทำ CQI ของแต่ละหน่วยยงาน 2.ดำเนินการจัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วยกลุ่มโรคสำคัญ(CPG) 3. อยู่ในขั้นตอนที่ 2 และเตรียมตรวจ presurvey 4. รองรับการตรวจ presurvey และปรับปรุงตามผู้เยี่ยมสำรวจแนะนำด้านENV ด้านการดูแลผู้ป่วย โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร 1. ส่งเอกสารต่าง ๆเพื่อใช้ประกอบการขอการรับรองคุณภาพ HA ขั้นที่1 ได้แก่ -เอกสารแสดงเจตจำนงค์การขอการรับรองคุณภาพ (Accreditation HA ขั้น1) -แบบประเมินตนเองของโรงพยาบาล -กิจกรรมทบทวน 12 กิจกรรม -เอกสารอื่น ๆที่เกี่ยวข้อง 2.โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้นและมาตรฐานการเคลื่อนย้าย วันที่ 21-22 มกราคม 2564 3.สร้าง Username ให้แก่บุคลากรในโรงพยาบาลเพื่อเข้าระบบรายงานความเสี่ยง 4.สมัครเข้าใช้งาน HSCS 5. อยู่ระหว่างจัดทำเอกสารประเมินตนเอง คู่มือ/แนวทางข้อปฏิบัติต่าง ๆ Gab analysis 6.อยู่ระหว่างการติดตั้งระบบการรายงานความเสี่ยง 7.เข้าร่วมประชุมวิชาการประจำปี ครั้งที่ 21 ของสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องค์การมหาชน) (HA Forum: Enhancing TRUST in Healthcare) ผ่านระบบ Virtual Conference ระหว่างวันที่ 17-19 มีนาคม 2564 โดยมีคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลและบุคลากรที่เกี่ยวข้องสลับเปลี่ยนหมุนเวียนเข้าร่วมการประชุม 8.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานพัฒนาคุณภาพ ดังนี้ - กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “การบริหารยา” เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2564 - กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “กิจกรรมทบทวน 12 กิจกรรม” เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2564
รายงานผลตามแบบรายงานความก้าวหน้ารายโครงการ/กิจกรรมของส่วนราชการ ไตรมาสที่ 3 มีผลการดำเนินงาน ดังนี้ รพข. ผลการดำเนินงาน รพ.ได้ดำเนินการเตรียมความพร้อมเข้าสู่กระบวนการรับรองคุณภาพสถานพยาบาลขั้นที่ 1 รวมทั้งส่งเอกสารประกอบคำขอรับรองและหนังสือแสดงความจำนงเพื่อขอรับรองคุณภาพสถานพยาบาลขั้นที่ 1 เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2564 แล้ว อยู่ระหว่างการประสานจากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) รพค. ผลการดำเนินงาน รพ.ได้ดำเนินการเตรียมความพร้อมเข้าสู่กระบวนการรับรองคุณภาพสถานพยาบาลขั้นที่ 1 รวมทั้งส่งเอกสารประกอบคำขอรับรองและหนังสือแสดงความจำนงเพื่อขอรับรองคุณภาพสถานพยาบาลขั้นที่ 1 - 2 เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2564 แล้ว อยู่ระหว่างการประสานจากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) รพบ. ผลการดำเนินงาน รพ.ได้ดำเนินการเตรียมความพร้อมเข้าสู่กระบวนการรับรองคุณภาพสถานพยาบาลขั้นที่ 1 รวมทั้งส่งเอกสารประกอบคำขอรับรองและหนังสือแสดงความจำนงเพื่อขอรับรองคุณภาพสถานพยาบาลขั้นที่ 1 เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2564 แล้ว อยู่ระหว่างการประสานจากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) ผลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงานทั้ง 3 โรงพยาบาลมีความก้าวหน้าเรื่องการเตรียมความพร้อมเข้าสู่กระบวนการรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ขั้นที่ 1 อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนมีการทบทวนผลงาน ความเสี่ยง และปัญหาเพื่อเตรียมการขอรับการรับรองกระบวนการคุณภาพสถานพยาบาล ขั้นที่ 1 ซึ่งเมื่อเทียบกับเกณฑ์ระดับความสำเร็จของตัวชี้วัด ที่กำหนด อยู่ที่ระดับ 5 เกณฑ์ร้อยละความสำเร็จ ร้อยละ 100
โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ 3 แห่ง ประกอบด้วย โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน โรงพยาบาลคลองสามวา โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร ได้ส่งหนังสือแสดงความจำนงเพื่อขอรับการรับรองกระบวนการคุณภาพสถานพยาบาล ขั้นที่ 1 ไปยังสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) เรียบร้อยแล้ว
๑.๖.๓ คนกรุงเทพฯทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เท่าเทียม มีคุณภาพ แ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โรงพยาบาลในสังกัดที่ผ่านมาตรฐานการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA) ซ้ำจากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) ต้องมีการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง และเป็นการเพิ่มขีดความสามารถให้แก่องค์กรในการดำเนินงานอันจะเอื้อประโยชน์ต่อผู้ใช้บริการของโรงพยาบาล และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการปฏิบัติงานของโรงพยาบาล ซึ่งโรงพยาบาลที่ครบวงรอบของการต่ออายุการรับรองกระบวนการคุณภาพ (Re Accreditation) ในปีนี้ มี 2 แห่ง คือ โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ และโรงพยาบาลสิราชพิพัฒน์ ผลการดำเนินงานด้านคุณภาพโรงพยาบาล มีดังนี้ 1. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ ติดตามแผนพัฒนาทีมและสรุปตัวชี้วัด ปรับปรุงข้อมูลSAR 2. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ 1.ทีมคุณภาพแต่ละทีมประชุมดำเนินการในส่วนที่รับผิดชอบ 2.เตรียมรวมรวมข้อมูลจัดทำเอกสารตามหลักเกณฑ์ขอรับการประเมินเพื่อต่ออายุการรับรอง 3.เตรียมจัดทีมเยี่ยมสำรวจภายใน 4.กระตุ้นทีมทางคลินิกการทบทวนอุบัติการณ์ความเสี่ยง
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โรงพยาบาลในสังกัดที่ผ่านมาตรฐานการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA) ซ้ำจากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) ต้องมีการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง และเป็นการเพิ่มขีดความสามารถให้แก่องค์กรในการดำเนินงานอันจะเอื้อประโยชน์ต่อผู้ใช้บริการของโรงพยาบาล และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการปฏิบัติงานของโรงพยาบาล ซึ่งโรงพยาบาลที่ครบวงรอบของการต่ออายุการรับรองกระบวนการคุณภาพ (Re Accreditation) ในปีนี้ มี 2 แห่ง คือ โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ และโรงพยาบาลสิราชพิพัฒน์ ผลการดำเนินงานด้านคุณภาพโรงพยาบาล มีดังนี้ โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ ดำเนินการดังนี้ 1. จัดกิจกรรม KM เรื่อง "2P Safety Hospital" ให้กับบุคลาการ 2. สำรวจการวินิจฉัยองค์การ(การนำองค์กร) สำหรับโรงพยาบาล 3. ร่วมประชุมแผนยุทธศาสตร์ของสำนักการแพทย์ 4. ประชุมแนวทางการปฏิบัติงานการคัดกรองผู้ป่วยติดเชื้อโคโรน่า Covid -19 5. ประชุมคณะกรรมการ ENV 6. สรุปรายงานข้อมูลตัวชี้วัด THIP ปี 2563 ในระบบ รพ. 7. จัดทำแบบประเมินตนเองศูนย์ราชการสะดวก(GECC) ปีงบประมาณ 2564 8. จัดทำเอกสารเกี่ยวกับ GECC เช่น คู่มือประชาชน, คู่มือ Call Center, ลงคำถามที่พบบ่อย FAG ในเว็บไซด์ของโรงพยาบาล 9. จัดทำแบบประเมินตนเองงานอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม ปี2564 10. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง "2P Safety Hospital"ในวันที่ 22 ก.พ.64 11. ปรับปรุงเอกสารคุณภาพด้านอาชีวอนามัยให้เป็นปัจจุบัน 12. ปรับปรุงเอกสารคุณภาพและนำข้อมูลลงใน Web site 13. ดำเนินการจัดโครงการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลฯ อย่างต่อเนื่อง ผลการดำเนินงานระหว่างวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2564 - 19 มีนาคม 2564 ดังนี้ 1. มีการจัดประชุมคณะกรรมกรรมการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล 2. มีการจัดโครงการอบรมป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล จำนวน 1 วัน ในวันที่ 12 มีนาคม 2564 ณ ห้องประชุม ชั้น 7 รพท. 3. มีการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การให้คำปรึกษาขั้นสูง และ Couple Counselling จำนวน 3 วัน 1 รุ่น ระหว่างวันที่ 16 - 18 มีนาคม 2564 ณ ห้องประชุม ชั้น 7 รพท. 4. มีการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การส่งเสริมศักยภาพบุคลากรเพื่อลดการตีตราผู้ที่ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ จำนวน 2 รุ่น ๆ 1 วัน รุ่นที่ 1 วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2564 และรุ่นที่ 2 วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2564 ณ ห้องประชุม ชั้น 7 รพท. 5. มีการจัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพทางคลินิกศัลยกรรม (PCT ศัลย์ฯ) 6. ปรับปรุงเอกสารคุณภาพด้านอาชีวอนามัยให้เป็นปัจจุบัน และ 7. ปรับปรุงเอกสารคุณภาพด้านแนวทางการปฏิบัติทางคลินิก เรื่อง แนวทางการวินิจฉัยและรักษาผู้ป่วยโรคปอดอักเสบ (Pneumonia) โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ ดำเนินการดังนี้ 1. ดำเนินการจัดทำเอกสารขอรับการประเมินกระบวนการคุณภาพ ตามที่ สรพ.กำหนด 2. เข้าร่วมโครงการที่ สรพ.เป็นเจ้าภาพ เช่น THIP, HSCS, PEP 3. ติดตามการดำเนินงานของคณะกรรมการชุดต่างๆด้านการพัฒนาคุณภาพ 4. แลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนแบบประเมินตนเองของหน่วยงาน 5. จัดทำเอกสารขอรับการประเมินการรับรองกระบวนการคุณภาพ 6. ประชุมติดตามผลการดำเนินการทีมนำด้านคุณภาพชุดต่างๆ 7. ดำเนินการจัดทำเอกสารขอรับการประเมินการรับรองกระบวนการคุณภาพ 8. แลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนแบบประเมินตนเอง 9. บุคลากรเข้าร่วมประชุมวิชาการประจำปี HA National Forum ครั้งที่ 21 ผ่านระบบ onlineวันที่ 16-19 มี.ค.64
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โรงพยาบาลในสังกัดที่ผ่านมาตรฐานการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA) ซ้ำจากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) ต้องมีการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง และเป็นการเพิ่มขีดความสามารถให้แก่องค์กรในการดำเนินงานอันจะเอื้อประโยชน์ต่อผู้ใช้บริการของโรงพยาบาล และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการปฏิบัติงานของโรงพยาบาล ซึ่งโรงพยาบาลที่ครบวงรอบของการต่ออายุการรับรองกระบวนการคุณภาพ (Re Accreditation) ในปีนี้ มี 2 แห่ง คือ โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ และโรงพยาบาลสิราชพิพัฒน์ โดยโรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ได้ส่งหนังสือแสดงความจำนงเพื่อขอรับการรับรองกระบวนการพยาบาลสถานพยาบาล เรียบร้อยแล้ว ผลการดำเนินงานด้านคุณภาพโรงพยาบาล มีดังนี้ โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ ดำเนินการดังนี้ 1. จัดทำหนังสือแสดงความจำนงเพื่อขอรับการรับรองกระบวนการพยาบาล สถานพยาบาล เลขที่หนังสือ กท 0608/1781ในวันที 12 พฤษภาคม 2564 2.ร่วมประชุมคณะทำงานจัดทำเกณฑ์และตรวจประเมินมาตรฐานตามแนวทางการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวช กรรมสิ่งแวดล้อม สำหรับสถานพยาบาลพื้นที่กรุงเทพมหานคร (Bangkok Environmemtal and Occupational Health BEOH) 3. ดำเนินการส่งบุคลากรเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรด้านการพัฒนาคุณภาพของสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องค์การมหาชน) เพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคลากรตามแผนการพัมนาบุคลากรประจำปี จำนวน2 หลักสูตร ดังนี้ 3.1 หลักสูตร HA 401 การเยี่ยมสำรวจภายในและการสร้างโค้ชเพื่อขับเคลื่อนคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (Internal Survey & Coaching for Continuous Quality Journey) รุ่นที่ 3 จำนวน 2 ราย ระหว่างวันที่ 9 – 11 มิถุนายน 2564 3.2 หลักสูตร HA 602 คุณภาพและความปลอดภัยทางคลินิก รุ่นที่ 3 จำนวน 3 ราย ระหว่างวันที่ 9 – 11 มิถุนายน 2564 4. จัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพทางคลินิก ด้านสูติกรรม – นรีเวชกรรม , ออร์โธปิดิกส์, ศัลยกรรม 5. ประชุมคณะกรรมการรับฟังความคิดเห็นและข้อร้องเรียน โรงพยาบาลหลวงพี่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ 6.จัดประชุมคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย ในวันที่ 29 เมษายน 2564 7.คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพสูติ-นรีเวชกรรม จัดซ้อมแผนการดูแลผู้ป่วยโควิด 19 กรณีเจ็บครรภ์คลอดที่ต้องผ่าตัดคลอด เพื่อรองรับสถานการณ์การดูแลผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ ในวันที่ 5 พฤษภาคม 2564 8.ได้รับการตรวจประเมินคุณภาพการให้บริการของกรุงเทพมหานคร ในโครงการ “ส่งยาถึงรถ(Drive Thru)” ในวันที่ 7 มิถุนายน 2564 9.ฝ่ายโภชนาการได้รับการตรวจประเมินเพื่อรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ตามนโยบายกรุงเทพมหานครเมือง อาหารปลอดภัย จากฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตหนองแขม ในวันที่ 9 มิถุนายน 2564 โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ ดำเนินการดังนี้ 1. ประสาน สรพ. เรื่องการตรวจเยี่ยมเพื่อขอรับการประเมินต่ออายุการรับรองคุณภาพ และตารางกำหนดการเยี่ยม 2. จัดทีมเยี่ยมสำรวจภายใน Internal Survey (IS) 3. ทีมนำระบบและทีมนำทางคลินิก นำเสนอผลงานพัฒนาคุณภาพ
สรุปผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ผลการดำเนินงานด้านคุณภาพโรงพยาบาล มีดังนี้ 1. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ โรงพยาบาลได้ดำเนินการส่งหนังสือแสดงความจำนงเพื่อขอรับรองกระบวนการคุณภาพ (ซ้ำ) ตามมาตรฐานโรงพยาบาล (Re Accreditation) เลขที่ กท 0609/1781 ลงวันที่ 12 พฤษภาคม 2564 ไปยังสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล องค์การมหาชน (สรพ.) เพื่อพิจารณาการต่ออายุการรับรอง และอยู่ระหว่างการกำหนดระยะเวลาในการประเมินรับรองคุณภาพจากสถาบันฯ 2. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ ได้รับการเยี่ยมสำรวจเพื่อต่ออายุการรับรองกระบวนการคุณภาพ (ซ้ำ) ตามมาตรฐานโรงพยาบาล (Re Accreditation) เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2564 รูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์และการประชุมออนไลน์ (Adjusted Survey) จากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล องค์การมหาชน (สรพ.) และอยู่ระหว่างการรอผลพิจารณาประเมินการรับรองคุณภาพจากสถาบันฯ
๑.๖.๓ คนกรุงเทพฯทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เท่าเทียม มีคุณภาพ แ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :50.00 ผลงาน :95.74 |
สำนักการแพทย์ ในฐานะหน่วยงานด้านการแพทย์และสาธารณสุข นอกจากดำเนินภารกิจด้านการรักษาพยาบาลแล้ว การพัฒนาองค์ความรู้ทางการแพทย์และสาธารณสุขถือเป็นภารกิจที่สำนักการแพทย์ให้ความสำคัญ ทั้งการสร้างผลงานวิจัย นวัตกรรม และ R2R ที่จะสามารถนำมาพัฒนาการให้บริการประชาชนได้ และในปัจจุบันสำนักการแพทย์เป็นสถาบันร่วมสอนเพื่อผลิตแพทย์ ทั้งในระดับปริญญาและหลังปริญญา ซึ่งบุคลากรของสำนักการแพทย์ต้องถูกส่งเสริมให้มีการพัฒนาทางวิชาการอย่างต่อเนื่องทั้งการสอน รักษา และค้นคว้าวิจัย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการยกระดับคุณภาพการรักษาพยาบาลของบุคลาการทางการแพทย์ให้เทียบเท่าโรงเรียนแพทย์ ส่วนราชการในสังกัดสำนักการแพทย์อยู่ระหว่างดำเนินการ
สำนักการแพทย์ ในฐานะหน่วยงานด้านการแพทย์และสาธารณสุข นอกจากดำเนินภารกิจด้านการรักษาพยาบาลแล้ว การพัฒนาองค์ความรู้ทางการแพทย์และสาธารณสุขถือเป็นภารกิจที่สำนักการแพทย์ให้ความสำคัญ ทั้งการสร้างผลงานวิจัย นวัตกรรม และ R2R ที่จะสามารถนำมาพัฒนาการให้บริการประชาชนได้ และในปัจจุบันสำนักการแพทย์เป็นสถาบันร่วมสอนเพื่อผลิตแพทย์ ทั้งในระดับปริญญาและหลังปริญญา ซึ่งบุคลากรของสำนักการแพทย์ต้องถูกส่งเสริมให้มีการพัฒนาทางวิชาการอย่างต่อเนื่องทั้งการสอน รักษา และค้นคว้าวิจัย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการยกระดับคุณภาพการรักษาพยาบาลของบุคลาการทางการแพทย์ให้เทียบเท่าโรงเรียนแพทย์ สำนักการแพทย์ ได้ดำเนินการให้ส่วนราชการจัดทำผลงานวิจัย / นวัตกรรม / R2R เพื่อนำไปใช้ในการปฏิบัติงาน ซึ่งผลการดำเนินการมีดังนี้ 1. ผลงานวิจัย จำนวน 5 ผลงาน 2. ผลงานนวัตกรรม จำนวน 5 ผลงาน 3. ผลงาน R2R จำนวน 1 ผลงาน ซึ่งจากการผลิตผลงานดังกล่าว พบว่ามีการนำผลงานวิจัย/ นวัตกรรม/R2R เพื่อนำไปใช้ในการปฏิบัติงาน ดังนี้ 1. ผลงานถูกนำไปใช้ในการปฏิบัติงาน จำนวน 6 ผลงาน 2. ผลงานไม่ถูกนำไปใช้ในการปฏิบัติงาน จำนวน 5 ผลงาน คิดเป็นร้อยละ 54.55
สำนักการแพทย์ ในฐานะหน่วยงานด้านการแพทย์และสาธารณสุข นอกจากดำเนินภารกิจด้านการรักษาพยาบาลแล้ว การพัฒนาองค์ความรู้ทางการแพทย์และสาธารณสุขถือเป็นภารกิจที่สำนักการแพทย์ให้ความสำคัญ ทั้งการสร้างผลงานวิจัย นวัตกรรม และ R2R ที่จะสามารถนำมาพัฒนาการให้บริการประชาชนได้ และในปัจจุบันสำนักการแพทย์เป็นสถาบันร่วมสอนเพื่อผลิตแพทย์ ทั้งในระดับปริญญาและหลังปริญญา ซึ่งบุคลากรของสำนักการแพทย์ต้องถูกส่งเสริมให้มีการพัฒนาทางวิชาการอย่างต่อเนื่องทั้งการสอน รักษา และค้นคว้าวิจัย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการยกระดับคุณภาพการรักษาพยาบาลของบุคลาการทางการแพทย์ให้เทียบเท่าโรงเรียนแพทย์ สำนักการแพทย์ ได้ดำเนินการให้ส่วนราชการจัดทำผลงานวิจัย / นวัตกรรม / R2R เพื่อนำไปใช้ในการปฏิบัติงาน ซึ่งผลการดำเนินการมีดังนี้ 1. ผลงานวิจัย จำนวน 0 ผลงาน 2. ผลงานนวัตกรรม จำนวน 6 ผลงาน 3. ผลงาน R2R จำนวน 0 ผลงาน ซึ่งจากการผลิตผลงานดังกล่าว พบว่ามีการนำผลงานวิจัย/ นวัตกรรม/R2R เพื่อนำไปใช้ในการปฏิบัติงาน ดังนี้ 1. ผลงานถูกนำไปใช้ในการปฏิบัติงาน จำนวน 6 ผลงาน 2. ผลงานไม่ถูกนำไปใช้ในการปฏิบัติงาน จำนวน 0 ผลงาน คิดเป็นร้อยละ 100
สำนักการแพทย์ ได้ดำเนินการให้ส่วนราชการจัดทำผลงานวิจัย / นวัตกรรม / R2R เพื่อนำไปใช้ในการปฏิบัติงาน โดยในปีงบประมาณ 2565 มีผลการดำเนินการรวมทั้งสิ้น 47 ผลงาน ดังนี้ 1. ผลงานวิจัย จำนวน 8 ผลงาน 2. ผลงานนวัตกรรม จำนวน 38 ผลงาน 3. ผลงาน R2R จำนวน 1 ผลงาน ซึ่งจากการผลิตผลงานดังกล่าว พบว่ามีการนำผลงานวิจัย/ นวัตกรรม/R2R เพื่อนำไปใช้ในการปฏิบัติงาน จำนวน 45 ผลงาน ไม่มีการนำไปใช้ในการปฏิบัติงาน จำนวน 2 ผลงาน คิดเป็นร้อยละ 95.74
๑.๖.๓ คนกรุงเทพฯทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เท่าเทียม มีคุณภาพ แ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :70.00 ผลงาน :0.00 |
1.โครงการปรับปรุงห้องผ่าตัดโรงพยาบาลกลาง โดยได้ดำเนินการ ดังนี้ 1.แต่งตั้งคณะกรรมการ เมื่อ 1ต.ค. 2563 2.นัดประชุมคณะกรรมการเพื่อเตรียมความพร้อม เมื่อ 5 ต.ค.2563 3.เผยแพร่แผนจัดซื้อจัดจ้าง เมื่อ 6 พ.ย. 2563 4.อยู่ในระหว่างคณะกรรมการดำเนินการกำหนดราคากลาง 2.โครงการก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์ โรงพยาบาลตากสิน ปัจจุบัน อยู่ระหว่างขั้นตอน งานดิน และงานเสาเข็ม โดยมีความก้าวหน้าของการดำเนินงาน ดังนี้ 1. งานรื้อถอนอาคารเดิม จำนวน 5 หลัง ทำได้ 98.76 % 2. งานทดสอบเสาเข็ม ทำได้ 0.11 จุด 3. งานเสาเข็มอาคาร จำนวน 100 ต้น ทำได้ 10 ต้น 4. งาน Pile Wall Dia 1.00 x 20 ม. จำนวน 200 ต้น ทำได้ 44 ต้น 3. โครงการเปิดให้บริการทางการแพทย์โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ขนาด 100 เตียง ปี 2564 1.กำลังอยู่ในขั้นตอนการจัดซื้อครุภัณฑ์ทางการแพทย์ เพื่อเพิ่มการให้บริการผู้ป่วย 2.มีการจัดให้บริการผู้ป่วยในจำนวน 30 เตียง ขณะนี้มียอดการให้บริการผู้ป่วยในเดือนพย จำนวน 87 ราย เฉลี่ย 2.9 รายต่อวันคาดว่าถ้ามีจำนวนผู้ป่วยในเพิ่มขึ้น จะมีการเปิดให้บริการผู้ป่วยในเพิ่มขึ้น. 3.มีแพทย์อายุกรรม ทางด้านอายุรกรรมทั่วไป 1 คน อายุรกรรมประสาท 1 คน และด้านผู้สูงอายุ 1คน รวมทั้งศัลยแพทย์กระดูกและข้อจำนวน 2 คน ทำให้สามารถให้บริการผู้ป่วยทางด้านโรคอายุรกรรมและทางด้านโรคกระดูกและข้อเพิ่มมากขึ้น ในอนาคตจะเปิดให้บริการผ่าตัดในผู้ป่วยกระดูกและข้อที่พบในผู้สูงอายุได้ ทำให้จำนวนผู้ป่วยในเพิ่มขึ้นได้
1. โครงการปรับปรุงห้องผ่าตัดโรงพยาบาลกลาง โดยได้ดำเนินการ ดังนี้ - แต่งตั้งประธานคณะกรรมการกำหนดแบบรูปรายการสำหรับประกวดราคาจ้างเหมาใหม่แทนท่านเดิมที่มีปัญหาด้านสุขภาพและแต่งตั้งเพิ่มเติมอีก 1 ท่าน 2.โครงการก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์ โรงพยาบาลตากสิน ปัจจุบัน อยู่ระหว่างขั้นตอน - งานเสาเข็มอาคาร Dia. 0.80 ม. และ Dia. 1.00 ม. - งานเสาเข็มแนวกำแพงกันดิน (PILE WALL) โดยมีความก้าวหน้า ดังนี้ 1. งานรื้อถอนอาคารเดิม จำนวน 5 หลัง ทำได้ 98.76 % 2. งานทดสอบเสาเข็ม ทำได้ 20 จุด 3. งานเสาเข็มอาคาร จำนวน 100 ต้น ทำได้ 152 ต้น (โดยงานเสาเข็มอาคาร มีทั้งหมด 272 ต้น) 4. งาน Pile Wall Dia 1.00 x 20 ม. จำนวน 200 ต้น ทำได้ 228 ต้น (โดยงาน Pile Wall Dia 1.00 x 20 ม. มีทั้งหมด 250 ต้น) 3. โครงการเปิดให้บริการทางการแพทย์โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ขนาด 100 เตียง ปี 2564 1.เร่งการจัดซื้อจัดจ้างครุภัณฑ์ทางการแพทย์ การดำเนินการคัดเลือกครุภัณฑ์ทางการแพทย์ การประชุมปัญหาในการจัดซื้อจัดจ้างไม่ทันตามกำหนด 2. เร่งการจัดทำรายละเอียดและการจัดซื้อระบบคอมพิวเตอร์ ร่วมกับเครื่องพิมพ์ เครื่องทำบัตรคิวเพื่อเตรียมรองรับการขยายบริการ 3. การประชุมแนวทางการพัฒนาบริการ เพื่อขยายการเปิดบริการในสาขาที่จำเป็น เช่น ศัลยกรรมกระดูก โดยเปิดคลินิกโรคกระดูกและข้อเพิ่มศัลยกรรมทั่วไปในการทำแผล เปิดให้บริการห้องผ่าตัดเล็กเพื่อทำแผลเบาหวานที่เท้า 4. วางแผนเปิดบริการผู้ป่วยใน และ intermediate care unit เพื่อให้บริการผู้ป่วยทั่วไปและผู้สูงอายุ1.กำลังอยู่ในขั้นตอนการจัดซื้อครุภัณฑ์ทางการแพทย์ เพื่อเพิ่มการให้บริการผู้ป่วย 2.มีการจัดให้บริการผู้ป่วยในจำนวน 30 เตียง ขณะนี้มียอดการให้บริการผู้ป่วยในเดือนพย จำนวน 87 ราย เฉลี่ย 2.9 รายต่อวันคาดว่าถ้ามีจำนวนผู้ป่วยในเพิ่มขึ้น จะมีการเปิดให้บริการผู้ป่วยในเพิ่มขึ้น. 3.มีแพทย์อายุกรรม ทางด้านอายุรกรรมทั่วไป 1 คน อายุรกรรมประสาท 1 คน และด้านผู้สูงอายุ 1คน รวมทั้งศัลยแพทย์กระดูกและข้อจำนวน 2 คน ทำให้สามารถให้บริการผู้ป่วยทางด้านโรคอายุรกรรมและทางด้านโรคกระดูกและข้อเพิ่มมากขึ้น ในอนาคตจะเปิดให้บริการผ่าตัดในผู้ป่วยกระดูกและข้อที่พบในผู้สูงอายุได้ ทำให้จำนวนผู้ป่วยในเพิ่มขึ้นได้
โครงการปรับปรุงห้องผ่าตัดโรงพยาบาลกลาง (รพก.) อยู่ระหว่างดำเนินการในขั้นตอนที่ 2 ร่างขอบเขตของงาน/รายละเอียดพัสดุและร่างเอกสารเชิญชวน คิดเป็นร้อยละ 25 ผลการดำเนินงานมีดังนี้ 1. แก้ไขเปลี่ยนรายชื่อคณะกรรมการกำหนดรูปแบบรายการสำหรับประกวดราคาจ้างเหมาและราคากลาง เนื่องจากคณะกรรมการเดิมลาออกจากราชการ 2. คณะกรรมการกำหนดราคากลาง ได้ตรวจสอบความถูกต้อง และลงนามเรียบร้อยแล้ว โดยคณะกรรมการการกำหนดรูปแบบรายการสำหรับประกวดราคาจ้างเหมาปรับปรุงห้องผ่าตัด อยู่ระหว่างการพิจารณาลงนาม 3. อยู่ระหว่างกำลังดำเนินการตามแนวทางปฏิบัติตามกฎกระทรวงกำหนดพัสดุและวิธีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่รัฐต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน (ฉบับที่2) พ.ศ.2563 (ว.89) โครงการก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์ โรงพยาบาลตากสิน (รพต.) ผลการดำเนินงานมีดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 งานรื้อถอนอาคารเดิม จำนวน 5 หลัง 1. งานรื้อถอนอาคารเดิม จำนวน 5 หลัง ทำได้ 100 % ขั้นตอนที่ 2 งานทดสอบเสาเข็ม 2. งานทดสอบเสาเข็ม ทำได้ 20 จุด ขั้นตอนที่ 3 งานเสาเข็มอาคาร จำนวน 100 ต้น 3. งานเสาเข็มอาคาร จำนวน 100 ต้น ทำได้ 272 ต้น (โดยงานเสาเข็มอาคาร มีทั้งหมด 272 ต้น) ขั้นตอนที่ 4 งาน Pile Wall Dia 1.00x20 ม.จำนวน 200 ต้น 4. งาน Pile Wall Dia 1.00 x 20 ม. จำนวน 200 ต้น ทำได้ 250 ต้น (โดยงาน Pile Wall Dia 1.00 x 20 ม. มีทั้งหมด 250 ต้น) โครงการเปิดให้บริการทางการแพทย์โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียนขนาด 100 เตียง ปี 2564 ชะลอโครงการ เนื่องจาก มีการขยายการบริการโรงพยาบาลสนาม เพื่อรองรับผู้ป่วยโควิด จำนวน 1000 เตียง ทำให้ต้องหยุดการให้บริการผู้ป่วยในและห้องฉุกเฉิน ตั้งแต่วันที่ 16 เมษายน และหยุดให้บริการผู้ป่วยนอกตั้งแต่วันที่ 22 เมษายน ทำให้ต้องชะลอโครงการไว้ก่อนจนกว่าสถานการณ์จะคลี่คลาย โดยดำเนินการตามขั้นตอนการปฏิบัติงานได้ทั้งหมด 3 ขั้นตอน คิดเป็นร้อยละ 50 ผลการดำเนินงานมี ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 จัดทำแผนงานเพื่อขออนุมัติจากผู้บริหาร ขั้นตอนที่ 2 แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อมอบหมายงาน ขั้นตอนที่ 3 จัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์เครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์เตรียมความพร้อมด้านบุคลากรและเอกสาร ต่าง ๆ 1. ติตตามการขอซื้อครุภัณฑ์เพื่อขยายบริการจำนวนผู้ป่วยในเพิ่ม ตั้งคณะกรรมการในการจัดซื้อยาและวัสดุครุภัณฑ์ ประชาสัมพันธ์ทางเฟสบุคของโรงพยาบาลเพื่อให้ประชาชนเข้ามารับบริการเพิ่ม และมีการเปิดศูนย์เวชศาสตร์ผู้สูงอายุเพื่อขยายบริการของโรงพยาบาล 2. จัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์เครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์และสาธารณสุขโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน • กำลังดำเนินการจัดซื้อครุภัณฑ์ทางการแพทย์ และเตรียมสถานที่เพื่อขยายการให้บริการผู้ป่วยในเพิ่มจากจำนวนเตียง 30 เตียง กำหนดจะขยายเป็น 60 เตียง • มีการให้เปิดให้บริการห้องอุบัติเหตุและฉุกเฉิน 24 ชั่วโมง มีการให้บริการคลินิกผู้ป่วยเฉพาะทาง เช่น คลินิกเบาหวาน ศูนย์เวชศาสตร์ผู้สูงอายุ คลินิกกระดูกและข้อ และมีแพทย์เฉพาะทาง เช่น อายุรแพทย์ทั่วไป อายุรแพทย์ทางระบบประสาท อายุรแพทย์ด้านผู้สูงอายุ ศัลยแพทย์กระดูก ทำให้โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียนให้บริการผู้ป่วยได้จำนวนมากขี้น มีผลทำให้จำนวนผู้ป่วยที่ต้องนอนโรงพยาบาลมีจำนวนมากขึ้น • มีการจัดตั้งกรรมการพัฒนาบริการทางการแพทย์ กรรมการสิ่งแวดล้อม เพื่อติดตามการขยายการให้บริการจากจำนวน 30 เตียง เป็น 60 เตียง มีการติดตามครุภัณฑ์ทางการแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ที่จะเข้ามาให้บริการในส่วนที่ขยายการให้บริการ แต่เนื่องจากกรุงเทพมหานครกำหนดให้โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียนเป็นโรงพยาบาลสนาม ทำให้การขยายการให้บริการผู้ป่วยจากจำนวน 30 เตียงเป็นจำนวน 60 เตียง ต้องชะลอไว้ก่อน • มีการประชุมคณะกรรมการบริการทางการแพทย์ เพื่อขยายการให้บริการห้องตรวจ การขยายบริการการตรวจทางห้องปฏิบัติการ การขยายบริการทางรังสีแก่ประชาชนที่มารับบริการ มีการประชุมคณะกรรมการบริหารโดยมีส่วนที่ติดตามการจัดซื้อจัดจ้างครุภัณฑ์ทางการแพทย์ประจำทุกเดือน • มีการตั้งคณะกรรมการพัฒนาบริการทางการแพทย์ และมีคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม ประชุมเพื่อพิจารณาการเปิดบริการ ติดตามการจัดซื้อจัดจ้างครุภัณฑ์ทางการแพทย์ ที่เกี่ยวกับการให้บริการผู้ป่วยเช่น ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบงานห้องคลอด ระบบงานห้องผ่าตัด มีการส่งหลักฐานเข้ารับการประเมินจากสปสช.เพื่อเป็นโรงพยาบาลรับส่งต่อและหน่วยปฐมภูมิ มีการเปิดรับบุคลากรทางการแพทย์เพิ่มเพื่อทำงานในหน่วยให้บริการผู้ป่วยเพิ่ม
โครงการที่สามารถดำเนินการตามขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการในปี 2564 จำนวน 0 โครงการ จากโครงการทั้งหมด จำนวน 3 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 0
๑.๖.๓ คนกรุงเทพฯทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เท่าเทียม มีคุณภาพ แ | |
![]() |
หน่วยนับ :≥ร้อยละ เป้าหมาย :95.00 ผลงาน :99.96 |
โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทั้ง 8 แห่ง ได้ส่งเสริมการเข้าถึงระบบบริการในการดูแลรักษาสุขภาพของประชาชนในกรุงเทพมหานคร โดยมีการพัฒนาระบบส่งต่อระหว่างศูนย์บริการสาธารณสุขกับโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงระบบบริการเป็นการสร้างมาตรฐานบริการสาธารณสุขในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีการประชุมปรึกษาหารือแนวทางในการส่งต่อผู้ป่วย ตลอดจนปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน และร่วมกันพัฒนาแนวทางในการส่งต่อเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน โดยมีผลการดำเนินงาน ดังนี้ 1.โรงพยาบาลกลาง - ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 5,586 ราย - โรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 5,586 ราย - คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 100 2.โรงพยาบาลตากสิน - ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 46,356 ราย - โรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 46,356 ราย - คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 100 3.โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ - ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 41,858 ราย - โรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 41,858 ราย - คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 100 4.โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ - ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 550 ราย - โรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 550 ราย - คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 100 5.โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ อยู่ระหว่างดำเนินการ 6.โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร - ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 252 ราย - โรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 252 ราย - คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 100 7.โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ - ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 346 ราย - โรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 346 ราย - คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับ ร้อยละ 100 8.โรงพยาบาลสิรินธร - ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 7,502 ราย - โรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 7,502 ราย - คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 100 10. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียนอยู่ระหว่างดำเนินการ 11. โรงพยาบาลคลองสามวา อยู่ระหว่างประชุมคณะทำงานพัฒนาเครือข่ายระบบบริการทางการแพทย์และระบบส่ง - สรุปในภาพรวมศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 102,444 ราย และโรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุขได้ จำนวน 102,444 ราย สรุปคิดเป็นความสำเร็จของการส่งต่อผู้ป่วยร้อยละ 100 โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์เล็งเห็นถึงความสำคัญและความจำเป็นของระบบส่งต่อผู้ป่วย ได้อย่างทันท่วงที เนื่องจากจะสามารถลดการสูญเสีย สร้างความปลอดภัยสำหรับผู้ป่วย และผู้ป่วยได้รับการรักษาที่มีประสิทธิภาพ แต่หากการส่งต่อมีความล่าช้าอาจก่อให้เกิดปัญหาหรือเกิดการสูญเสียถึงแก่ชีวิตได้ จากข้อมูลสถิติการรายงานผู้ป่วยระบบส่งต่อของสำนักการแพทย์ พบว่า กลุ่มโรคที่เป็นปัญหาสำคัญในการส่งต่อผู้ป่วยสูงสุด ได้แก่ อุบัติเหตุ ศัลยกรรมประสาทและสมอง หลอดเลือดหัวใจ ทารกคลอดก่อนกำหนด และออร์โธปิดิกส์ โดยมีผลการดำเนินงานส่งต่อระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ดังนี้ ด้านการส่งต่อผู้ป่วยอุบัติเหตุ จำนวน 27 ราย ส่งต่อสำเร็จ 24 ราย ส่งต่อไม่สำเร็จ 3 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จในการส่งต่อผู้ป่วย เท่ากับ 88.89 ด้านการส่งต่อผู้ป่วยศัลยกรรมประสาทและสมอง จำนวน 123 ราย ส่งต่อสำเร็จ 119 ราย ส่งต่อไม่สำเร็จ 4 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จในการส่งต่อผู้ป่วย เท่ากับ 96.75 ด้านการส่งต่อทารกคลอดก่อนกำหนด จำนวน 6 ราย ส่งต่อสำเร็จ 6 ราย ส่งต่อไม่สำเร็จ 0 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จในการส่งต่อผู้ป่วย เท่ากับ 100 ด้านการส่งต่อออร์โธปิดิกส์ จำนวน 13 ราย ส่งต่อสำเร็จ 12 ราย ส่งต่อไม่สำเร็จ 1 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จในการส่งต่อผู้ป่วย เท่ากับ 92.31 สรุปส่งต่อทั้งหมด 169 ราย สำเร็จ 161 ราย ส่งต่อไม่สำเร็จ จำนวน 8 ราย คิดเป็นความสำเร็จของการส่งต่อระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ คิดเป็นร้อยละ 95.27 สรุปในภาพรวมความสำเร็จในการส่งต่อระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลนอกสังกัดสำนักการแพทย์ คิดเป็นร้อยละ 99.99 ดังนี้ ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 102,444 ราย และโรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุขได้ จำนวน 102,444 รายคิดเป็น ร้อยละ 100 และผู้ป่วยส่งต่อ 4 โรคสำคัญที่ต้องการส่งต่อทั้งหมดจำนวน 169 ราย ส่งต่อสำเร็จจำนวน 161 ราย ส่งต่อไม่สำเร็จ จำนวน 8 ราย คิดเป็นร้อยละ 95.27
- ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 102,101 ราย และโรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุขได้ จำนวน 99,590 รายคิดเป็น ร้อยละ 97.54 - ผู้ป่วยส่งต่อ 4 โรคสำคัญที่ต้องการส่งต่อทั้งหมดจำนวน 320 ราย ส่งต่อสำเร็จจำนวน 312 ราย ส่งต่อไม่สำเร็จ จำนวน 8 ราย คิดเป็นร้อยละ 97.50 - สรุปในภาพรวมความสำเร็จในการส่งต่อระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลนอกสังกัดสำนักการแพทย์ คิดเป็นร้อยละ 97.54
- ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 67,720 ราย และโรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุขได้ จำนวน 67,346 รายคิดเป็น ร้อยละ 99.45 - ผู้ป่วยส่งต่อ 4 โรคสำคัญที่ต้องการส่งต่อทั้งหมดจำนวน 168 ราย ส่งต่อสำเร็จจำนวน 167 ราย ส่งต่อไม่สำเร็จ จำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 99.40 - สรุปในภาพรวมความสำเร็จในการส่งต่อระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลนอกสังกัดสำนักการแพทย์ คิดเป็นร้อยละ 99.45
งต่อระหว่างโรงพยาบาลในและนอกสังกัดสำนักการแพทย์ทั้งหมด 883 ราย สำเร็จ 842 ราย คิดเป็นร้อยละ 95.36 สรุปความสำเร็จในการส่งต่อระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ศูนย์บริการสาธารณสุข และโรงพยาบาลนอกสังกัด มีการส่งต่อผู้ป่วยทั้งสิ้น 449,684 ราย สำเร็จ 449,491 ราย คิดเป็นร้อยละ 99.96
๑.๖.๓ คนกรุงเทพฯทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เท่าเทียม มีคุณภาพ แ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :5.00 ผลงาน :13.59 |
สำนักการแพทย์ให้บริการด้านการรักษาผู้ป่วย และให้คำปรึกษาด้านการรักษาผู้ป่วยผ่านระบบโทรเวชกรรม (Telemedicine) ของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์โดยมีกลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย 1. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ควบคุมได้ ได้แก่ กลุ่มโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงและ โรคไขมันในเลือดสูง เป็นต้น 2. ผู้ป่วยกลุ่มที่มีความเหมาะสมกับการรักษาด้วยระบบโทรเวชกรรม ได้แก่ ผู้ป่วยโรคผิวหนังเรื้อรัง ผู้ป่วย ARV และผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรัง เป็นต้น 3. ผู้ป่วยติดเตียงที่เป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคไขมันในเลือดสูงเป็นต้น โดยใช้ฐานข้อมูลผู้ป่วยที่มารับบริการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตามกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดและมารับบริการมากกว่า 1 ครั้ง (ผู้ป่วยเก่า) ในผู้ป่วยสิทธิประกันสังคมและผู้ป่วยสิทธิหลักประกันสุขภาพ และแพทย์พิจารณาแล้วเห็นว่าสามารถรับบริการทางระบบโทรเวชกรรม (Telemedicine) ได้ การให้บริการด้านการรักษาผู้ป่วย และให้คำปรึกษาด้านการรักษาผู้ป่วยผ่านระบบโทรเวชกรรม (Telemedicine) ของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวน 8 แห่ง ดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง 2. โรงพยาบาลตากสิน 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินธฺโร อุทิศ 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ 8. โรงพยาบาลสิรินธร โดยมีผู้รับบริการจำนวน 868 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 0.648 ของผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมาย
สำนักการแพทย์ให้บริการด้านการรักษาผู้ป่วย และให้คำปรึกษาด้านการรักษาผู้ป่วยผ่านระบบโทรเวชกรรม (Telemedicine) ของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์โดยมีกลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย 1. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ควบคุมได้ ได้แก่ กลุ่มโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงและ โรคไขมันในเลือดสูง เป็นต้น 2. ผู้ป่วยกลุ่มที่มีความเหมาะสมกับการรักษาด้วยระบบโทรเวชกรรม ได้แก่ ผู้ป่วยโรคผิวหนังเรื้อรัง ผู้ป่วย ARV และผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรัง เป็นต้น 3. ผู้ป่วยติดเตียงที่เป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคไขมันในเลือดสูงเป็นต้น โดยใช้ฐานข้อมูลผู้ป่วยที่มารับบริการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตามกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดและมารับบริการมากกว่า 1 ครั้ง (ผู้ป่วยเก่า) ในผู้ป่วยสิทธิประกันสังคมและผู้ป่วยสิทธิหลักประกันสุขภาพ และแพทย์พิจารณาแล้วเห็นว่าสามารถรับบริการทางระบบโทรเวชกรรม (Telemedicine) ได้ การให้บริการด้านการรักษาผู้ป่วย และให้คำปรึกษาด้านการรักษาผู้ป่วยผ่านระบบโทรเวชกรรม (Telemedicine) ของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวน 8 แห่ง ดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง 2. โรงพยาบาลตากสิน 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินธฺโร อุทิศ 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ 8. โรงพยาบาลสิรินธร โดยมีผู้รับบริการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 – เดือนกุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 2,785 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 2.63 ของผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมาย
สำนักการแพทย์ให้บริการด้านการรักษาผู้ป่วย และให้คำปรึกษาด้านการรักษาผู้ป่วยผ่านระบบโทรเวชกรรม (Telemedicine) ของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์โดยมีกลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย 1. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ควบคุมได้ ได้แก่ กลุ่มโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงและ โรคไขมันในเลือดสูง เป็นต้น 2. ผู้ป่วยกลุ่มที่มีความเหมาะสมกับการรักษาด้วยระบบโทรเวชกรรม ได้แก่ ผู้ป่วยโรคผิวหนังเรื้อรัง ผู้ป่วย ARV และผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรัง เป็นต้น 3. ผู้ป่วยติดเตียงที่เป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคไขมันในเลือดสูงเป็นต้น โดยใช้ฐานข้อมูลผู้ป่วยที่มารับบริการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตามกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดและมารับบริการมากกว่า 1 ครั้ง (ผู้ป่วยเก่า) ในผู้ป่วยสิทธิประกันสังคมและผู้ป่วยสิทธิหลักประกันสุขภาพ และแพทย์พิจารณาแล้วเห็นว่าสามารถรับบริการทางระบบโทรเวชกรรม (Telemedicine) ได้การให้บริการด้านการรักษาผู้ป่วย และให้คำปรึกษาด้านการรักษาผู้ป่วยผ่านระบบโทรเวชกรรม (Telemedicine) ของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวน 8 แห่ง ดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง 2. โรงพยาบาลตากสิน 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินธฺโร อุทิศ 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ 8. โรงพยาบาลสิรินธร โดยมีผู้รับบริการระหว่างวันที่ 1 เมษายน - 20 มิถุนายน 2564 จำนวน 14,391 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 13.59 ของผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมาย ระดับความสำเร็จ ระดับที่ 5 เกณฑ์ร้อยละความสำเร็จ ร้อยละ 100
๑.๖.๔ ประชาชนได้รับบริการช่วยเหลือฉุกเฉินเมื่อเกิดอุบัติเหตุและเจ็บป่วยขั้นวิกฤต | |
![]() |
หน่วยนับ :≥ ร้อยละ เป้าหมาย :95.00 ผลงาน :89.87 |
1. จำนวนผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (สีแดง) ที่ได้รับบริการขั้นสูงภายใน 10 นาที ภายในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร จำนวน 1,026 ราย จำนวนผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (สีแดง) ที่ได้รับบริการขั้นสูงทั้งหมดภายในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร จำนวน 4,153 ราย คิดเป็นร้อยละ 24.71 2. จำนวนผู้ป่วยฉุกเฉิน (สีเหลืองและสีเขียว) ที่ได้รับบริการขั้นพื้นฐานภายใน 15 นาที ภายในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร จำนวน 2,919 ราย จำนวนผู้ป่วยฉุกเฉิน (สีเหลืองและสีเขียว) ที่ได้รับบริการขั้นพื้นฐานทั้งหมดในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร จำนวน 4,139 ราย คิดเป็นร้อยละ 70.52
1.จำนวนผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (สีแดง) ที่ได้รับบริการขั้นสูงภายใน 10 นาที ภายในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร จำนวน 2,340 ราย จำนวนผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (สีแดง) ที่ได้รับบริการขั้นสูงทั้งหมดภายในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร จำนวน 9,868 ราย คิดเป็นร้อยละ 23.71 2.จำนวนผู้ป่วยฉุกเฉิน (สีเหลืองและสีเขียว) ที่ได้รับบริการขั้นพื้นฐานภายใน 15 นาที ภายในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร จำนวน 6,856 ราย จำนวนผู้ป่วยฉุกเฉิน (สีเหลืองและสีเขียว) ที่ได้รับบริการขั้นพื้นฐานทั้งหมดในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร จำนวน 9,649 ราย คิดเป็นร้อยละ 71.05
1.จำนวนผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (สีแดง) ที่ได้รับบริการขั้นสูงภายใน 10 นาที ภายในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร จำนวน 3,462 ราย จำนวนผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (สีแดง) ที่ได้รับบริการขั้นสูงทั้งหมดภายในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร จำนวน 14,658 ราย คิดเป็นร้อยละ 23.62 2.จำนวนผู้ป่วยฉุกเฉิน (สีเหลืองและสีเขียว) ที่ได้รับบริการขั้นพื้นฐานภายใน 15 นาที ภายในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร จำนวน 10,247 ราย จำนวนผู้ป่วยฉุกเฉิน (สีเหลืองและสีเขียว) ที่ได้รับบริการขั้นพื้นฐานทั้งหมดในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร 14,464 ราย คิดเป็นร้อยละ 70.84
ในปีงบประมาณ 2564 (1 ตุลาคม 2563 – 31 สิงหาคม 2564 ) มีสถิติผลการออกปฏิบัติการของเครือข่ายระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานครในภาพรวมทั้งระบบฯ ดังนี้ ระดับ Advanced (ALS) - จำนวนผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (สีแดง) ที่ได้รับบริการขั้นสูงภายใน 10 นาที ภายในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร ทั้งหมด 3,846 ครั้ง - จำนวนผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (สีแดง) ที่ขอรับบริการทั้งหมดภายในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร ทั้งหมด 17,540 ครั้ง - คิดเป็นร้อยละ 3,846/17,540*100 = 21.93 % ระดับ Basic (BLS) - จำนวนผู้ป่วยฉุกเฉิน (สีเหลืองและสีเขียว) ที่ได้รับบริการขั้นพื้นฐานภายใน 15 นาที ภายในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร จำนวน 12,254 ครั้ง - จำนวนผู้ป่วยฉุกเฉิน (สีเหลืองและสีเขียว) ที่ขอรับบริการทั้งหมดในระยะทางถึงจุดเกิดเหตุ 10 กิโลเมตร จำนวน 18,037 ครั้ง - คิดเป็นร้อยละ 12,254/18,037*100 = 67.94 %
๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :40.00 ผลงาน :75.59 |
ดประชุมคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ สำนักการแพทย์ เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2563 เพื่อพิจารณาแนวทางการดำเนินงานโครงการ กทม.ใส่ใจ ผู้สูงวัย หัวใจแกร่ง ในปี 2564 โดยจะเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานเข้าร่วม ได้แก่ ศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย สำนักงานเขต สำนักพัฒนาสังคม และอยู่ระหว่างการจัดเตรียมเอกสารประกอบการประชุมดังกล่าว
จำนวนผู้สูงอายุที่พบปัญหาจากการประเมินที่คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและได้รับการแก้ไขปัญหาที่ค้นพบได้สำเร็จ 135 ราย จำนวน ผู้สูงอายุที่พบปัญหาจากการประเมินที่คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ และได้รับการส่งต่อทั้งหมด ในปีงบประมาณเดียวกัน 165 ราย คิดเป็นร้อยละ 81.82
จำนวนผู้สูงอายุที่พบปัญหาจากการประเมินที่คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและได้รับการแก้ไขปัญหาที่ค้นพบได้สำเร็จ 138 ราย จำนวน ผู้สูงอายุที่พบปัญหาจากการประเมินที่คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ และได้รับการส่งต่อทั้งหมด ในปีงบประมาณเดียวกัน 201 ราย คิดเป็นร้อยละ 68.66
โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ได้ดำเนินโครงการ กทม.ใส่ใจ ผู้สูงวัย หัวใจแกร่ง จำนวน 10 แห่งโดยผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง Geriatric Assessment จำนวนทั้งหมด 9,233 ราย ผู้สูงอายุที่พบปัญหาจากการคัดกรองเข้าเงื่อนไขในการส่งต่อ และได้รับการส่งต่อเพื่อดูแลต่อเนื่องที่บ้านทั้งหมด จำนวน 299 ราย และได้รับการแก้ไขปัญหาได้สำเร็จ จำนวน 226 ราย คิดเป็นร้อยละ 75.59
๓.๑.๒ มีระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :40.00 ผลงาน :75.59 |
ดประชุมคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ สำนักการแพทย์ เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2563 เพื่อพิจารณาแนวทางการดำเนินงานโครงการ กทม.ใส่ใจ ผู้สูงวัย หัวใจแกร่ง ในปี 2564 โดยจะเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานเข้าร่วม ได้แก่ ศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย สำนักงานเขต สำนักพัฒนาสังคม และอยู่ระหว่างการจัดเตรียมเอกสารประกอบการประชุมดังกล่าว
จำนวนผู้สูงอายุที่พบปัญหาจากการประเมินที่คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและได้รับการแก้ไขปัญหาที่ค้นพบได้สำเร็จ 135 ราย จำนวน ผู้สูงอายุที่พบปัญหาจากการประเมินที่คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ และได้รับการส่งต่อทั้งหมด ในปีงบประมาณเดียวกัน 165 ราย คิดเป็นร้อยละ 81.82
จำนวนผู้สูงอายุที่พบปัญหาจากการประเมินที่คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและได้รับการแก้ไขปัญหาที่ค้นพบได้สำเร็จ 138 ราย จำนวน ผู้สูงอายุที่พบปัญหาจากการประเมินที่คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ และได้รับการส่งต่อทั้งหมด ในปีงบประมาณเดียวกัน 201 ราย คิดเป็นร้อยละ 68.66
โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ได้ดำเนินโครงการ กทม.ใส่ใจ ผู้สูงวัย หัวใจแกร่ง จำนวน 10 แห่งโดยผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง Geriatric Assessment จำนวนทั้งหมด 9,233 ราย ผู้สูงอายุที่พบปัญหาจากการคัดกรองเข้าเงื่อนไขในการส่งต่อ และได้รับการส่งต่อเพื่อดูแลต่อเนื่องที่บ้านทั้งหมด จำนวน 299 ราย และได้รับการแก้ไขปัญหาได้สำเร็จ จำนวน 226 ราย คิดเป็นร้อยละ 75.59
๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :40.00 ผลงาน :0.00 |
กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี สำนักการแพทย์จึงได้จัดตั้งและพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพขึ้น ตั้งแต่ปี 2557 โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาระบบบริการแก่ผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุมบริการแบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากนี้สำนักการแพทย์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จัดทำเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพเฉลิมพระเกียรติ 86 พรรษา พระบรมราชินีนาถ เพื่อพัฒนามาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและสนับสนุนการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยเกณฑ์การประเมิน 20 ข้อ ดังนี้ 1. มีสถานที่ชัดเจนเป็นสัดส่วนในแบบการบริการผู้ป่วยนอก 2. สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น ป้าย ราวจับ ทางลาด ห้องน้ำ 3. เปิดบริการอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ 4. พยาบาลที่ดำเนินงานเคยผ่านการฝึกอบรมเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 5. ทีมสหสาขาวิชาชีพ เช่น แพทย์ กายภาพบำบัด เภสัชกร 6. รวบรวมจำนวน case geriatric syndrome ทุก 3 เดือน 7. Geriatric Assessment ; ADL 8. Geriatric Assessment ; cognitive impairment 9. ประเมินความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกผู้สูงอายุ 10.บุคลากรที่ให้การดูแลผู้ป่วยในคลินิกผู้สูงอายุ ได้รับการฝึกอบรมอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง 11. คัดกรอง incontinence 12. คัดกรอง fall 13. คัดกรอง malnutrition 14. คัดกรอง depression 15. มีแพทย์รับผิดชอบ 16. มีฐานข้อมูลผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ (เป็นฐานข้อมูลผู้สูงอายุของโรงพยาบาล ได้แก่ ประชากรผู้สูงอายุ UC / catch up area /กลุ่มชมรมผู้สูงอายุ) 17. ความครอบคลุมของ vaccine ไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มผู้สูงอายุ 18. งานวิชาการ /วิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุ /นำเสนอ presentation (ทีมสหสาขาวิชาชีพที่ร่วมดูแลงานคลินิกผู้สูงอายุ เป็น co) 19. นวัตกรรมเกี่ยวกับผู้สูงอายุ 20. ส่งปรึกษาภายในโรงพยาบาลกับทีมคลินิกผู้สูงอายุ ทั้งนี้ เกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุ ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินระดับเงินและระดับทอง 16 ข้อ ใน 20 ข้อและต้องได้คะแนนตั้งแต่ 35 คะแนนขึ้นไป โดยในปี 2564 โรงพยาบาลที่ต้องผ่านการประเมินคลินิกผู้สูงอายุผุ้สูงอายุระดับทองขึ้นไป ตำรสร 4 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลกลาง โรงพยาบาลตากสิน โรงพยาบาลเจริญกรุงฯ โรงพยาบาลสิรินธร และโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน โดยอยู่ระหว่างดำเนินการ ดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง อยู่ระหว่างการเก็บข้อมูลการประเมินผู้สูงอายุรายไตรมาส และมีการประชุมผู้บริหารเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ มีการประชุมสหสาขาวิชาชีพเพื่อแก้ปัญหาของผู้สูงอายุทุกเดือน 2. โรงพยาบาลตากสิน อยู่ในระหว่างการดำเนินงานประชุมทีมเพื่อตอบรับการประเมิน - อยู่ในระหว่างการส่งบุคลากรเข้ารับการอบรมตามเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ - อยู่ในระหว่างการดำเนินงานส่งผลงานประกวดนวัตกรรม จำนวน 2 ผลงาน - อยู่ในระหว่างการดำเนินการก่อสร้างอาคารโครงสร้างเหล็กสำหรับหน่วยเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงฯ ดำเนินการตามเกณฑ์การพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ ของ สนพ. อย่างต่อเนื่อง 4. โรงพยาบาลสิรินธร 1. สถานที่ : ห้องตรวจคลินิกผู้สูงอายุ ชั้น 2 ตึกอำนวยการ โรงพยาบาลสิรินธร โดยให้บริการในรูปแบบผู้ป่วยนอก 2. วัน-เวลาทำการ : ทุกวันพุธ และศุกร์ เวลา 8.00 – 12.00 น. 3. สิ่งอำนวยความสะดวก : ครบทั้ง 4 ข้อ ตามเกณฑ์การประเมินคลินิก ได้แก่ ป้ายบ่งชี้คลินิกผู้สูงอายุ/หน่วยบริการอย่างชัดเจน, ราวจับทางเดินอำนวยความสะดวกแก่ผู้สูงอายุ, ทางลาดที่ได้มาตรฐาน, ห้องน้ำผู้สูงอายุ/ผู้พิการ 4. การฝึกอบรมของพยาบาล : - พยาบาลผ่านการการอบรมการคัดกรองในคลินิกผู้สูงอายุ จำนวน 2 คน - พยาบาลผ่านการอบรมหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการพยาบาลผู้สูงอายุ จำนวน 2 คน - พยาบาลจบการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน 1 คน - กำลังเข้าศึกษาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน 1 คน 5. ทีมสหสาขาวิชาชีพ : มีนักโภชนาการที่ดำเนินงานคลินิกผู้สูงอายุ 1 คน 6. มีการรวบรวมจำนวนผู้สูงอายุของโรงพยาบาลที่มี Geriatric Syndromes ทุก 3 เดือน (รายงานเป็นไตรมาส) 7. คลินิกผู้สูงอายุมีการประเมิน/คัดกรอง Geriatric Assessment (รายงานเป็นไตรมาส) ดังนี้ - ADL - คัดกรอง Cognitive impairment (incontinence/fall/malnutrition/depression) 8. มีการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ 9. มีแพทย์ผู้รับผิดชอบ 1 คน คือ พญ.ชุลีกร โสอุดร 10. กำลังดำเนินการเปิดห้องตรวจฟันสำหรับผู้สูงอายุ ในคลินิกผู้สูงอายุ 5. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน 1.เปิดศูนย์เวชศาสตร์ผู้สูงอายุบางขุนเทียน ให้การบริการโดยทีมสหวิขาชีพ คัดกรองกลุ้มโรค 8 โรค ให้การรักษาและป้องกัน ดูแลผู้ป่วยแบบต่อเนือง 2. มีการเยี่ยมบ้านแบบทีมประกอบด้วย ทีมโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ทีมสำนักงานเขตบางขุนเทียน ทีมศูนย์อนามัย 42 ปัญหาและอุปสรรค 1. สถานที่ค่อนข้างคับแคบ และอยู่ระหว่างรอการก่อสร้างอาคารหน่วยเวชศาสตร์ผู้สูงอายุแล้วเสร็จ
กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี สำนักการแพทย์จึงได้จัดตั้งและพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพขึ้น ตั้งแต่ปี 2557 โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาระบบบริการแก่ผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุมบริการแบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากนี้สำนักการแพทย์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จัดทำเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพเฉลิมพระเกียรติ 86 พรรษา พระบรมราชินีนาถ เพื่อพัฒนามาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและสนับสนุนการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยเกณฑ์การประเมิน 20 ข้อ ดังนี้ 1. มีสถานที่ชัดเจนเป็นสัดส่วนในแบบการบริการผู้ป่วยนอก 2. สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น ป้าย ราวจับ ทางลาด ห้องน้ำ 3. เปิดบริการอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ 4. พยาบาลที่ดำเนินงานเคยผ่านการฝึกอบรมเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 5. ทีมสหสาขาวิชาชีพ เช่น แพทย์ กายภาพบำบัด เภสัชกร 6. รวบรวมจำนวน case geriatric syndrome ทุก 3 เดือน 7. Geriatric Assessment ; ADL 8. Geriatric Assessment ; cognitive impairment 9. ประเมินความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกผู้สูงอายุ 10.บุคลากรที่ให้การดูแลผู้ป่วยในคลินิกผู้สูงอายุ ได้รับการฝึกอบรมอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง 11. คัดกรอง incontinence 12. คัดกรอง fall 13. คัดกรอง malnutrition 14. คัดกรอง depression 15. มีแพทย์รับผิดชอบ 16. มีฐานข้อมูลผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ (เป็นฐานข้อมูลผู้สูงอายุของโรงพยาบาล ได้แก่ ประชากรผู้สูงอายุ UC / catch up area /กลุ่มชมรมผู้สูงอายุ) 17. ความครอบคลุมของ vaccine ไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มผู้สูงอายุ 18. งานวิชาการ /วิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุ /นำเสนอ presentation (ทีมสหสาขาวิชาชีพที่ร่วมดูแลงานคลินิกผู้สูงอายุ เป็น co) 19. นวัตกรรมเกี่ยวกับผู้สูงอายุ 20. ส่งปรึกษาภายในโรงพยาบาลกับทีมคลินิกผู้สูงอายุ ทั้งนี้ เกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุ ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินระดับเงินและระดับทอง 16 ข้อ ใน 20 ข้อและต้องได้คะแนนตั้งแต่ 35 คะแนนขึ้นไป โดยในปี 2564 โรงพยาบาลที่ต้องผ่านการประเมินคลินิกผู้สูงอายุผุ้สูงอายุระดับทองขึ้นไป ตำรสร 4 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลกลาง โรงพยาบาลตากสิน โรงพยาบาลเจริญกรุงฯ โรงพยาบาลสิรินธร และโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน โดยอยู่ระหว่างดำเนินการตาม้กณฑ์คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพโ๊รงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์
กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี สำนักการแพทย์จึงได้จัดตั้งและพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพขึ้น ตั้งแต่ปี 2557 โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาระบบบริการแก่ผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุมบริการแบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากนี้สำนักการแพทย์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จัดทำเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพเฉลิมพระเกียรติ 86 พรรษา พระบรมราชินีนาถ เพื่อพัฒนามาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและสนับสนุนการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยเกณฑ์การประเมิน 20 ข้อ ดังนี้ 1. มีสถานที่ชัดเจนเป็นสัดส่วนในแบบการบริการผู้ป่วยนอก 2. สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น ป้าย ราวจับ ทางลาด ห้องน้ำ 3. เปิดบริการอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ 4. พยาบาลที่ดำเนินงานเคยผ่านการฝึกอบรมเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 5. ทีมสหสาขาวิชาชีพ เช่น แพทย์ กายภาพบำบัด เภสัชกร 6. รวบรวมจำนวน case geriatric syndrome ทุก 3 เดือน 7. Geriatric Assessment ; ADL 8. Geriatric Assessment ; cognitive impairment 9. ประเมินความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกผู้สูงอายุ 10.บุคลากรที่ให้การดูแลผู้ป่วยในคลินิกผู้สูงอายุ ได้รับการฝึกอบรมอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง 11. คัดกรอง incontinence 12. คัดกรอง fall 13. คัดกรอง malnutrition 14. คัดกรอง depression 15. มีแพทย์รับผิดชอบ 16. มีฐานข้อมูลผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ (เป็นฐานข้อมูลผู้สูงอายุของโรงพยาบาล ได้แก่ ประชากรผู้สูงอายุ UC / catch up area /กลุ่มชมรมผู้สูงอายุ) 17. ความครอบคลุมของ vaccine ไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มผู้สูงอายุ 18. งานวิชาการ /วิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุ /นำเสนอ presentation (ทีมสหสาขาวิชาชีพที่ร่วมดูแลงานคลินิกผู้สูงอายุ เป็น co) 19. นวัตกรรมเกี่ยวกับผู้สูงอายุ 20. ส่งปรึกษาภายในโรงพยาบาลกับทีมคลินิกผู้สูงอายุ ทั้งนี้ เกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุ ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินระดับเงินและระดับทอง 16 ข้อ ใน 20 ข้อและต้องได้คะแนนตั้งแต่ 35 คะแนนขึ้นไป โดยในปี 2564 โรงพยาบาลที่ต้องผ่านการประเมินคลินิกผู้สูงอายุผุ้สูงอายุระดับทองขึ้นไป จำนวน 4 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลกลาง โรงพยาบาลตากสิน โรงพยาบาลเจริญกรุงฯ โรงพยาบาลสิรินธร และโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด -19 ทำให้โรงพยาบาลที่ต้องเข้ารับการประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพไม่สามารถดำเนินการตามเกณฑ์ที่กำหนดได้
กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี สำนักการแพทย์จึงได้จัดตั้งและพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพขึ้น ตั้งแต่ปี 2557 โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาระบบบริการแก่ผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุมบริการแบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากนี้สำนักการแพทย์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จัดทำเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ เฉลิมพระเกียรติ 86 พรรษา พระบรมราชินีนาถ เพื่อพัฒนามาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและสนับสนุนการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ในปีงบประมาณ 2564 โรงพยาบาลที่จะต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน “คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ” ระดับทองขึ้นไป ร้อยละ 40 ของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทั้งหมด ซึ่งปัจจุบันมีโรงพยาบาลที่ผ่านเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพระดับทอง (G) จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ สำนักการแพทย์ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล ได้มีการประชุมพิจารณาเกณฑ์การตรวจประเมินคลินิกผู้สูงอายุของโรงพยาบาล เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2563 เวลา 13.30 – 16.00 น. ณ ห้องประชุมแพทยพัฒน์ ชั้น 5 สำนักการแพทย์ รวมถึงมีการวางแผนการตรวจประเมินคลินิกผู้สูงอายุในปีงบประมาณ 2564 แต่เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักการแพทย์ซึ่งมีภารกิจในการดูแลผู้ป่วยโควิด-19 ประกอบกับโรงพยาบาลเป็นสถานที่รองรับการดูแลผู้ป่วยโควิด-19 ได้มีการจัดตั้งโรงพยาบาลสนาม Hospitel และศูนย์พักคอย ซึ่งจำเป็นต้องใช้ทรัพยากรบุคคลจำนวนมากในการดำเนินงานดังกล่าว ทำให้ต้องลดจำนวนการให้บริการหรือกิจกรรมที่ไม่เร่งด่วน รวมถึงกิจกรรมในการดูแลผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีภูมิคุ้มกันต่ำ เสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ง่าย จึงทำให้โรงพยาบาลไม่สามารถดำเนินกิจกรรมตามเกณฑ์การประเมินได้ ดังนั้นในปีงบประมาณ 2564 สำนักการแพทย์จึงไม่มีการประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
๓.๑.๒ มีระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :40.00 ผลงาน :0.00 |
กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี สำนักการแพทย์จึงได้จัดตั้งและพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพขึ้น ตั้งแต่ปี 2557 โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาระบบบริการแก่ผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุมบริการแบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากนี้สำนักการแพทย์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จัดทำเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพเฉลิมพระเกียรติ 86 พรรษา พระบรมราชินีนาถ เพื่อพัฒนามาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและสนับสนุนการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยเกณฑ์การประเมิน 20 ข้อ ดังนี้ 1. มีสถานที่ชัดเจนเป็นสัดส่วนในแบบการบริการผู้ป่วยนอก 2. สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น ป้าย ราวจับ ทางลาด ห้องน้ำ 3. เปิดบริการอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ 4. พยาบาลที่ดำเนินงานเคยผ่านการฝึกอบรมเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 5. ทีมสหสาขาวิชาชีพ เช่น แพทย์ กายภาพบำบัด เภสัชกร 6. รวบรวมจำนวน case geriatric syndrome ทุก 3 เดือน 7. Geriatric Assessment ; ADL 8. Geriatric Assessment ; cognitive impairment 9. ประเมินความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกผู้สูงอายุ 10.บุคลากรที่ให้การดูแลผู้ป่วยในคลินิกผู้สูงอายุ ได้รับการฝึกอบรมอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง 11. คัดกรอง incontinence 12. คัดกรอง fall 13. คัดกรอง malnutrition 14. คัดกรอง depression 15. มีแพทย์รับผิดชอบ 16. มีฐานข้อมูลผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ (เป็นฐานข้อมูลผู้สูงอายุของโรงพยาบาล ได้แก่ ประชากรผู้สูงอายุ UC / catch up area /กลุ่มชมรมผู้สูงอายุ) 17. ความครอบคลุมของ vaccine ไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มผู้สูงอายุ 18. งานวิชาการ /วิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุ /นำเสนอ presentation (ทีมสหสาขาวิชาชีพที่ร่วมดูแลงานคลินิกผู้สูงอายุ เป็น co) 19. นวัตกรรมเกี่ยวกับผู้สูงอายุ 20. ส่งปรึกษาภายในโรงพยาบาลกับทีมคลินิกผู้สูงอายุ ทั้งนี้ เกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุ ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินระดับเงินและระดับทอง 16 ข้อ ใน 20 ข้อและต้องได้คะแนนตั้งแต่ 35 คะแนนขึ้นไป โดยในปี 2564 โรงพยาบาลที่ต้องผ่านการประเมินคลินิกผู้สูงอายุผุ้สูงอายุระดับทองขึ้นไป ตำรสร 4 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลกลาง โรงพยาบาลตากสิน โรงพยาบาลเจริญกรุงฯ โรงพยาบาลสิรินธร และโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน โดยอยู่ระหว่างดำเนินการ ดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง อยู่ระหว่างการเก็บข้อมูลการประเมินผู้สูงอายุรายไตรมาส และมีการประชุมผู้บริหารเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ มีการประชุมสหสาขาวิชาชีพเพื่อแก้ปัญหาของผู้สูงอายุทุกเดือน 2. โรงพยาบาลตากสิน อยู่ในระหว่างการดำเนินงานประชุมทีมเพื่อตอบรับการประเมิน - อยู่ในระหว่างการส่งบุคลากรเข้ารับการอบรมตามเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ - อยู่ในระหว่างการดำเนินงานส่งผลงานประกวดนวัตกรรม จำนวน 2 ผลงาน - อยู่ในระหว่างการดำเนินการก่อสร้างอาคารโครงสร้างเหล็กสำหรับหน่วยเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงฯ ดำเนินการตามเกณฑ์การพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ ของ สนพ. อย่างต่อเนื่อง 4. โรงพยาบาลสิรินธร 1. สถานที่ : ห้องตรวจคลินิกผู้สูงอายุ ชั้น 2 ตึกอำนวยการ โรงพยาบาลสิรินธร โดยให้บริการในรูปแบบผู้ป่วยนอก 2. วัน-เวลาทำการ : ทุกวันพุธ และศุกร์ เวลา 8.00 – 12.00 น. 3. สิ่งอำนวยความสะดวก : ครบทั้ง 4 ข้อ ตามเกณฑ์การประเมินคลินิก ได้แก่ ป้ายบ่งชี้คลินิกผู้สูงอายุ/หน่วยบริการอย่างชัดเจน, ราวจับทางเดินอำนวยความสะดวกแก่ผู้สูงอายุ, ทางลาดที่ได้มาตรฐาน, ห้องน้ำผู้สูงอายุ/ผู้พิการ 4. การฝึกอบรมของพยาบาล : - พยาบาลผ่านการการอบรมการคัดกรองในคลินิกผู้สูงอายุ จำนวน 2 คน - พยาบาลผ่านการอบรมหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการพยาบาลผู้สูงอายุ จำนวน 2 คน - พยาบาลจบการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน 1 คน - กำลังเข้าศึกษาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน 1 คน 5. ทีมสหสาขาวิชาชีพ : มีนักโภชนาการที่ดำเนินงานคลินิกผู้สูงอายุ 1 คน 6. มีการรวบรวมจำนวนผู้สูงอายุของโรงพยาบาลที่มี Geriatric Syndromes ทุก 3 เดือน (รายงานเป็นไตรมาส) 7. คลินิกผู้สูงอายุมีการประเมิน/คัดกรอง Geriatric Assessment (รายงานเป็นไตรมาส) ดังนี้ - ADL - คัดกรอง Cognitive impairment (incontinence/fall/malnutrition/depression) 8. มีการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ 9. มีแพทย์ผู้รับผิดชอบ 1 คน คือ พญ.ชุลีกร โสอุดร 10. กำลังดำเนินการเปิดห้องตรวจฟันสำหรับผู้สูงอายุ ในคลินิกผู้สูงอายุ 5. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน 1.เปิดศูนย์เวชศาสตร์ผู้สูงอายุบางขุนเทียน ให้การบริการโดยทีมสหวิขาชีพ คัดกรองกลุ้มโรค 8 โรค ให้การรักษาและป้องกัน ดูแลผู้ป่วยแบบต่อเนือง 2. มีการเยี่ยมบ้านแบบทีมประกอบด้วย ทีมโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ทีมสำนักงานเขตบางขุนเทียน ทีมศูนย์อนามัย 42 ปัญหาและอุปสรรค 1. สถานที่ค่อนข้างคับแคบ และอยู่ระหว่างรอการก่อสร้างอาคารหน่วยเวชศาสตร์ผู้สูงอายุแล้วเสร็จ
กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี สำนักการแพทย์จึงได้จัดตั้งและพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพขึ้น ตั้งแต่ปี 2557 โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาระบบบริการแก่ผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุมบริการแบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากนี้สำนักการแพทย์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จัดทำเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพเฉลิมพระเกียรติ 86 พรรษา พระบรมราชินีนาถ เพื่อพัฒนามาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและสนับสนุนการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยเกณฑ์การประเมิน 20 ข้อ ดังนี้ 1. มีสถานที่ชัดเจนเป็นสัดส่วนในแบบการบริการผู้ป่วยนอก 2. สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น ป้าย ราวจับ ทางลาด ห้องน้ำ 3. เปิดบริการอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ 4. พยาบาลที่ดำเนินงานเคยผ่านการฝึกอบรมเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 5. ทีมสหสาขาวิชาชีพ เช่น แพทย์ กายภาพบำบัด เภสัชกร 6. รวบรวมจำนวน case geriatric syndrome ทุก 3 เดือน 7. Geriatric Assessment ; ADL 8. Geriatric Assessment ; cognitive impairment 9. ประเมินความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกผู้สูงอายุ 10.บุคลากรที่ให้การดูแลผู้ป่วยในคลินิกผู้สูงอายุ ได้รับการฝึกอบรมอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง 11. คัดกรอง incontinence 12. คัดกรอง fall 13. คัดกรอง malnutrition 14. คัดกรอง depression 15. มีแพทย์รับผิดชอบ 16. มีฐานข้อมูลผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ (เป็นฐานข้อมูลผู้สูงอายุของโรงพยาบาล ได้แก่ ประชากรผู้สูงอายุ UC / catch up area /กลุ่มชมรมผู้สูงอายุ) 17. ความครอบคลุมของ vaccine ไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มผู้สูงอายุ 18. งานวิชาการ /วิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุ /นำเสนอ presentation (ทีมสหสาขาวิชาชีพที่ร่วมดูแลงานคลินิกผู้สูงอายุ เป็น co) 19. นวัตกรรมเกี่ยวกับผู้สูงอายุ 20. ส่งปรึกษาภายในโรงพยาบาลกับทีมคลินิกผู้สูงอายุ ทั้งนี้ เกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุ ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินระดับเงินและระดับทอง 16 ข้อ ใน 20 ข้อและต้องได้คะแนนตั้งแต่ 35 คะแนนขึ้นไป โดยในปี 2564 โรงพยาบาลที่ต้องผ่านการประเมินคลินิกผู้สูงอายุผุ้สูงอายุระดับทองขึ้นไป ตำรสร 4 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลกลาง โรงพยาบาลตากสิน โรงพยาบาลเจริญกรุงฯ โรงพยาบาลสิรินธร และโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน โดยอยู่ระหว่างดำเนินการตาม้กณฑ์คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพโ๊รงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์
กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี สำนักการแพทย์จึงได้จัดตั้งและพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพขึ้น ตั้งแต่ปี 2557 โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาระบบบริการแก่ผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุมบริการแบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากนี้สำนักการแพทย์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จัดทำเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพเฉลิมพระเกียรติ 86 พรรษา พระบรมราชินีนาถ เพื่อพัฒนามาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและสนับสนุนการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยเกณฑ์การประเมิน 20 ข้อ ดังนี้ 1. มีสถานที่ชัดเจนเป็นสัดส่วนในแบบการบริการผู้ป่วยนอก 2. สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น ป้าย ราวจับ ทางลาด ห้องน้ำ 3. เปิดบริการอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ 4. พยาบาลที่ดำเนินงานเคยผ่านการฝึกอบรมเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 5. ทีมสหสาขาวิชาชีพ เช่น แพทย์ กายภาพบำบัด เภสัชกร 6. รวบรวมจำนวน case geriatric syndrome ทุก 3 เดือน 7. Geriatric Assessment ; ADL 8. Geriatric Assessment ; cognitive impairment 9. ประเมินความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกผู้สูงอายุ 10.บุคลากรที่ให้การดูแลผู้ป่วยในคลินิกผู้สูงอายุ ได้รับการฝึกอบรมอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง 11. คัดกรอง incontinence 12. คัดกรอง fall 13. คัดกรอง malnutrition 14. คัดกรอง depression 15. มีแพทย์รับผิดชอบ 16. มีฐานข้อมูลผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ (เป็นฐานข้อมูลผู้สูงอายุของโรงพยาบาล ได้แก่ ประชากรผู้สูงอายุ UC / catch up area /กลุ่มชมรมผู้สูงอายุ) 17. ความครอบคลุมของ vaccine ไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มผู้สูงอายุ 18. งานวิชาการ /วิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุ /นำเสนอ presentation (ทีมสหสาขาวิชาชีพที่ร่วมดูแลงานคลินิกผู้สูงอายุ เป็น co) 19. นวัตกรรมเกี่ยวกับผู้สูงอายุ 20. ส่งปรึกษาภายในโรงพยาบาลกับทีมคลินิกผู้สูงอายุ ทั้งนี้ เกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุ ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินระดับเงินและระดับทอง 16 ข้อ ใน 20 ข้อและต้องได้คะแนนตั้งแต่ 35 คะแนนขึ้นไป โดยในปี 2564 โรงพยาบาลที่ต้องผ่านการประเมินคลินิกผู้สูงอายุผุ้สูงอายุระดับทองขึ้นไป จำนวน 4 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลกลาง โรงพยาบาลตากสิน โรงพยาบาลเจริญกรุงฯ โรงพยาบาลสิรินธร และโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด -19 ทำให้โรงพยาบาลที่ต้องเข้ารับการประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพไม่สามารถดำเนินการตามเกณฑ์ที่กำหนดได้
กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี สำนักการแพทย์จึงได้จัดตั้งและพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพขึ้น ตั้งแต่ปี 2557 โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาระบบบริการแก่ผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุมบริการแบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากนี้สำนักการแพทย์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จัดทำเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ เฉลิมพระเกียรติ 86 พรรษา พระบรมราชินีนาถ เพื่อพัฒนามาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและสนับสนุนการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ในปีงบประมาณ 2564 โรงพยาบาลที่จะต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน “คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ” ระดับทองขึ้นไป ร้อยละ 40 ของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทั้งหมด ซึ่งปัจจุบันมีโรงพยาบาลที่ผ่านเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพระดับทอง (G) จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ สำนักการแพทย์ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล ได้มีการประชุมพิจารณาเกณฑ์การตรวจประเมินคลินิกผู้สูงอายุของโรงพยาบาล เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2563 เวลา 13.30 – 16.00 น. ณ ห้องประชุมแพทยพัฒน์ ชั้น 5 สำนักการแพทย์ รวมถึงมีการวางแผนการตรวจประเมินคลินิกผู้สูงอายุในปีงบประมาณ 2564 แต่เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักการแพทย์ซึ่งมีภารกิจในการดูแลผู้ป่วยโควิด-19 ประกอบกับโรงพยาบาลเป็นสถานที่รองรับการดูแลผู้ป่วยโควิด-19 ได้มีการจัดตั้งโรงพยาบาลสนาม Hospitel และศูนย์พักคอย ซึ่งจำเป็นต้องใช้ทรัพยากรบุคคลจำนวนมากในการดำเนินงานดังกล่าว ทำให้ต้องลดจำนวนการให้บริการหรือกิจกรรมที่ไม่เร่งด่วน รวมถึงกิจกรรมในการดูแลผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีภูมิคุ้มกันต่ำ เสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ง่าย จึงทำให้โรงพยาบาลไม่สามารถดำเนินกิจกรรมตามเกณฑ์การประเมินได้ ดังนั้นในปีงบประมาณ 2564 สำนักการแพทย์จึงไม่มีการประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด | |
![]() |
หน่วยนับ :ราย เป้าหมาย :5,000.00 ผลงาน :4.00 |
จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองทั้งสิ้นจำนวน 981 ราย ดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง มีการตรวจคัดกรองกลุ่มอาการผู้สูงอายในคลินิก จำนวน 66 ราย 2. โรงพยาบาลตากสิน มีการตรวจคัดกรองกลุ่มอาการผู้สูงอายในคลินิก จำนวน 21 ราย 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ มีการตรวจคัดกรองกลุ่มอาการผู้สูงอายในคลินิก จำนวน 92 ราย 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ ดำเนินกิจกรรมตรวจคัดกรองกลุ่มโรคที่พบในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome)เพื่อคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุที่มารับบริการกับโรงพยาบาลทั้งในและนอกพื้นที่โรงพยาบาล จำนวน 113 ราย 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ อยู่ระหว่างดำเนินการตรวจคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุ 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองจำนวน 41 ราย ADL 12 คะแนนขึ้นไป 41 ราย ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ระดับมาก 1 รายเป็นเพศหญิง ระดับปานกลาง 1 รายเป็นเพศชาย ระดับน้อย 1 รายเป็นเพศหญิง มีภาวะข้อเข่าเสื่อม 23 ราย เพศชาย 5 ราย เพศหญิง 18 ราย เสี่ยงต่อภาะพลัดตกหกล้มจำนวน 13 ราย เพศชาย 3 รายเพศหญิง 10 ราย มีความเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการ 5 ราย เพศชาย 2 รายเพศหญิง 3 ราย มีภาวะซึมเศร้า 25 ราย ระดับ น้อย 1 ราย ระดับกลาง 1 ราย เป็นเพศชาย เสี่ยงต่อสมองเสื่อม 6 ราย เพศชาย 2 รายเพศหญิง 4 ราย 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ ดำเนินการ ดังนี้ 1. รวบรวมข้อมูลผู้สูงอายุที่มารับบริการในโรงพยาบาลราชพิพัฒน์ เพื่อวางแผนจัดกิจกรรมการบริการที่ครอบคลุมและตอบสนองความต้องการด้านสุขภาพผู้สูงอายุ โดยกระบวนการที่เหมาะสม ภายใต้บริบทของโรงพยาบาลและรายงานสถิติการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง 2. จัดสรรสถานที่เพื่ออำนวยความสะดวกในการคัดกรองผู้สูงอายุเพิ่มเติมจากคลินิกสุขใจ สูงวัย ประคับประคองบริเวณคลินิกอายุรกรรม และคลินิกศัลยกรรมกระดูก 3. ดำเนินการคัดกรองตรวจสุขภาพผู้สูงอายุในคลินิกผู้สูงอายุ คลินิกอายุรกรรม และคลินิกศัลยกรรมกระดูก 4. รายงานสถิติผู้สูงอายุที่ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ เดือนตุลาคม – ธันวาคม2563 จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุ ไตรมาส 1 จำนวน (372 ราย) - เดือนตุลาคม = 57 ราย - เดือนพฤศจิกายน = 234 ราย - เดือนธันวาคม = 81 ราย 8.โรงพยาบาลสิรินธร ทำการคัดกรองผู้สูงอายุ ทุกวันพุธและวันศุกร์ เวลา 08.00-12.00 น. ตั้งแต่วันที่ 16 พ.ย. - 15 ธ.ค. 63 จำนวน 25 คน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ฺฺ- ADL >> พึ่งพาเล็กน้อย=23 | พึ่งพาปานกลาง=1 | พึ่งพาส่วนมาก=1 -VA >> ปกติ=25 - 9Q >> ปกติ=24 | ประเมินไม่ได้=1 -OSTA >> เสี่ยงต่ำ=2 | เสี่ยงปานกลาง=9 | เสี่ยงสูง=14 -IQ code >> มีแนวโน้มสมองเสื่อม=8 | ไม่มีแนวโน้มสมองเสื่อม=17 -TMSE >> สงสัยสมองเสื่อม=17 | ไม่สงสัยสมองเสื่อม=6 | ประเมินไม่ได้=2 -Malnutrition >> ปกติ=22 | เสี่ยงทุพโภชนาการ=3 -กลั้นปัสสาวะ >> ปกติ=14 | รุนแรงน้อย=10 | รุนแรงปานกลาง=1 -TUGT >> <11s=10 | ≥11s=14 | เดินไม่ได้=1 -การได้ยิน >> ปกติ=25 -ความแข็งแรงกล้ามเนื้อ >> ปกติ=25 -LAB UA >> ปกติ=4 | ผิดปกติ=0 | ไม่ได้ตรวจ=21 FBS >> ปกติ=19 | ผิดปกติ=5 | ไม่ได้ตรวจ=1 CBC >> ปกติ=20 | ผิดปกติ=0 | ไม่ได้ตรวจ=5 Lipid>> ปกติ=16 | ผิดปกติ=5 | ไม่ได้ตรวจ=4 eGFR>> ปกติ=4 | ผิดปกติ=20 | ไม่ได้ตรวจ=1 -ได้รับคำแนะนำ=25 9.โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน 1.มีการเปิดให้บริการศูนย์เวชศาสตร์ผู้สูงอายุโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน โดยมีการให้บริการคัดกรองกลุ่มโรค 8 โรค และให้การรักษาโดยทีมสหวิชาชีพ 2.มีการให้การดูแลต่อเนื่องที่บ้านโดยทีมศูนย์เวชศาสตร์ผู้สูงอายุโรงพยาบาลบางขุนเทียน สำนักงานเขตบางขุนเทียน ศูนย์บริการสาธารณสุข 42 โดยมีผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง จำนวน 251 ราย
สำนักการแพทย์ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองกลุ่มโรคที่พบในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome) รวมถึงส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และเป็นการเพิ่มการค้นพบโรคเรื้อรังในระยะเริ่มแรกของผู้สูงอายุ โดยมีเป้าหมายเท่ากับ จำนวน 5,000 ราย โดยมีบริการตรวจคัดกรองกลุ่มอาการที่เกิดในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome) ดังนี้ 1. ซักประวัติ ตรวจร่างกายโดยแพทย์ เพื่อค้นหาความผิดปกติ 2. ประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ 2.1 คัดกรองความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันในผู้สูงอายุตามแบบประเมิน Barthel Activities of Daily Living : ADL 2.2 คัดกรองความบกพร่องทางสายตาโรคต้อกระจก ตรวจวัดสายตา (Visual Acuity Test) 2.3 ประเมินภาวะซึมเศร้า 2 คำถาม 2.4 ประเมินความเสี่ยงโรคกระดูกพรุนด้วย OSTA index 2.5 ประเมินสมรรถภาพสมอง ด้วย Modified IQ CODE และแบบทดสอบ TMSE 2.6 ประเมินภาวะโภชนาการ ด้วย Mini Nutritional Assessment; MNA® (เปลี่ยนBMI เป็น MINDEX/Demiquet) 2.7 คัดกรองภาวะกลั้นปัสสาวะ ไม่อยู่ (Incontinence) 2.8 คัดกรองภาวะหกล้ม TUGT 2.9 การประเมินการได้ยิน 2.10 ประเมินความแข็งแรงของกล้ามเนื้อมือ 3. ตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ 3.1 ตรวจปัสสาวะ (UA) 3.2 ตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด (FBS) 3.3 ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดแดง (CBC) 3.4 ตรวจระดับไขมันในเลือด (Lipid Profile) 3.5 ตรวจการทำงานของไต (eGFR) 4. ประเมินซึมเศร้าด้วยแบบประเมิน 9 คำถาม (9Q) 5. ประเมินภาวะสมองเสื่อม MOCA 6. การให้คำปรึกษากับผู้สูงอายุ ที่คลินิกผู้สูงอายุครบวงจร ได้แก่ ด้านยา ด้านทันตกรรม ด้านอาหาร ด้านกายภาพบำบัด จำนวนผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองเท่ากับ 1,395 ราย
สำนักการแพทย์ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองกลุ่มโรคที่พบในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome) รวมถึงส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และเป็นการเพิ่มการค้นพบโรคเรื้อรังในระยะเริ่มแรกของผู้สูงอายุ โดยมีเป้าหมายเท่ากับ จำนวน 5,000 ราย โดยมีบริการตรวจคัดกรองกลุ่มอาการที่เกิดในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome) ดังนี้ 1. ซักประวัติ ตรวจร่างกายโดยแพทย์ เพื่อค้นหาความผิดปกติ 2. ประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ 2.1 คัดกรองความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันในผู้สูงอายุตามแบบประเมิน Barthel Activities of Daily Living : ADL 2.2 คัดกรองความบกพร่องทางสายตาโรคต้อกระจก ตรวจวัดสายตา (Visual Acuity Test) 2.3 ประเมินภาวะซึมเศร้า 2 คำถาม 2.4 ประเมินความเสี่ยงโรคกระดูกพรุนด้วย OSTA index 2.5 ประเมินสมรรถภาพสมอง ด้วย Modified IQ CODE และแบบทดสอบ TMSE 2.6 ประเมินภาวะโภชนาการ ด้วย Mini Nutritional Assessment; MNA® (เปลี่ยนBMI เป็น MINDEX/Demiquet) 2.7 คัดกรองภาวะกลั้นปัสสาวะ ไม่อยู่ (Incontinence) 2.8 คัดกรองภาวะหกล้ม TUGT 2.9 การประเมินการได้ยิน 2.10 ประเมินความแข็งแรงของกล้ามเนื้อมือ 3. ตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ 3.1 ตรวจปัสสาวะ (UA) 3.2 ตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด (FBS) 3.3 ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดแดง (CBC) 3.4 ตรวจระดับไขมันในเลือด (Lipid Profile) 3.5 ตรวจการทำงานของไต (eGFR) 4. ประเมินซึมเศร้าด้วยแบบประเมิน 9 คำถาม (9Q) 5. ประเมินภาวะสมองเสื่อม MOCA 6. การให้คำปรึกษากับผู้สูงอายุ ที่คลินิกผู้สูงอายุครบวงจร ได้แก่ ด้านยา ด้านทันตกรรม ด้านอาหาร ด้านกายภาพบำบัด จำนวนผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองเท่ากับ 1,506 ราย
สำนักการแพทย์ได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองกลุ่มโรคที่พบในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome) ณ คลินิกผู้สูงอายุของโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ เพื่อเป็นการเพิ่มการค้นพบโรคเรื้อรังในระยะเริ่มแรกของผู้สูงอายุ โดยการตรวจคัดกรองกลุ่มอาการที่เกิดในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome ค้นหาโรคเรื้อรังของผู้สูงอายุในระยะแรก เพื่อป้องกันรักษาและสร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุได้อย่างเหมาะสม โดยตรวจคัดกรองกลุ่มอาการที่เกิดในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome) จำนวน 6 รายการ ดังนี้ 1. ซักประวัติ ตรวจร่างกายโดยแพทย์ เพื่อค้นหาความผิดปกติ 2. ประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ 2.1 คัดกรองความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันในผู้สูงอายุตามแบบประเมิน Barthel Activities of Daily Living : ADL 2.2 คัดกรองความบกพร่องทางสายตาโรคต้อกระจก ตรวจวัดสายตา (Visual Acuity Test) 2.3 ประเมินภาวะซึมเศร้า 2 คำถาม 2.4 ประเมินความเสี่ยงโรคกระดูกพรุนด้วย OSTA index 2.5 ประเมินสมรรถภาพสมอง ด้วย Modified IQ CODE และแบบทดสอบ TMSE 2.6 ประเมินภาวะโภชนาการ ด้วย Mini Nutritional Assessment; MNA® (เปลี่ยนBMI เป็น MINDEX/Demiquet) 2.7 คัดกรองภาวะกลั้นปัสสาวะ ไม่อยู่ (Incontinence) 2.8 คัดกรองภาวะหกล้ม TUGT 2.9 การประเมินการได้ยิน 2.10 ประเมินความแข็งแรงของกล้ามเนื้อมือ 3. ตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ 3.1 ตรวจปัสสาวะ (UA) 3.2 ตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด (FBS) 3.3 ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดแดง (CBC) 3.4 ตรวจระดับไขมันในเลือด (Lipid Profile) 3.5 ตรวจการทำงานของไต (eGFR) 4. ประเมินซึมเศร้าด้วยแบบประเมิน 9 คำถาม (9Q) 5. ประเมินภาวะสมองเสื่อม MOCA 6. การให้คำปรึกษากับผู้สูงอายุ ที่คลินิกผู้สูงอายุครบวงจร ได้แก่ ด้านยา ด้านทันตกรรม ด้านอาหาร ด้านกายภาพบำบัด โดยมีผลการดำเนินงาน ดังนี้ - โรงพยาบาลกลาง จำนวน 363 ราย - โรงพยาบาลตากสิน จำนวน 731 ราย - โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ จำนวน 300 ราย - โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ จำนวน 401 ราย - โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ จำนวน 700 ราย - โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานครจำนวน 502 ราย - โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ จำนวน 1,042 ราย - โรงพยาบาลสิรินธร จำนวน 358 ราย - โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน จำนวน 525 ราย รวมทั้งสิ้น 4,922 ราย
๓.๑.๒ มีระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส | |
![]() |
หน่วยนับ :ราย เป้าหมาย :5,000.00 ผลงาน :4.00 |
จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองทั้งสิ้นจำนวน 981 ราย ดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง มีการตรวจคัดกรองกลุ่มอาการผู้สูงอายในคลินิก จำนวน 66 ราย 2. โรงพยาบาลตากสิน มีการตรวจคัดกรองกลุ่มอาการผู้สูงอายในคลินิก จำนวน 21 ราย 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ มีการตรวจคัดกรองกลุ่มอาการผู้สูงอายในคลินิก จำนวน 92 ราย 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ ดำเนินกิจกรรมตรวจคัดกรองกลุ่มโรคที่พบในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome)เพื่อคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุที่มารับบริการกับโรงพยาบาลทั้งในและนอกพื้นที่โรงพยาบาล จำนวน 113 ราย 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ อยู่ระหว่างดำเนินการตรวจคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุ 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองจำนวน 41 ราย ADL 12 คะแนนขึ้นไป 41 ราย ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ระดับมาก 1 รายเป็นเพศหญิง ระดับปานกลาง 1 รายเป็นเพศชาย ระดับน้อย 1 รายเป็นเพศหญิง มีภาวะข้อเข่าเสื่อม 23 ราย เพศชาย 5 ราย เพศหญิง 18 ราย เสี่ยงต่อภาะพลัดตกหกล้มจำนวน 13 ราย เพศชาย 3 รายเพศหญิง 10 ราย มีความเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการ 5 ราย เพศชาย 2 รายเพศหญิง 3 ราย มีภาวะซึมเศร้า 25 ราย ระดับ น้อย 1 ราย ระดับกลาง 1 ราย เป็นเพศชาย เสี่ยงต่อสมองเสื่อม 6 ราย เพศชาย 2 รายเพศหญิง 4 ราย 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ ดำเนินการ ดังนี้ 1. รวบรวมข้อมูลผู้สูงอายุที่มารับบริการในโรงพยาบาลราชพิพัฒน์ เพื่อวางแผนจัดกิจกรรมการบริการที่ครอบคลุมและตอบสนองความต้องการด้านสุขภาพผู้สูงอายุ โดยกระบวนการที่เหมาะสม ภายใต้บริบทของโรงพยาบาลและรายงานสถิติการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง 2. จัดสรรสถานที่เพื่ออำนวยความสะดวกในการคัดกรองผู้สูงอายุเพิ่มเติมจากคลินิกสุขใจ สูงวัย ประคับประคองบริเวณคลินิกอายุรกรรม และคลินิกศัลยกรรมกระดูก 3. ดำเนินการคัดกรองตรวจสุขภาพผู้สูงอายุในคลินิกผู้สูงอายุ คลินิกอายุรกรรม และคลินิกศัลยกรรมกระดูก 4. รายงานสถิติผู้สูงอายุที่ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ เดือนตุลาคม – ธันวาคม2563 จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุ ไตรมาส 1 จำนวน (372 ราย) - เดือนตุลาคม = 57 ราย - เดือนพฤศจิกายน = 234 ราย - เดือนธันวาคม = 81 ราย 8.โรงพยาบาลสิรินธร ทำการคัดกรองผู้สูงอายุ ทุกวันพุธและวันศุกร์ เวลา 08.00-12.00 น. ตั้งแต่วันที่ 16 พ.ย. - 15 ธ.ค. 63 จำนวน 25 คน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ฺฺ- ADL >> พึ่งพาเล็กน้อย=23 | พึ่งพาปานกลาง=1 | พึ่งพาส่วนมาก=1 -VA >> ปกติ=25 - 9Q >> ปกติ=24 | ประเมินไม่ได้=1 -OSTA >> เสี่ยงต่ำ=2 | เสี่ยงปานกลาง=9 | เสี่ยงสูง=14 -IQ code >> มีแนวโน้มสมองเสื่อม=8 | ไม่มีแนวโน้มสมองเสื่อม=17 -TMSE >> สงสัยสมองเสื่อม=17 | ไม่สงสัยสมองเสื่อม=6 | ประเมินไม่ได้=2 -Malnutrition >> ปกติ=22 | เสี่ยงทุพโภชนาการ=3 -กลั้นปัสสาวะ >> ปกติ=14 | รุนแรงน้อย=10 | รุนแรงปานกลาง=1 -TUGT >> <11s=10 | ≥11s=14 | เดินไม่ได้=1 -การได้ยิน >> ปกติ=25 -ความแข็งแรงกล้ามเนื้อ >> ปกติ=25 -LAB UA >> ปกติ=4 | ผิดปกติ=0 | ไม่ได้ตรวจ=21 FBS >> ปกติ=19 | ผิดปกติ=5 | ไม่ได้ตรวจ=1 CBC >> ปกติ=20 | ผิดปกติ=0 | ไม่ได้ตรวจ=5 Lipid>> ปกติ=16 | ผิดปกติ=5 | ไม่ได้ตรวจ=4 eGFR>> ปกติ=4 | ผิดปกติ=20 | ไม่ได้ตรวจ=1 -ได้รับคำแนะนำ=25 9.โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน 1.มีการเปิดให้บริการศูนย์เวชศาสตร์ผู้สูงอายุโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน โดยมีการให้บริการคัดกรองกลุ่มโรค 8 โรค และให้การรักษาโดยทีมสหวิชาชีพ 2.มีการให้การดูแลต่อเนื่องที่บ้านโดยทีมศูนย์เวชศาสตร์ผู้สูงอายุโรงพยาบาลบางขุนเทียน สำนักงานเขตบางขุนเทียน ศูนย์บริการสาธารณสุข 42 โดยมีผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง จำนวน 251 ราย
สำนักการแพทย์ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองกลุ่มโรคที่พบในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome) รวมถึงส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และเป็นการเพิ่มการค้นพบโรคเรื้อรังในระยะเริ่มแรกของผู้สูงอายุ โดยมีเป้าหมายเท่ากับ จำนวน 5,000 ราย โดยมีบริการตรวจคัดกรองกลุ่มอาการที่เกิดในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome) ดังนี้ 1. ซักประวัติ ตรวจร่างกายโดยแพทย์ เพื่อค้นหาความผิดปกติ 2. ประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ 2.1 คัดกรองความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันในผู้สูงอายุตามแบบประเมิน Barthel Activities of Daily Living : ADL 2.2 คัดกรองความบกพร่องทางสายตาโรคต้อกระจก ตรวจวัดสายตา (Visual Acuity Test) 2.3 ประเมินภาวะซึมเศร้า 2 คำถาม 2.4 ประเมินความเสี่ยงโรคกระดูกพรุนด้วย OSTA index 2.5 ประเมินสมรรถภาพสมอง ด้วย Modified IQ CODE และแบบทดสอบ TMSE 2.6 ประเมินภาวะโภชนาการ ด้วย Mini Nutritional Assessment; MNA® (เปลี่ยนBMI เป็น MINDEX/Demiquet) 2.7 คัดกรองภาวะกลั้นปัสสาวะ ไม่อยู่ (Incontinence) 2.8 คัดกรองภาวะหกล้ม TUGT 2.9 การประเมินการได้ยิน 2.10 ประเมินความแข็งแรงของกล้ามเนื้อมือ 3. ตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ 3.1 ตรวจปัสสาวะ (UA) 3.2 ตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด (FBS) 3.3 ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดแดง (CBC) 3.4 ตรวจระดับไขมันในเลือด (Lipid Profile) 3.5 ตรวจการทำงานของไต (eGFR) 4. ประเมินซึมเศร้าด้วยแบบประเมิน 9 คำถาม (9Q) 5. ประเมินภาวะสมองเสื่อม MOCA 6. การให้คำปรึกษากับผู้สูงอายุ ที่คลินิกผู้สูงอายุครบวงจร ได้แก่ ด้านยา ด้านทันตกรรม ด้านอาหาร ด้านกายภาพบำบัด จำนวนผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองเท่ากับ 1,395 ราย
สำนักการแพทย์ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองกลุ่มโรคที่พบในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome) รวมถึงส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และเป็นการเพิ่มการค้นพบโรคเรื้อรังในระยะเริ่มแรกของผู้สูงอายุ โดยมีเป้าหมายเท่ากับ จำนวน 5,000 ราย โดยมีบริการตรวจคัดกรองกลุ่มอาการที่เกิดในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome) ดังนี้ 1. ซักประวัติ ตรวจร่างกายโดยแพทย์ เพื่อค้นหาความผิดปกติ 2. ประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ 2.1 คัดกรองความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันในผู้สูงอายุตามแบบประเมิน Barthel Activities of Daily Living : ADL 2.2 คัดกรองความบกพร่องทางสายตาโรคต้อกระจก ตรวจวัดสายตา (Visual Acuity Test) 2.3 ประเมินภาวะซึมเศร้า 2 คำถาม 2.4 ประเมินความเสี่ยงโรคกระดูกพรุนด้วย OSTA index 2.5 ประเมินสมรรถภาพสมอง ด้วย Modified IQ CODE และแบบทดสอบ TMSE 2.6 ประเมินภาวะโภชนาการ ด้วย Mini Nutritional Assessment; MNA® (เปลี่ยนBMI เป็น MINDEX/Demiquet) 2.7 คัดกรองภาวะกลั้นปัสสาวะ ไม่อยู่ (Incontinence) 2.8 คัดกรองภาวะหกล้ม TUGT 2.9 การประเมินการได้ยิน 2.10 ประเมินความแข็งแรงของกล้ามเนื้อมือ 3. ตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ 3.1 ตรวจปัสสาวะ (UA) 3.2 ตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด (FBS) 3.3 ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดแดง (CBC) 3.4 ตรวจระดับไขมันในเลือด (Lipid Profile) 3.5 ตรวจการทำงานของไต (eGFR) 4. ประเมินซึมเศร้าด้วยแบบประเมิน 9 คำถาม (9Q) 5. ประเมินภาวะสมองเสื่อม MOCA 6. การให้คำปรึกษากับผู้สูงอายุ ที่คลินิกผู้สูงอายุครบวงจร ได้แก่ ด้านยา ด้านทันตกรรม ด้านอาหาร ด้านกายภาพบำบัด จำนวนผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองเท่ากับ 1,506 ราย
สำนักการแพทย์ได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองกลุ่มโรคที่พบในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome) ณ คลินิกผู้สูงอายุของโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ เพื่อเป็นการเพิ่มการค้นพบโรคเรื้อรังในระยะเริ่มแรกของผู้สูงอายุ โดยการตรวจคัดกรองกลุ่มอาการที่เกิดในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome ค้นหาโรคเรื้อรังของผู้สูงอายุในระยะแรก เพื่อป้องกันรักษาและสร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุได้อย่างเหมาะสม โดยตรวจคัดกรองกลุ่มอาการที่เกิดในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome) จำนวน 6 รายการ ดังนี้ 1. ซักประวัติ ตรวจร่างกายโดยแพทย์ เพื่อค้นหาความผิดปกติ 2. ประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ 2.1 คัดกรองความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันในผู้สูงอายุตามแบบประเมิน Barthel Activities of Daily Living : ADL 2.2 คัดกรองความบกพร่องทางสายตาโรคต้อกระจก ตรวจวัดสายตา (Visual Acuity Test) 2.3 ประเมินภาวะซึมเศร้า 2 คำถาม 2.4 ประเมินความเสี่ยงโรคกระดูกพรุนด้วย OSTA index 2.5 ประเมินสมรรถภาพสมอง ด้วย Modified IQ CODE และแบบทดสอบ TMSE 2.6 ประเมินภาวะโภชนาการ ด้วย Mini Nutritional Assessment; MNA® (เปลี่ยนBMI เป็น MINDEX/Demiquet) 2.7 คัดกรองภาวะกลั้นปัสสาวะ ไม่อยู่ (Incontinence) 2.8 คัดกรองภาวะหกล้ม TUGT 2.9 การประเมินการได้ยิน 2.10 ประเมินความแข็งแรงของกล้ามเนื้อมือ 3. ตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ 3.1 ตรวจปัสสาวะ (UA) 3.2 ตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด (FBS) 3.3 ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดแดง (CBC) 3.4 ตรวจระดับไขมันในเลือด (Lipid Profile) 3.5 ตรวจการทำงานของไต (eGFR) 4. ประเมินซึมเศร้าด้วยแบบประเมิน 9 คำถาม (9Q) 5. ประเมินภาวะสมองเสื่อม MOCA 6. การให้คำปรึกษากับผู้สูงอายุ ที่คลินิกผู้สูงอายุครบวงจร ได้แก่ ด้านยา ด้านทันตกรรม ด้านอาหาร ด้านกายภาพบำบัด โดยมีผลการดำเนินงาน ดังนี้ - โรงพยาบาลกลาง จำนวน 363 ราย - โรงพยาบาลตากสิน จำนวน 731 ราย - โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ จำนวน 300 ราย - โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ จำนวน 401 ราย - โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ จำนวน 700 ราย - โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานครจำนวน 502 ราย - โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ จำนวน 1,042 ราย - โรงพยาบาลสิรินธร จำนวน 358 ราย - โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน จำนวน 525 ราย รวมทั้งสิ้น 4,922 ราย
๗.๓.๑ บุคลากรกรุงเทพมหานครเป็นผู้ปฏิบัติงานแบบมืออาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม และเป็นที่เชื่ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :22.81 |
สำนักการแพทย์ดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดงานประจำทั้งหมด 57 โครงการ อยู่ระหว่างดำเนินการ จำนวน 56 โครงการ แล้วเสร็จ จำนวน 1 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 1.75
สำนักการแพทย์ดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดงานประจำทั้งหมด 57 โครงการ อยู่ระหว่างดำเนินการ จำนวน 40โครงการ ชะลอ จำนวน 7 โครงการ ยกเลิก จำนวน 7 โครงการ แล้วเสร็จ จำนวน 3 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 5.26
สำนักการแพทย์ดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดงานประจำทั้งหมด 57 โครงการ อยู่ระหว่างดำเนินการ จำนวน 14 โครงการ ชะลอ จำนวน 5 โครงการ ยกเลิก จำนวน 31 โครงการ แล้วเสร็จ จำนวน 7 โครงการ คิดเป็นร้อยละ12.28
สำนักการแพทย์ดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดงานประจำทั้งหมด 57 โครงการ แล้วเสร็จ จำนวน 13 โครงการ ชะลอ จำนวน 3 ยกเลิก จำนวน 41 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 22.81