ผลการปฏิบัติราชการประจำปี : ของหน่วยงาน : 07000000

Home Home SED


๑.๑ - ปลอดมลพิษ

(1) ร้อยละประชากรกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจได้รับการเฝ้าระวังผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ
[มิติที่ 1 : ]

๑.๑.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพผู้ติดเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพที่มีมาตรฐานแ
ร้อยละประชากรกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจได้รับการเฝ้าระวังผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :90.00

ผลงาน :99.99

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
83.22

100 / 100
3
99.75

0 / 0
4
99.99

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างเก็บข้อมูลจากกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ได้มีการให้ความรู้ ความเข้าใจการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันมลพิษทางอากาศหรือแจกหน้ากากป้องกัน PM 2.5 หรือ N 95 ให้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจหรือคลินิกอายุรกรรมหรือคลินิกเวชกรรม ในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ให้กับ ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก หญิงตั้งครรภ์ ผู้ป่วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือดหรือโรคระบบทางเดินหายใจ - โดยมีประชากรกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจหรือคลินิกอายุรกรรมหรือคลินิกเวชกรรมฟื้นฟู ได้รับการเฝ้าระวังผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ จำนวน 34,925 ราย - ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจหรือคลินิกอายุรกรรมหรือคลินิกเวชกรรม ทั้งหมด จำนวน 41,966 ราย คิดเป็นร้อยละ 83.22

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ได้มีการให้ความรู้ ความเข้าใจการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันมลพิษทางอากาศหรือแจกหน้ากากป้องกัน PM 2.5 หรือ N 95 ให้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจหรือคลินิกอายุรกรรมหรือคลินิกเวชกรรม ในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ให้กับ ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก หญิงตั้งครรภ์ ผู้ป่วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือดหรือโรคระบบทางเดินหายใจ - โดยมีประชากรกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจหรือคลินิกอายุรกรรมหรือคลินิกเวชกรรมฟื้นฟู ได้รับการเฝ้าระวังผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ จำนวน 81,794 ราย - ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจหรือคลินิกอายุรกรรมหรือคลินิกเวชกรรม ทั้งหมด จำนวน 81,996 ราย คิดเป็นร้อยละ 99.75

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-การเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงจากมลพิษทางอากาศ ประกอบด้วย ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก หญิงตั้งครรภ์ ผู้ป่วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือดหรือโรคระบบทางเดินหายใจ ที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจหรือคลินิกอายุรกรรมหรือคลินิกเวชกรรม ในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันมลพิษทางอากาศ และการแจกหน้ากากอนามัยให้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง โดยมีผลการดำเนินการดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง ดำเนินการบริการประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้มารับบริการ ณ คลินิกมลพิษทางอากาศ และคลินิกอาชีวเวชกรรม ให้ความรู้เกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ (PM 2.5) รณรงค์แจกเอกสารประชาสัมพันธ์ พร้อมแจกหน้ากากอนามัย ลงพื้นที่ให้ความรู้ คำแนะนำ การปฏิบัติตนในสถาการณ์มลพิษทางอากาศร่วมกับภาคีเครือข่ายของโรงพยาบาล โดยมีประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจ จำนวน 91,706 คน และมีประชาชนกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจที่ได้รับการเฝ้าระวังจำนวน 91,706 คน คิดเป็นร้อยละ 100 2. โรงพยาบาลตากสิน ดำเนินการให้บริการประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้รับบริการ ณ คลินิกสมรรถภาพปอด ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันมลพิษทางอากาศ (PM 2.5) แจกหน้ากากอนามัย ที่ห้องตรวจต่างๆ และมอบหมายให้กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม หน่วยควบคุมโรค ติดเชื้อ กลุ่มงานเวชศาสตร์ชุมชนลงพื้นที่ให้ความรู้แก่ประชาชนในการป้องกันและรณรงค์ลดปัญหาทางสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ (PM 2.5) รวมทั้งหน่วยราชการใกล้เคียงโรงพยาบาลตากสิน ส่งหน่วยแพทย์อนามัยชุมชนลงพื้นที่เยี่ยมบ้านพร้อมให้ความรู้แจกหน้ากากอนามัย โดยมีประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจ จำนวน 2,122 คน และมีประชาชนกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจที่ได้รับการเฝ้าระวัง จำนวน 2,122 คน คิดเป็นร้อยละ 100 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ดำเนินการให้บริการประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้มารับบริการ ณ คลินิกโรคทางเดินหายใจ ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันมลพิษทางอากาศ แจกแผ่นผับให้ความรู้พร้อมแจกหน้ากากอนามัย รายงานสถานการณ์คุณภาพอากาศประจำวันผ่าน Line Aquare CKP Hospital และประชาสัมพันธ์เสียงตามสายของโรงพยาบาล โดยมีประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจ จำนวน 52,546 คน และมีประชาชนกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจที่ได้รับการเฝ้าระวังจำนวน 52,546 คน คิดเป็นร้อยละ 100 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ ดำเนินการให้บริการประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้มารับบริการ ณ คลินิกโรคหอบหืด จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและญาติที่มารับบริการ เพื่อให้สามารถป้องกันตนเองจากมลพิษทางอากาศ (PM 2.5) ได้อย่างถูกต้อง จัดบอร์ดประชาสัมพันธ์ให้ความรู้การป้องกันตนเองจาก ฝุ่นละออง PM 2.5 มีการแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice)กรณีการดูแลผู้ป่วยโรคหอบหืดในผู้ใหญ่ (Asthma) ระดับโรงพยาบาล โดยมีทีมสหวิชาชีพอย่างน้อย 3 สาขา ใน 5 สาขา ร่วมกันให้บริการ ณ จุดเดียวเบ็ดเสร็จ ได้แก่ แพทย์ พยาบาลเภสัชกร นักกายภาพบำบัด นักจิตวิทยา เพื่อเป็นต้นแบบที่ดีของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ในการดูแลรักษาติดตามผู้ป่วยโรคหอบหืด โดยมีประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจ จำนวน 794 คน และมีประชาชนกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจที่ได้รับการเฝ้าระวัง จำนวน 784 คน คิดเป็นร้อยละ 98.74 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ดำเนินการให้บริการประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้รับบริการ ณ คลินิกทางเดินหายใจ ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ (PM 2.5) พร้อมแจกหน้ากากอนามัย แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง โดยมีประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจ จำนวน 493 คน และมีประชาชนกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจที่ได้รับการเฝ้าระวังจำนวน 493 คน คิดเป็นร้อยละ 100 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร ดำเนินการให้บริการประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้มารับบริการ ณ คลินิกโรคทางเดินหายใจ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพ และให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันมลพิษทางอากาศ (PM 2.5) ในผู้รับบริการที่เป็นกลุ่มเสี่ยง โดยมีประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจ จำนวน 769 คน และมีประชาชนกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจที่ได้รับการเฝ้าระวังจำนวน 769 คน คิดเป็นร้อยละ 100 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ ดำเนินการให้บริการประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้มารับบริการ ณ คลินิกทางเดินหายใจ และทุกแผนกผู้ป่วยนอก (OPD) ในเวลา 08.00 น. ประชาสัมพันธ์แจกแผ่นพับให้ความรู้ การแนะนำการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันมลพิษทางอากาศ วิธีการใช้หน้ากากอนามัยแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้เข้ารับบริการ โดยมีประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจ จำนวน 963 คน และมีประชาชนกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจ ที่ได้รับการเฝ้าระวังจำนวน 963 คน คิดเป็นร้อยละ 100 8. โรงพยาบาลสิรินธร ให้บริการประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้รับบริการ ณ คลินิกโรคทางเดินหายใจ จัดอบรมบุคลากรเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ สามารถประเมินผู้ป่วยจากการสัมผัสมลพิษและทำการซักประวัติได้อย่างถูกต้อง จัดกิจกรรมให้ความรู้ แจกเอกสารแผ่นพับ คำแนะนำการใส่หน้ากากอนามัยป้องกันฝุ่นในกลุ่มเสี่ยง โดยมีประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจ จำนวน 906 คน และมีประชาชนกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจที่ได้รับการเฝ้าระวังจำนวน 906 คน คิดเป็นร้อยละ 100 9. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ให้บริการประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้มารับบริการณ การแจกหน้ากากอนามัย ณ คลินิกอายุรกรรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันมลพิษทางอากาศ มีโดยมีประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจ จำนวน 5,903 คน และมีประชาชนกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจที่ได้รับการเฝ้าระวังจำนวน 5,903 คน คิดเป็นร้อยละ 100 10. โรงพยาบาลคลองสามวา ให้บริการประชากรกลุ่มเสี่ยงในคลินิกระบบทางเดินหายใจ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพ เฝ้าระวังผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ อาทิ การแจกหน้ากากอนามัยป้อง PM 2.5 หรือ N 95 หรือประชาสัมพันธ์สื่อทาง Website Facebook โดยมีประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจ จำนวน 566 คน และมีประชาชนกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจที่ได้รับการเฝ้าระวังจำนวน 567 คน คิดเป็นร้อยละ 99.82 11. โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร ให้บริการประชากรกลุ่มเสี่ยงแลประชาชนทั่วไป โดยการจัดมุมให้ความรู้ แจกแผ่นพับ และปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในการป้องกันมลพิษทางอากาศ ภายในโรงพยาบาล ประสานสำนักงานเขตบางนาในการประชาสัมพันธ์และบรรยายส่งเสริมความรู้ให้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในชุมชน โดยมีประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจ จำนวน 574 คน และมีประชาชนกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจที่ได้รับการเฝ้าระวัง จำนวน 574 คน คิดเป็นร้อยละ 100 โดยมีประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจ จำนวน 157,343 คน และมีประชาชนกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจที่ได้รับการเฝ้าระวัง จำนวน 157,332 คน คิดเป็นร้อยละ 99.99

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๑ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(2) ร้อยละประชากรกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจได้รับการเฝ้าระวังผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ
[มิติที่ 1 : ]

๑.๑.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพผู้ติดเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพที่มีมาตรฐานแ
ร้อยละประชากรกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจได้รับการเฝ้าระวังผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :90.00

ผลงาน :99.99

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
83.22

100 / 100
3
99.75

0 / 0
4
99.99

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างเก็บข้อมูลจากกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ได้มีการให้ความรู้ ความเข้าใจการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันมลพิษทางอากาศหรือแจกหน้ากากป้องกัน PM 2.5 หรือ N 95 ให้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจหรือคลินิกอายุรกรรมหรือคลินิกเวชกรรม ในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ให้กับ ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก หญิงตั้งครรภ์ ผู้ป่วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือดหรือโรคระบบทางเดินหายใจ - โดยมีประชากรกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจหรือคลินิกอายุรกรรมหรือคลินิกเวชกรรมฟื้นฟู ได้รับการเฝ้าระวังผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ จำนวน 34,925 ราย - ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจหรือคลินิกอายุรกรรมหรือคลินิกเวชกรรม ทั้งหมด จำนวน 41,966 ราย คิดเป็นร้อยละ 83.22

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ได้มีการให้ความรู้ ความเข้าใจการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันมลพิษทางอากาศหรือแจกหน้ากากป้องกัน PM 2.5 หรือ N 95 ให้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจหรือคลินิกอายุรกรรมหรือคลินิกเวชกรรม ในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ให้กับ ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก หญิงตั้งครรภ์ ผู้ป่วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือดหรือโรคระบบทางเดินหายใจ - โดยมีประชากรกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจหรือคลินิกอายุรกรรมหรือคลินิกเวชกรรมฟื้นฟู ได้รับการเฝ้าระวังผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ จำนวน 81,794 ราย - ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจหรือคลินิกอายุรกรรมหรือคลินิกเวชกรรม ทั้งหมด จำนวน 81,996 ราย คิดเป็นร้อยละ 99.75

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-การเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงจากมลพิษทางอากาศ ประกอบด้วย ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก หญิงตั้งครรภ์ ผู้ป่วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือดหรือโรคระบบทางเดินหายใจ ที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจหรือคลินิกอายุรกรรมหรือคลินิกเวชกรรม ในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันมลพิษทางอากาศ และการแจกหน้ากากอนามัยให้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง โดยมีผลการดำเนินการดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง ดำเนินการบริการประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้มารับบริการ ณ คลินิกมลพิษทางอากาศ และคลินิกอาชีวเวชกรรม ให้ความรู้เกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ (PM 2.5) รณรงค์แจกเอกสารประชาสัมพันธ์ พร้อมแจกหน้ากากอนามัย ลงพื้นที่ให้ความรู้ คำแนะนำ การปฏิบัติตนในสถาการณ์มลพิษทางอากาศร่วมกับภาคีเครือข่ายของโรงพยาบาล โดยมีประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจ จำนวน 91,706 คน และมีประชาชนกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจที่ได้รับการเฝ้าระวังจำนวน 91,706 คน คิดเป็นร้อยละ 100 2. โรงพยาบาลตากสิน ดำเนินการให้บริการประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้รับบริการ ณ คลินิกสมรรถภาพปอด ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันมลพิษทางอากาศ (PM 2.5) แจกหน้ากากอนามัย ที่ห้องตรวจต่างๆ และมอบหมายให้กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม หน่วยควบคุมโรค ติดเชื้อ กลุ่มงานเวชศาสตร์ชุมชนลงพื้นที่ให้ความรู้แก่ประชาชนในการป้องกันและรณรงค์ลดปัญหาทางสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ (PM 2.5) รวมทั้งหน่วยราชการใกล้เคียงโรงพยาบาลตากสิน ส่งหน่วยแพทย์อนามัยชุมชนลงพื้นที่เยี่ยมบ้านพร้อมให้ความรู้แจกหน้ากากอนามัย โดยมีประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจ จำนวน 2,122 คน และมีประชาชนกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจที่ได้รับการเฝ้าระวัง จำนวน 2,122 คน คิดเป็นร้อยละ 100 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ดำเนินการให้บริการประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้มารับบริการ ณ คลินิกโรคทางเดินหายใจ ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันมลพิษทางอากาศ แจกแผ่นผับให้ความรู้พร้อมแจกหน้ากากอนามัย รายงานสถานการณ์คุณภาพอากาศประจำวันผ่าน Line Aquare CKP Hospital และประชาสัมพันธ์เสียงตามสายของโรงพยาบาล โดยมีประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจ จำนวน 52,546 คน และมีประชาชนกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจที่ได้รับการเฝ้าระวังจำนวน 52,546 คน คิดเป็นร้อยละ 100 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ ดำเนินการให้บริการประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้มารับบริการ ณ คลินิกโรคหอบหืด จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและญาติที่มารับบริการ เพื่อให้สามารถป้องกันตนเองจากมลพิษทางอากาศ (PM 2.5) ได้อย่างถูกต้อง จัดบอร์ดประชาสัมพันธ์ให้ความรู้การป้องกันตนเองจาก ฝุ่นละออง PM 2.5 มีการแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice)กรณีการดูแลผู้ป่วยโรคหอบหืดในผู้ใหญ่ (Asthma) ระดับโรงพยาบาล โดยมีทีมสหวิชาชีพอย่างน้อย 3 สาขา ใน 5 สาขา ร่วมกันให้บริการ ณ จุดเดียวเบ็ดเสร็จ ได้แก่ แพทย์ พยาบาลเภสัชกร นักกายภาพบำบัด นักจิตวิทยา เพื่อเป็นต้นแบบที่ดีของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ในการดูแลรักษาติดตามผู้ป่วยโรคหอบหืด โดยมีประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจ จำนวน 794 คน และมีประชาชนกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจที่ได้รับการเฝ้าระวัง จำนวน 784 คน คิดเป็นร้อยละ 98.74 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ดำเนินการให้บริการประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้รับบริการ ณ คลินิกทางเดินหายใจ ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ (PM 2.5) พร้อมแจกหน้ากากอนามัย แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง โดยมีประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจ จำนวน 493 คน และมีประชาชนกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจที่ได้รับการเฝ้าระวังจำนวน 493 คน คิดเป็นร้อยละ 100 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร ดำเนินการให้บริการประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้มารับบริการ ณ คลินิกโรคทางเดินหายใจ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพ และให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันมลพิษทางอากาศ (PM 2.5) ในผู้รับบริการที่เป็นกลุ่มเสี่ยง โดยมีประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจ จำนวน 769 คน และมีประชาชนกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจที่ได้รับการเฝ้าระวังจำนวน 769 คน คิดเป็นร้อยละ 100 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ ดำเนินการให้บริการประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้มารับบริการ ณ คลินิกทางเดินหายใจ และทุกแผนกผู้ป่วยนอก (OPD) ในเวลา 08.00 น. ประชาสัมพันธ์แจกแผ่นพับให้ความรู้ การแนะนำการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันมลพิษทางอากาศ วิธีการใช้หน้ากากอนามัยแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้เข้ารับบริการ โดยมีประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจ จำนวน 963 คน และมีประชาชนกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจ ที่ได้รับการเฝ้าระวังจำนวน 963 คน คิดเป็นร้อยละ 100 8. โรงพยาบาลสิรินธร ให้บริการประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้รับบริการ ณ คลินิกโรคทางเดินหายใจ จัดอบรมบุคลากรเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ สามารถประเมินผู้ป่วยจากการสัมผัสมลพิษและทำการซักประวัติได้อย่างถูกต้อง จัดกิจกรรมให้ความรู้ แจกเอกสารแผ่นพับ คำแนะนำการใส่หน้ากากอนามัยป้องกันฝุ่นในกลุ่มเสี่ยง โดยมีประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจ จำนวน 906 คน และมีประชาชนกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจที่ได้รับการเฝ้าระวังจำนวน 906 คน คิดเป็นร้อยละ 100 9. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ให้บริการประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้มารับบริการณ การแจกหน้ากากอนามัย ณ คลินิกอายุรกรรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันมลพิษทางอากาศ มีโดยมีประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจ จำนวน 5,903 คน และมีประชาชนกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจที่ได้รับการเฝ้าระวังจำนวน 5,903 คน คิดเป็นร้อยละ 100 10. โรงพยาบาลคลองสามวา ให้บริการประชากรกลุ่มเสี่ยงในคลินิกระบบทางเดินหายใจ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพ เฝ้าระวังผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ อาทิ การแจกหน้ากากอนามัยป้อง PM 2.5 หรือ N 95 หรือประชาสัมพันธ์สื่อทาง Website Facebook โดยมีประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจ จำนวน 566 คน และมีประชาชนกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจที่ได้รับการเฝ้าระวังจำนวน 567 คน คิดเป็นร้อยละ 99.82 11. โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร ให้บริการประชากรกลุ่มเสี่ยงแลประชาชนทั่วไป โดยการจัดมุมให้ความรู้ แจกแผ่นพับ และปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในการป้องกันมลพิษทางอากาศ ภายในโรงพยาบาล ประสานสำนักงานเขตบางนาในการประชาสัมพันธ์และบรรยายส่งเสริมความรู้ให้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในชุมชน โดยมีประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจ จำนวน 574 คน และมีประชาชนกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจที่ได้รับการเฝ้าระวัง จำนวน 574 คน คิดเป็นร้อยละ 100 โดยมีประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มารับบริการในคลินิกโรคทางเดินหายใจ จำนวน 157,343 คน และมีประชาชนกลุ่มเสี่ยงในคลินิกโรคทางเดินหายใจที่ได้รับการเฝ้าระวัง จำนวน 157,332 คน คิดเป็นร้อยละ 99.99

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๕ - เมืองสุขภาพดี (Healthy City)

(3) ร้อยละของการส่งรง.506 เมื่อพบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
[มิติที่ 1 : ]

๑.๕.๑๑ ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ร้อยละของการส่งรง.506 เมื่อพบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :90.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
90.48

100 / 100
3
96.83

0 / 0
4
97.12

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกที่ส่ง รง.506 จำนวน 4,061 ราย จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกทั้งหมด จำนวน 4,061 ราย คิดเป็นร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ 9 แห่ง ได้จัดกิจกรรมรณรงค์เพื่อป้องกันไข้เลือดออกเพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในโรงพยาบาล และได้มีการจัดส่งรายงาน 506 เมื่อพบผู้ป่วยรายงานโดยส่งไปยังกองควบคุมโรคติดต่อ ทางโทรสารหรือทางช่องทางอื่นๆ ภายใน 24 ชั่วโมง ผลการดำเนินงานดังนี้ - จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกที่ส่ง รง.506 จำนวน 1,036 ราย - จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกทั้งหมด จำนวน 1,145 ราย คิดเป็นร้อยละ 90.48

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ 9 แห่ง ได้จัดกิจกรรมรณรงค์เพื่อป้องกันไข้เลือดออกเพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในโรงพยาบาล และได้มีการจัดส่งรายงาน 506 เมื่อพบผู้ป่วยรายงานโดยส่งไปยังกองควบคุมโรคติดต่อ ทางโทรสารหรือทางช่องทางอื่นๆ ภายใน 24 ชั่วโมง ผลการดำเนินงานดังนี้ - จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกที่ส่ง รง.506 จำนวน 1,805 ราย - จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกทั้งหมด จำนวน 1,864 ราย คิดเป็นร้อยละ 96.83

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-สำนักการแพทย์ได้เพิ่มประสิทธิภาพในการพัฒนาระบบบริการประชาชนที่ป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกที่เข้ามารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ดังนี้ 1.จัดตั้งคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องของโรงพยาบาลในสังกัด เพื่อวางแผนและกำหนดแนวทางในการดำเนินงานการป้องกันโรคไข้เลือดออก และสร้างความตระหนักให้แก่เจ้าหน้าที่ ประชาชนผู้มารับบริการ ในการควบคุม ป้องกัน และเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก 2.จัดกิจกรรมรณรงค์เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก เช่น กิจกรรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันไข้เลือดออกในประชาชนกลุ่มเสี่ยง กิจกรรมสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในโรงพยาบาล กิจกรรมรณรงค์วันไข้เลือดออกอาเซียน กิจกรรมรายการเสียงตามสาย (รายการอาสาพาสบาย) เรื่องรณรงค์กำจัดยุงลายด้วยมาตรการ 3 เก็บ 3 โรค กิจกรรมรณรงค์ให้ทุกส่วนราชการในสังกัดร่วมสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย กิจกรรมเดินรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย เป็นต้น 3.จัดทำเอกสารให้ความรู้แก่ผู้มารับบริการโรงพยาบาลในสังกัด เช่น การแจกแผ่นพับ โปสเตอร์ ตะไคร้หอม ทรายอะเบท โลชั่นทากันยุง เป็นต้น 4.การรายงาน รง.506 เมื่อพบผู้ป่วยมารับบริการรักษาในโรงพยาบาลสังกัด ตามระบบรายงานโรค กลุ่มงานระบาดวิทยา กองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย ภายใน 24 ชั่วโมง เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้ออย่างมีประสิทธิภาพ จึงมีการจัดกิจกรรมต่างๆขึ้น และรายงานจำนวนผู้ป่วยที่เข้ามารับการรักษาทั้งหมดอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2563 ดังนี้ รพก. ผู้ป่วย 498 ราย ส่งรายงาน 480 ราย คิดเป็นร้อยละ 96.386 รพต. ผู้ป่วย 159 ราย ส่งรายงาน 144 ราย คิดเป็นร้อยละ 90.566 รพจ. ผู้ป่วย 570 ราย ส่งรายงาน 541 ราย คิดเป็นร้อยละ 94.912 รพท. ผู้ป่วย 207 ราย ส่งรายงาน 194 ราย คิดเป็นร้อยละ 93.720 รพว. ผู้ป่วย 527 ราย ส่งรายงาน 527 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 รพล. ผู้ป่วย 22 ราย ส่งรายงาน 22 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 รพร. ผู้ป่วย 90 ราย ส่งรายงาน 90 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 รพส. ผู้ป่วย 595 ราย ส่งรายงาน 595 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 รพข. ผู้ป่วย 37 ราย ส่งรายงาน 34 ราย คิดเป็นร้อยละ 91.892 รวมผู้ป่วยทั้งสิ้น จำนวน 2,705 ราย เสียชีวิต จำนวน 2,627 ราย คิดเป็นร้อยละ 97.116

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(4) ร้อยละของการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

๑.๕.๑๑ ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ร้อยละของการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :90.00

ผลงาน :95.27


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

0 / 0
4
95.27

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ในระหว่างรอการจัดสรรวัคซีนไข้หวัดใหญ่ของกลุ่มเป้าหมาย ในช่วงเดือน พ.ค. - มิ.ย. 2563 จากสปสช.

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อยู่ระหว่างรอการสนับสนุนวัคซีนจาก สปสช.และกรมควบคุมโรค

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ที่ได้รับการจัดสรรวัคซีนไข้หวัดใหญ่สำหรับบุคลากรสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวน 5 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลกลาง จำนวน 1,400 dose โรงพยาบาลตากสิน จำนวน 1,000 dose โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ จำนวน 1,000 dose โรงพยาบาลสิรินธร จำนวน 700 dose และโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน จำนวน 300 dose และยังมีโรงพยาบาลในสังกัดยังไม่ได้รับการจัดสรรในรอบนี้ เนื่องจากกระทรวงสาธารณสุขมีจำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ไม่เพียงพอ และอาจจะพิจารณาดำเนินการจัดซื้อต่อไป ส่วนวัคซีนไข้หวัดใหญ่สำหรับประชาชน อยู่ระหว่างการให้บริการกับประชาชนกลุ่มเสี่ยง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-สำนักการแพทย์ได้มีบริการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคสำหรับบุคลากรทางการแพทย์และข้าราชการและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วย และวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจาก สปสช. สำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยง โดยมีกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ 1. บุคลากรที่มีความเสี่ยงต่อการสัมผัสโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล ได้แก่ - แพทย์ พยาบาล และบุคลากรอื่นๆ ในโรงพยาบาลทั้งที่ทำงานในหอผู้ป่วย และตึกผู้ป่วยนอก รวมถึงนักศึกษาฝึกงานในแต่ละวิชาชีพ - เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ทำหน้าที่ในการสอบสวนควบคุมโรค - เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครทำลายซากสัตว์ปีก และสัตว์อื่นที่สงสัยติดเชื้อ ไข้หวัดนก - เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการตรวจวินิจฉัยเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ 2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ควรได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ประกอบด้วย - หญิงตั้งครรภ์อายุครรภ์ 4 เดือนขึ้นไป - เด็กอายุ 6 เดือน ถึง 2 ปีทุกคน - ผู้มีโรคเรื้อรัง ดังนี้ปอดอุดกั้นเรื้อรัง หอบหืด หัวใจ หลอดเลือดสมอง ไตวาย ผู้ป่วยมะเร็งที่อยู่ระหว่างการได้รับเคมีบำบัด และเบาหวาน - บุคคลที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป ทุกคน - ผู้พิการทางสมองที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ - ธาลัสซีเมียและผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง (รวมผู้ติดเชื้อ HIV ที่มีอาการ) - โรคอ้วน (น้าหนัก > 100 กิโลกรัม หรือ BMI > 35 กิโลกรัมต่อตารางเมตร ที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ โดยได้มีผลการดำเนินการ ดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 4,281 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 4,891 Dose - คิดเป็นร้อยละ 87.53 2. โรงพยาบาลตากสิน - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 4,591 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 4,873 Dose - คิดเป็นร้อยละ 94.21 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 5,191 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 5,191 Dose - คิดเป็นร้อยละ 100 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 1,331 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 1,331 Dose - คิดเป็นร้อยละ 100 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 1,427 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 1,520 Dose - คิดเป็นร้อยละ 93.88 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 1,620 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 1,620 Dose - คิดเป็นร้อยละ 100 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 4,573 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 5,002 Dose - คิดเป็นร้อยละ 91.42 8. โรงพยาบาลสิรินธร - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 3,990 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 3,994 Dose - คิดเป็นร้อยละ 99.90 9. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 1,300 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 1,300 Dose - คิดเป็นร้อยละ 100 10. โรงพยาบาลคลองสามวา - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 35 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 35 Dose - คิดเป็นร้อยละ 100 11. โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 35 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 35 Dose - คิดเป็นร้อยละ 100 สำนักการแพทย์ได้ดำเนินการให้บริการฉีดวัคซีนให้แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ ซึ่งอยู่ในกลุ่มเสี่ยงจำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 28,374 ราย จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 29,792 Dose คิดเป็นร้อยละ 95.24

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(5) อัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๕.๑๑ ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
อัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่

หน่วยนับ :มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ

เป้าหมาย :85.00

ผลงาน :87.92


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00

100 / 100
2
88.51

100 / 100
3
90.47

0 / 0
4
87.92

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาวัณโรคของโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ทุก ๆ 3 เดือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทุกแห่งได้มีการดำเนินการพัฒนาระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาวัณโรค สรุปอัตราผลสำเร็จในการรักษา (Success Rate) ของโรงพยาบาลในสังกัด ทั้ง 8 แห่ง รักษาหายและรักษาครบ(Cure+Complete) ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 235 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 208 ราย คิดเป็นร้อยละ 88.51

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทุกแห่งได้มีการดำเนินการพัฒนาระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาวัณโรค สรุปอัตราผลสำเร็จในการรักษา (Success Rate) ของโรงพยาบาลในสังกัด ทั้ง 8 แห่ง รักษาหายและรักษาครบ(Cure+Complete) ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 430 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 389 ราย คิดเป็นร้อยละ 90.47

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทุกแห่งได้มีการดำเนินการพัฒนาระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาวัณโรค โดยมีการประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาวัณโรคของโรงพยาบาลในสังกัด สำนักการแพทย์ร่วมกับสำนักอนามัย จำนวน 2 ครั้ง - ครั้งที่ 1 วันพุธที่ 20 พฤศจิกายน 2562เวลา 13.30 - 16.00 น. ณ ห้องประชุมแพทยพัฒน์ ชั้น 5 สำนักการแพทย์ - ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดีที่ 11 มิถุนายน 2563 เวลา 13.30 - 16.00 น. ณ ห้องประชุมแพทยพัฒน์ ชั้น 5 สำนักการแพทย์ และได้กำหนดแผนการตรวจประเมินคลินิกวัณโรคคุณภาพในโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ 8 แห่ง ดังนี้ โรงพยาบาลกลาง วันพุธที่ 5 สิงหาคม 2563 เวลา 09.30 – 13.00 น. โรงพยาบาลสิรินธร วันพฤหัสบดีที่ 13 สิงหาคม 2563 เวลา 09.30 – 13.00 น. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ วันพฤหัสบดีที่ 20 สิงหาคม 2563 เวลา 09.30 – 13.00 น. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร วันพฤหัสบดีที่ 27 สิงหาคม 2563 เวลา 13.00 – 16.00 น. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ วันพุธที่ 9 กันยายน 2563 เวลา 09.30 – 13.00 น. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ วันพุธที่ 16 กันยายน 2563 เวลา 09.30 – 13.00 น. โรงพยาบาลตากสิน วันพุธที่ 23 กันยายน 2563 เวลา 09.30 – 13.00 น. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ วันศุกร์ที่ 25 กันยายน 2563 เวลา 09.30 – 13.00 น. คลินิกวัณโรคโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ 8 แห่ง ผ่านการประเมินตัวชี้วัด 11 ด้าน โดยเกณฑ์ตัวชี้วัดที่ใช้ในการประเมินได้มาจากแนวทางของ International Standards of TB care (ISTC) รวมทั้งข้อเสนอแนะขององค์การอนามัยโลก สรุปผลการดำเนินงานการพัฒนาระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาวัณโรคของโรงพยาบาลในสังกัด สำนักการแพทย์ ทั้ง 8 แห่ง รายละเอียด ดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง ดำเนินการเปิดให้บริการคลินิกวัณโรค สัปดาห์ละ 2 วัน (วันอังคารและวันศุกร์) บริการให้คำปรึกษาและคำแนะนำแก่ผู้ป่วยและผู้ดูแลทุกราย จัดห้องตรวจแยกจากผู้ป่วยทั่วไป ลดขั้นตอนการติดต่อของผู้ป่วย มีระบบการส่งตรวจเสมหะ และการค้นหาผู้ป่วยที่มีเชื้อดื้อยา มีระบบการตรวจคัดกรองค้นหาผู้ป่วยสงสัยวัณโรค (Fast track screening) มีการติดตามผู้ป่วยให้รับการรักษาเร็วขึ้น มีระบบนัด ระบบการแจ้งเตือนวันนัด และพัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยเพื่อไปรับยาต่อเนื่อง โดยประสาน Referral Center for TB ของ สนอ. อัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ร้อยละ 86.77 ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 189 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 164 ราย คิดเป็นร้อยละ 86.77 2.โรงพยาบาลตากสิน ดำเนินการเปิดให้บริการคลินิกวัณโรค ให้บริการในวันและเวลาราชการ จัดบริการให้คำปรึกษาและคำแนะนำแก่ผู้ป่วยและผู้ดูแล ให้การรักษาตามแนวทางการรักษาวัณโรค ขึ้นทะเบียนผู้ป่วยวัณโรค และติดตามประเมินผลการรักษาในผู้ป่วยทุกราย อัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ร้อยละ 84.51 ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 142 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 120 ราย คิดเป็นร้อยละ 84.51 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ดำเนินการเปิดให้บริการคลินิกวัณโรค จัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับวัณโรคในผู้ป่วยทุกราย จัดทำ Dot. Conner สัปดาห์ละ 1 ครั้ง จัดให้มีระบบ Counselling TB ในผู้ป่วยทุกราย จัดทำระบบ การกินยาแบบ DOT ในผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะบวก ติดตามผู้ป่วยให้รับประทานยาครบถ้วน ถูกต้อง และจัดระบบบริการแบบ One stop service (บริการตาม LAB และรับยาให้ผู้ป่วย) รวมถึงประสานงานระบบส่งต่อผู้ป่วยกับหน่วยงานภายนอก อัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ร้อยละ 87.50 ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 128 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 112 ราย คิดเป็นร้อยละ 87.50 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ ดำเนินการเปิดให้บริการคลินิกวัณโรค ทุกวันพุธ จัดให้ความรู้ในการปฏิบัติตัวและการดูแลตนเองแก่ผู้ป่วยวัณโรคและญาติของผู้ป่วย และมีการประเมินความรู้ในการปฏิบัติตัวของผู้ป่วย รวมถึง มีการค้นหาผู้สัมผัสร่วมบ้านกับผู้ป่วยวัณโรคให้ได้รับการตรวจรักษา อัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ร้อยละ 87.50 ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 48 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 42 ราย คิดเป็นร้อยละ 87.50 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ดำเนินการเปิดให้บริการคลินิกวัณโรค จัดระบบ Fast track ในผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ มีการให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติ และมีการประเมินก่อนและหลังให้ความรู้ มีการติดตามผู้ป่วยให้มารักษาตามนัด ระบบให้ยาแบบ Daily package เพื่อความสะดวกในการรับประทานยาของผู้ป่วย มีการติดตามเยี่ยมหลังการรักษา และติดตามเยี่ยมผู้สัมผัสใกล้ชิดผู้ป่วยวัณโรค รวมถึงมีการประสานงานการทำงานระหว่างหน่วยงานในโรงพยาบาลและหน่วยงานภายนอก อัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ร้อยละ 90.91 ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 44 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 40 ราย คิดเป็นร้อยละ 90.91 7. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร ดำเนินการเปิดให้บริการคลินิกวัณโรคทุกวันศุกร์ เวลา 13.00 – 16.00 น. ณ คลินิกพิเศษ งานผู้ป่วยนอก ตึกทันตกรรม ชั้น 1 จัดให้บริการแบบ One stop service จุดเดียวเบ็ดเสร็จให้ความรู้ในการปฏิบัติตัวและการดูแลตนเองแก่ผู้ป่วยวัณโรคและญาติของผู้ป่วย รวมถึงการติดตามการรับประทานยา และค้นหาผู้สัมผัสร่วมบ้านกับผู้ป่วยวัณโรคให้ได้รับการตรวจรักษา อัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรค รายใหม่ ร้อยละ 95.12 ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 41 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ(Cure+Complete) จำนวน 39 ราย คิดเป็นร้อยละ 95.12 8. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ ดำเนินการเปิดให้บริการคลินิกวัณโรค จัดให้ความรู้ในการปฏิบัติตัวและการดูแลตนเองแก่ผู้ป่วยวัณโรคและญาติของผู้ป่วย รวมถึงการติดตามการรับประทานยาของผู้ป่วย อัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรค รายใหม่ ร้อยละ 89.47 ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 114 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 102 ราย คิดเป็นร้อยละ 89.47 9. โรงพยาบาลสิรินธร ดำเนินการเปิดให้บริการคลินิกวัณโรค ให้บริการแบบ One stop service จุดเดียวเบ็ดเสร็จ จัดให้ความรู้ในการปฏิบัติตัวและการดูแลตนเองแก่ผู้ป่วยวัณโรคและญาติของผู้ป่วย รวมถึงการติดตามการรับประทานยา และค้นหาผู้สัมผัสร่วมบ้านกับผู้ป่วยวัณโรคให้ได้รับการตรวจรักษา รวมถึงมีการพัฒนาระบบการติดต่อผ่านระบบไลน์ ทาง Smart phone เพื่อให้คำแนะนำปรึกษาหากผู้ป่วยหรือญาติผู้ป่วยมีปัญหาในการรับประทานยาหรือผลข้างเคียงจากยาใช้ในการติดตามผู้ป่วย แจ้งวันนัดล่วงหน้า เพื่อไม่ให้ผู้ป่วยลืมนัดหมายการตรวจ ให้ความรู้เกี่ยวกับวัณโรคและการดูแล ที่ถูกต้องให้กับผู้ป่วย และผู้ป่วยสามารถแจ้งการรับประทานยาให้เจ้าหน้าที่ที่คลินิกได้รับทราบ อัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ร้อยละ 89.23 ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 130 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 116 ราย คิดเป็นร้อยละ 89.23 สรุปอัตราผลสำเร็จในการรักษา (Success Rate) ของโรงพยาบาลในสังกัด ทั้ง 8 แห่งในภาพรวมเท่ากับร้อยละ 87.92 ดังนี้ ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 836 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 735 ราย คิดเป็นร้อยละ 87.92

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย

(6) ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการอ้วนลงพุงมีรอบเอวหรือ BMI ลดลงจากเดิม (ใช้อันนี้)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร
ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการอ้วนลงพุงมีรอบเอวหรือ BMI ลดลงจากเดิม (ใช้อันนี้)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :90.00

ผลงาน :0.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

0 / 0
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ดำเนินการเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน โดยจัดโครงการ/กิจกรรมต่างๆเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนและบุคลากรที่มีภาวะอ้วนลงพุงเสี่ยงต่อการเกิดโรค

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อยู่ระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ดำเนินการเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน โดยจัดโครงการ/กิจกรรมต่างๆเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนและบุคลากรที่มีภาวะอ้วนลงพุงเสี่ยงต่อการเกิดโรค

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ขอยกเลิกโครงการเนื่องจาก 1. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน ลักษณะของการจัดกิจกรรม เป็นการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการสร้างแรงจูงใจ เสริมพลัง และฝึกทักษะ รวมถึงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จึงจำเป็นต้องมีการพบปะระหว่างเจ้าหน้าที่และผู้เข้าร่วมโครงการฯดังนั้น เมื่อเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในวงกว้าง จึงทำให้ไม่สามารถคาดคะเนความรุนแรงของการระบาดในช่วงการจัดกิจกรรมได้อย่างแน่นอน 2. มีความจำเป็นต้องถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดตามหนังสือของสำนักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครที่ได้แจ้งเวียนให้หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครทราบ และดำเนินการตามหนังสือที่ กท 0200/926 ลงวันที่ 11 มีนาคม 2563 เรื่อง ขอส่งสำเนาสรุปการประชุมเพื่อหารือ เรื่อง การจัดกิจกรรมวันสงกรานต์ในสถานการณ์ที่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ซึ่งมีข้อสั่งการให้เลื่อนการฝึกอบรม สัมมนา ศึกษาดูงานในประเทศและต่างประเทศ จนกว่าสถานการณ์ไวรัสโคโรนา 2019 จะปลอดภัย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลต่อการดำเนินงานของสำนักการแพทย์ ซึ่งสำนักการแพทย์มีภารกิจด้านการบริหารจัดการการแพทย์และสาธารณสุขในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยทำหน้าที่บริหารจัดการเตียงและทรัพยากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ตลอดจนร่วมบริหาร สั่งการ และประสานงานการส่งต่อทั้งผู้ป่วยยืนยันโรค ติดเชื้อ COVID – 19 ผู้ป่วยที่เข้าข่ายสงสัยติดเชื้อ (PUI) รวมไปถึงการดูแลรักษาผู้ป่วยจากโรคดังกล่าว จากสถานการณ์ดังกล่าวส่งผลต่อการดำเนินงานใน ตัวชี้วัด ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการอ้วนลงพุงมีรอบเอวหรือ BMI ลดลงจากเดิม ซึ่งการดำเนินงานตัวชี้วัดดังกล่าวต้องมีการจัดโครงการหรือกิจกรรมลักษณะของการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการสร้างแรงจูงใจ เสริมพลังและ ฝึกทักษะ และ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีความจำเป็นต้องมีการพบปะระหว่างเจ้าหน้าที่และผู้เข้าร่วมโครงการฯอย่างต่อเนื่อง จึงทำให้การดำเนินการดังกล่าวไม่สามารถทำได้ ประกอบกับมีการเวียนแจ้ง ตามหนังสือที่ กธ 0200/926 ลงวันที่ 11 มีนาคม 2563 เรื่อง ขอส่งสำเนาสรุปการประชุมเพื่อหารือ เรื่อง การจัดกิจกรรมวันสงกรานต์ในสถานการณ์ ที่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งมีข้อสั่งการให้เลื่อนการฝึกอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน ในประเทศและต่างประเทศ จนกว่าสถานการณ์ไวรัส โคโรนา 2019 จะปลอดภัย ซึ่งส่งผลให้การจัดโครงการและกิจกรรมดังกล่าวมีปัญหาและอุปสรรค ไม่สามารถดำเนินการได้ ทั้งนี้เพื่อเป็นการดำเนินการตามมติที่ประชุมคณะกรรมการจัดทำแผนปฏิบัติราชการสำนักการแพทย์ พิจารณาแล้วเห็นควรขอยกเลิกตัวชี้วัด ตามหนังสือด่วนที่สุด กท 0602/9769 ลงวันที่ 14 กันยายน 2563 เรื่อง ขออุทธรณ์การปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(7) ร้อยละของหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี หลังคลอดหรือมีการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ที่ได้รับการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ (ภายใน 6 สัปดาห์หลังคลอดหรือมีการสิ้นสุดการตั้งครรภ์)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร
ร้อยละของหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี หลังคลอดหรือมีการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ที่ได้รับการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ (ภายใน 6 สัปดาห์หลังคลอดหรือมีการสิ้นสุดการตั้งครรภ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :40.00

ผลงาน :89.57


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
78.67

100 / 100
3
85.40

0 / 0
4
89.57

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างดำเนินการเก็บข้อมูลผู้หญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่มารับบริการด้วยเรื่องคลอดมีชีพหรือมีการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ที่ได้รับบริการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ ได้แก่ ยาเม็ดคุมกำเนิด ยาฉีดคุมกำเนิด ห่วงอนามัย ยาฝังคุมกำเนิด ถุงยางอนามัย หมันชาย หมันหญิง ที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ได้มีการให้ความรู้เกี่ยวกับ การคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ วิธีใดวิธีหนึ่ง ได้แก่ ยาเม็ดคุมกำเนิด ยาฉีดคุมกำเนิด ห่วงอนามัย ยาฝังคุมกำเนิด ถุงยางอนามัย หมันชาย หมันหญิง ต่อหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่มารับบริการด้วยเรื่องคลอดมีชีพหรือมีการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ (ภายใน 6 สัปดาห์หลังคลอดหรือมีการสิ้นสุดการตั้งครรภ์) โดยมีผู้รับบริการ ดังนี้ - หญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่มารับบริการด้วยเรื่องคลอดมีชีพหรือมีการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ที่ได้รับบริการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ วิธีใดวิธีหนึ่ง ได้แก่ ยาเม็ดคุมกำเนิด ยาฉีดคุมกำเนิด ห่วงอนามัย ยาฝังคุมกำเนิดถุงยางอนามัย หมันชาย หมันหญิง ทั้งหมด จำนวน 273 ราย - หญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่มารับบริการด้วยเรื่องคลอดมีชีพหรือมีการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ จำนวน 347 ราย คิดเป็นร้อยละ 78.67

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

---โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ได้ให้บริการโรงเรียนพ่อ-แม่ ณ คลินิกฝากครรภ์หรือคลินิกตั้งครรภ์วัยรุ่น ของแต่ละโรงพยาบาล เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับเกี่ยวกับการป้องกันการคลอดก่อนกำหนด การสังเกตอาการผิดปกติและการปฏิบัติตัวที่เหมาะสม การวางแผนครอบครัวและการคุมกำเนิดการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ มีผู้ใช้บริการดังนี้ - หญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่มารับบริการด้วยเรื่องคลอดมีชีพหรือมีการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ที่ได้รับบริการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ วิธีใดวิธีหนึ่ง ได้แก่ ยาเม็ดคุมกำเนิด ยาฉีดคุมกำเนิด ห่วงอนามัย ยาฝังคุมกำเนิดถุงยางอนามัย หมันชาย หมันหญิง จำนวน 538 ราย - หญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่มารับบริการด้วยเรื่องคลอดมีชีพหรือมีการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ จำนวน 630 ราย คิดเป็น ร้อยละ 85.40

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ 8 แห่ง ได้มีการให้บริการด้านอนามัยเจริญพันธุ์ และมีกิจกรรมการให้คำแนะนำและให้บริการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปีที่มารับบริการสุขภาพทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ โดยมีผลการดำเนินงาน ดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง ดำเนินการให้ความรู้เรื่องการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ขณะตั้งครรภ์และหลังคลอดในโรงเรียนพ่อแม่ และมีการให้คำแนะนำเกี่ยวกับการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี หลังคลอด/มีการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ที่มารับบริการสุขภาพทางเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ ณ หน่วยผู้ป่วยนอกสูตินรีเวชกรรม ชั้น 2 อาคารอนุสรณ์ 100 ปี โรงพยาบาลกลาง โดยมีจำนวนหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี หลังคลอด/สิ้นสุดการตั้งครรภ์ที่มารับบริการด้วยเรื่องคลอดมีชีพหรือมีการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ ทั้งหมด 110 ราย ได้รับการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ จำนวน 110 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 2. โรงพยาบาลตากสิน ดำเนินการให้คำแนะนำการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่มารับบริการคลอดมีชีพหรือสิ้นสุดการตั้งครรภ์ ณ หอผู้ป่วยพิเศษ 14 ทุกวัน และให้บริการ ณ ห้องฝากครรภ์ คลินิกวางแผนครอบครัว ทุกวันพุธ เวลา 13.00 – 16.00 น. โดยมีจำนวนหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี หลังคลอด/สิ้นสุดการตั้งครรภ์ที่มารับบริการด้วยเรื่องคลอดมีชีพหรือมีการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ ทั้งหมด 132 ราย ได้รับการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ จำนวน 111 ราย คิดเป็นร้อยละ 84.09 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ดำเนินการให้คำแนะนำและให้บริการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปีหลังคลอดหรือมีการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ที่มารับบริการสุขภาพทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ ณ ห้องตรวจนรีเวชกรรม ชั้น 3 อาคาร 72 พรรษา มหาราชินี ในวันราชการ เวลา 08.00 – 11.00 น. โดยมีจำนวนหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี หลังคลอด/สิ้นสุดการตั้งครรภ์ที่มารับบริการด้วยเรื่องคลอดมีชีพหรือมีการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ ทั้งหมด 222 ราย ได้รับการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ จำนวน 222 ราย คิดเป็นร้อยละ 100.00 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโรอุทิศ ดำเนินการจัดกิจกรรมให้คำแนะนำการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ในหญิงอายุต่ำกว่า 20 ปี โดยให้คำแนะนำการวางแผนครอบครัว และแจกเอกสารให้ความรู้และคำแนะนำการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ในหญิงฝากครรภ์วัยรุ่น โดยมีจำนวนหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี หลังคลอด/สิ้นสุดการตั้งครรภ์ที่มารับบริการด้วยเรื่องคลอดมีชีพหรือมีการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ ทั้งหมด 38 ราย ได้รับการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ จำนวน 38 ราย คิดเป็นร้อยละ 100.00 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ดำเนินการจัดบริการให้คำปรึกษาและวางแผนครอบครัวโดยเน้นการคุมกำเนิดที่หลากหลายในช่วงหลังคลอด และส่งเสริมให้หญิงอายุน้อยกว่า 20 ปีหลังคลอดหรือมีการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ได้รับการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ โดยมีจำนวนหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี หลังคลอด/สิ้นสุดการตั้งครรภ์ที่มารับบริการด้วยเรื่องคลอดมีชีพหรือมีการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ ทั้งหมด 56 ราย ได้รับการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ จำนวน 56 ราย คิดเป็นร้อยละ 100.00 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร ดำเนินการคัดกรองกลุ่มหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี หลังคลอดหรือมีการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ ส่งปรึกษานักสังคมสงเคราะห์ทุกรายเพื่อประเมินความพร้อมในการเลี้ยงดูบุตร และวางแผนเรื่องการคุมกำเนิด และจัดกิจกรรมสอนสุขศึกษารายเดี่ยวและรายกลุ่มในเรื่องการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ ใช้ภาพพลิกและแผ่นพับเป็นสื่อในการสอนให้ความรู้ ให้บริการ ณ คลินิกวางแผนครอบครัว ทุกวันพุธ เวลา 13.00 – 16.00 น. โดยมีจำนวนหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี หลังคลอด/สิ้นสุดการตั้งครรภ์ที่มารับบริการด้วยเรื่องคลอดมีชีพหรือมีการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ ทั้งหมด 31 ราย ได้รับการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ จำนวน 30 ราย คิดเป็นร้อยละ 96.77 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ ดำเนินการจัดกิจกรรมให้คำแนะนำเรื่องการวางแผนครอบครัว การเตรียมตัวคลอดสำหรับหญิงตั้งครรภ์อายุต่ำกว่า 20 ปี ในโรงเรียนพ่อแม่ และให้ความรู้ ให้คำแนะนำเรื่องการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ณ คลินิกสูตินรีเวชกรรม ทุกวันพฤหัสบดี เวลา 12.00 น. โดยมีจำนวนหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี หลังคลอด/สิ้นสุดการตั้งครรภ์ที่มารับบริการด้วยเรื่องคลอดมีชีพหรือมีการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ ทั้งหมด 71 ราย ได้รับการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ จำนวน 71 ราย คิดเป็นร้อยละ 100.00 8. โรงพยาบาลสิรินธร ดำเนินการจัดกิจกรรมให้คำปรึกษาในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นเกี่ยวกับเรื่องการฝังยาคุมกำเนิด ณ ห้องฝากครรภ์ และให้บริการฝังยาคุมกำเนิดฟรีในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น ณ ห้องตรวจสูตินรีเวชกรรม ชั้น 2 ในวันราชการ เวลา 08.00 – 12.00 น. โรงพยาบาลสิรินธร โดยมีจำนวนหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี หลังคลอด/สิ้นสุดการตั้งครรภ์ที่มารับบริการด้วยเรื่องคลอดมีชีพหรือมีการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ ทั้งหมด 318 ราย ได้รับการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ จำนวน 238 ราย คิดเป็นร้อยละ 74.84 รวมจำนวนหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี หลังคลอด/สิ้นสุดการตั้งครรภ์ที่มารับบริการด้วยเรื่องคลอดมีชีพหรือมีการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ ทั้งหมด 978 ราย ได้รับการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ จำนวน 876 ราย คิดเป็นร้อยละ 89.57

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(8) ร้อยละของวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ต่อได้รับการฝากครรภ์และคลอดอย่างมีคุณภาพ
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร
ร้อยละของวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ต่อได้รับการฝากครรภ์และคลอดอย่างมีคุณภาพ

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :40.00

ผลงาน :50.93


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
65.63

100 / 100
3
57.19

0 / 0
4
50.93

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างเก็บข้อมูลวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปี ที่ตั้งครรภ์ต่อได้เข้ารับบริการฝากครรภ์และการคลอดอย่างมีคุณภาพ ในโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จำนวนวัยรุ่นตั้งครรภ์อายุ 10 - 19 ปี ที่ตั้งครรภ์ต่อได้เข้ารับบริการฝากครรภ์และการคลอดอย่างมีคุณภาพ จำนวน 320 ราย จำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปี ที่มารับบริการคลอดบุตรทั้งหมดในช่วงเวลาเดียวกัน จำนวน 210 รายคิดเป็นร้อยละ 65.63

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

จำนวนวัยรุ่นตั้งครรภ์อายุ 10 - 19 ปี ที่ตั้งครรภ์ต่อได้เข้ารับบริการฝากครรภ์และการคลอดอย่างมีคุณภาพ จำนวน 292 ราย จำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปี ที่มารับบริการคลอดบุตรทั้งหมดในช่วงเวลาเดียวกัน จำนวน 167 รายคิดเป็นร้อยละ 57.19

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ 8 แห่ง ได้มีการให้บริการด้านอนามัยเจริญพันธุ์ มีกิจกรรมโรงเรียนพ่อ-แม่สำหรับหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น และมีการให้ความรู้ในหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่ฝากครรภ์จนถึงหลังคลอด โดยมีผลการดำเนินการดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง ดำเนินการจัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อ-แม่สำหรับหญิงตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โดยมีการให้ความรู้ในการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นตั้งแต่ฝากครรภ์จนถึงหลังคลอด ให้บริการในวันศุกร์ที่ 1 และ 3 ของเดือน และเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2562 ได้จัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ “โครงการคุณแม่คุณภาพ” เพื่อให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์และครอบครัว สามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง ในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอด ลดความวิตกกังวลในการเข้าสู่บทบาทการเป็นมารดา รวมทั้งลดภาวะแทรกซ้อนในระยะตั้งครรภ์ โดยภายในงานมีการบรรยาย เสวนา และกิจกรรมเชิงปฏิบัติการโดยทีมพยาบาลผู้ป่วยนอกสูตินรีเวชกรรม มีจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปี ที่มารับบริการคลอดบุตรทั้งหมด 96 ราย และมีจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปีที่ตั้งครรภ์ต่อได้รับการฝากครรภ์และคลอดอย่างมีคุณภาพ จำนวน 74 ราย คิดเป็นร้อยละ 77.08 2. โรงพยาบาลตากสิน ดำเนินการจัดตั้งคลินิกหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น ให้คำแนะนำและให้ความรู้เกี่ยวกับกิจกรรมโรงเรียนพ่อ-แม่วัยรุ่น โดยให้ความรู้เรื่องการป้องกันการคลอดก่อนกำหนด การสังเกตอาการผิดปกติ การปฏิบัติตัวที่เหมาะสม การวางแผนครอบครัว การคุมกำเนิด และการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ คลินิกเปิดให้บริการ ทุกวันพฤหัสบดี เวลา 08.00 – 12.00 น. มีจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปี ที่มารับบริการคลอดบุตรทั้งหมด 76 ราย และมีจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปีที่ตั้งครรภ์ต่อได้รับการฝากครรภ์และคลอดอย่างมีคุณภาพ จำนวน 44 ราย คิดเป็นร้อยละ 57.89 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ดำเนินการจัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อ-แม่สำหรับหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น และมีการให้ความรู้ในหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่ฝากครรภ์จนถึงหลังคลอด ณ ห้องฝากครรภ์ ชั้น 3 อาคาร 72 พรรษา มหาราชินี ในวันจันทร์ เวลา 08.00 – 11.00 น. มีจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปี ที่มารับบริการคลอดบุตรทั้งหมด 220 ราย และมีจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปีที่ตั้งครรภ์ต่อได้รับการฝากครรภ์และคลอดอย่างมีคุณภาพ จำนวน 85 ราย คิดเป็นร้อยละ 38.64 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโรอุทิศ จัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อ-แม่สำหรับหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น กิจกรรมให้ความรู้การปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์วัยรุ่น มีการทดสอบความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรมโรงเรียนพ่อ-แม่ รวมทั้งมีการแจกแผ่นพับประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ เรื่อง คุณแม่มือใหม่กับการฝากครรภ์ และ เรื่องการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น มีจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปี ที่มารับบริการคลอดบุตรทั้งหมด 36 ราย และมีจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปีที่ตั้งครรภ์ต่อได้รับการฝากครรภ์และคลอดอย่างมีคุณภาพ จำนวน 15 ราย คิดเป็นร้อยละ 41.67 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ดำเนินการจัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อ-แม่สำหรับหญิงตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โดยมีการให้คำแนะนำหญิงตั้งครรภ์และครอบครัว ให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง โดยใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก และส่งเสริมโภชนาการและการเพิ่มน้ำหนักในหญิงตั้งครรภ์เพื่อเฝ้าระวังน้ำหนักให้มีน้ำหนักเพิ่มตามเกณฑ์ มีจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปี ที่มารับบริการคลอดบุตรทั้งหมด จำนวน 60 ราย และมีจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปีที่ตั้งครรภ์ต่อได้รับการฝากครรภ์และคลอดอย่างมีคุณภาพ จำนวน 29 ราย คิดเป็นร้อยละ 48.33 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร ดำเนินการจัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อ-แม่สำหรับหญิงตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โดยมีการให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกายในระยะตั้งครรภ์ บทบาทพ่อแม่ที่ดี การเตรียมความพร้อมเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ มีการให้คำปรึกษาเรื่องโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม การดูแลช่องปาก และการประเมินสุขภาพจิต ณ คลินิกฝากครรภ์ รวมถึงในระยะใกล้คลอด มีกิจกรรมการเตรียมความพร้อมสำหรับการคลอด การฝึกการเตรียมความพร้อมในการเผชิญความเจ็บปวดจากการคลอด การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และอาการสำคัญที่ต้องมา โรงพยาบาล ณ ห้องคลอด มีจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 - 19 ปี ที่มารับบริการคลอดบุตรทั้งหมด จำนวน 33 ราย และมีจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 - 19 ปีที่ตั้งครรภ์ต่อได้รับการฝากครรภ์และคลอดอย่างมีคุณภาพ จำนวน 23 ราย คิดเป็นร้อยละ 69.70 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ ดำเนินการจัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อ-แม่สำหรับหญิงตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ และมีการเตรียมความพร้อมในการเป็นคุณพ่อคุณแม่ที่มีคุณภาพ ณ คลินิกสูตินรีเวชกรรม ในวันราชการ เวลา 08.00 – 12.00 น. มีจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปี ที่มารับบริการคลอดบุตรทั้งหมด จำนวน 55 ราย และมีจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปีที่ตั้งครรภ์ต่อได้รับการฝากครรภ์และคลอดอย่างมีคุณภาพ จำนวน 23 ราย คิดเป็นร้อยละ 41.82 8. โรงพยาบาลสิรินธร ดำเนินการจัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อ-แม่สำหรับหญิงตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ให้ความรู้และคำแนะนำหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ รวมทั้งการให้คำปรึกษาในการดำเนินชีวิตหลังคลอด เช่น การวางแผนการคุมกำเนิด และการศึกษา ณ ห้องตรวจสูตินรีเวชกรรม ชั้น 2 ในวันศุกร์ เวลา 13.00 น. มีจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปี ที่มารับบริการคลอดบุตรทั้งหมด จำนวน 445 ราย และมีจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปีที่ตั้งครรภ์ต่อได้รับการฝากครรภ์และคลอดอย่างมีคุณภาพ จำนวน 227 ราย คิดเป็นร้อยละ 51.01 รวมจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปี ที่มารับบริการคลอดบุตรทั้งหมด จำนวน 1,021 ราย และมีจำนวนวัยรุ่นอายุ 10 – 19 ปีที่ตั้งครรภ์ต่อได้รับการฝากครรภ์และคลอดอย่างมีคุณภาพ จำนวน 520 ราย คิดเป็นร้อยละ 50.93

** สรุปผลการดำเนินงาน **

(9) ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการคัดกรองด้วย 2Q และพบความเสี่ยงได้รับการรับการดูแล/การให้ปรึกษา
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร
ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการคัดกรองด้วย 2Q และพบความเสี่ยงได้รับการรับการดูแล/การให้ปรึกษา

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :70.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
97.21

100 / 100
3
100.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างคัดกรองลุ่มเสี่ยงผู้สูงอายุที่เข้ารับการบริการในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ดำเนินการคัดกรองผู้สูงอายุที่เข้ามารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพจะได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้าและได้รับการตรวจคัดกรองประเมิน 2Q และได้รับการให้คำปรึกษา คำแนะนำ และการเพิ่มความรอบรู้ด้านสุขภาพ - จำนวนผู้สูงอายุที่เข้ารับการบริการในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพที่ได้รับการคัดกรองด้วย 2Q และพบความผิดปกติได้รับการดูแลและให้คำปรึกษา จำนวน 101 ราย - จำนวนผู้สูงอายุในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพที่ได้รับการคัดกรองด้วย 2Q และพบความผิดปกติทั้งหมด จำนวน 104 ราย คิดเป็นร้อยละ 97.12

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ดำเนินการคัดกรองผู้สูงอายุที่เข้ามารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพจะได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้าและได้รับการตรวจคัดกรองประเมิน 2Q และได้รับการให้คำปรึกษา คำแนะนำ และการเพิ่มความรอบรู้ด้านสุขภาพ - จำนวนผู้สูงอายุที่เข้ารับการบริการในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพที่ได้รับการคัดกรองด้วย 2Q และพบความผิดปกติได้รับการดูแลและให้คำปรึกษา จำนวน 265 ราย - จำนวนผู้สูงอายุในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพที่ได้รับการคัดกรองด้วย 2Q และพบความผิดปกติทั้งหมด จำนวน 265 ราย คิดเป็นร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-สำนักการแพทย์ได้มีการคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุ สำหรับผู้สูงอายุที่เข้ามารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ โดยผู้สูงอายุจะได้รับการคัดกรองด้วย 2Q เพื่อค้นหาความเสี่ยงที่จะอยู่ในภาวะซึมเศร้า ผู้สูงอายุที่ได้รับการประเมินและพบความผิดปกติจะได้รับการดูแลและให้คำปรึกษา ผลการดำเนินงานในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้า มีดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง - จำนวนผู้สูงอายุที่เข้ารับการบริการในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพที่ได้รับการคัดกรองด้วย 2Q และพบความผิดปกติได้รับการดูแลและให้คำปรึกษา จำนวน 49 ราย - จำนวนผู้สูงอายุในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพที่ได้รับการคัดกรองด้วย 2Q และพบความผิดปกติทั้งหมด จำนวน 49 ราย - คิดเป็นร้อยละ 100 2. โรงพยาบาลตากสิน - จำนวนผู้สูงอายุที่เข้ารับการบริการในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพที่ได้รับการคัดกรองด้วย 2Q และพบความผิดปกติได้รับการดูแลและให้คำปรึกษา จำนวน 32 ราย - จำนวนผู้สูงอายุในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพที่ได้รับการคัดกรองด้วย 2Q และพบความผิดปกติทั้งหมด จำนวน 32 ราย - คิดเป็นร้อยละ 100 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ - จำนวนผู้สูงอายุที่เข้ารับการบริการในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพที่ได้รับการคัดกรองด้วย 2Q และพบความผิดปกติได้รับการดูแลและให้คำปรึกษา จำนวน 141 ราย - จำนวนผู้สูงอายุในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพที่ได้รับการคัดกรองด้วย 2Q และพบความผิดปกติทั้งหมด จำนวน 141 ราย - คิดเป็นร้อยละ 100 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ - จำนวนผู้สูงอายุที่เข้ารับการบริการในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพที่ได้รับการคัดกรองด้วย 2Q และพบความผิดปกติได้รับการดูแลและให้คำปรึกษา จำนวน 57 ราย - จำนวนผู้สูงอายุในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพที่ได้รับการคัดกรองด้วย 2Q และพบความผิดปกติทั้งหมด จำนวน 57 ราย - คิดเป็นร้อยละ 100 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ - จำนวนผู้สูงอายุที่เข้ารับการบริการในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพที่ได้รับการคัดกรองด้วย 2Q และพบความผิดปกติได้รับการดูแลและให้คำปรึกษา จำนวน 114 ราย - จำนวนผู้สูงอายุในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพที่ได้รับการคัดกรองด้วย 2Q และพบความผิดปกติทั้งหมด จำนวน 114 ราย - คิดเป็นร้อยละ 100 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร - จำนวนผู้สูงอายุที่เข้ารับการบริการในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพที่ได้รับการคัดกรองด้วย 2Q และพบความผิดปกติได้รับการดูแลและให้คำปรึกษา จำนวน 24 ราย - จำนวนผู้สูงอายุในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพที่ได้รับการคัดกรองด้วย 2Q และพบความผิดปกติทั้งหมด จำนวน 24 ราย - คิดเป็นร้อยละ 100 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ - จำนวนผู้สูงอายุที่เข้ารับการบริการในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพที่ได้รับการคัดกรองด้วย 2Q และพบความผิดปกติได้รับการดูแลและให้คำปรึกษา จำนวน 67 ราย - จำนวนผู้สูงอายุในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพที่ได้รับการคัดกรองด้วย 2Q และพบความผิดปกติทั้งหมด จำนวน 67 ราย - คิดเป็นร้อยละ 100 8. โรงพยาบาลสิรินธร - จำนวนผู้สูงอายุที่เข้ารับการบริการในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพที่ได้รับการคัดกรองด้วย 2Q และพบความผิดปกติได้รับการดูแลและให้คำปรึกษา จำนวน 34 ราย - จำนวนผู้สูงอายุในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพที่ได้รับการคัดกรองด้วย 2Q และพบความผิดปกติทั้งหมด จำนวน 34 ราย - คิดเป็นร้อยละ 100 สรุป จำนวนผู้สูงอายุที่เข้ารับการบริการในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพที่ได้รับการคัดกรองด้วย 2Q และพบความผิดปกติได้รับการดูแลและให้คำปรึกษา จำนวน 518 ราย จำนวนผู้สูงอายุในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพที่ได้รับการคัดกรองด้วย 2Q และพบความผิดปกติทั้งหมด จำนวน 518 ราย คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(10) ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร
ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

หน่วยนับ :ราย

เป้าหมาย :80,000.00

ผลงาน :103.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ราย)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
27.00

100 / 100
3
67.00

0 / 0
4
103.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างส่วนราชการดำเนินการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงให้กับประชาชนที่มารับบริการในโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ทั้ง 11 แห่ง ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไป โดยการตรวจน้ำตาลในเลือดด้วยวิธีการเจาะจากปลายนิ้ว (DTX>200) และวัดความดันโลหิต ในกลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูง พร้อมให้คำแนะนำเกี่ยวกับ การดูแลสุขภาพ โดยการแจกแผ่นพับความรู้ให้ประชาชนรับรู้ถึงอันตรายของโรค และวิธีปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรค ผลการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไป มีจำนวนทั้งสิ้น 27,865 ราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ทั้ง 11 แห่ง ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไป โดยการตรวจน้ำตาลในเลือดด้วยวิธีการเจาะจากปลายนิ้ว (DTX>200) และวัดความดันโลหิต ในกลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูง พร้อมให้คำแนะนำเกี่ยวกับ การดูแลสุขภาพ โดยการแจกแผ่นพับความรู้ให้ประชาชนรับรู้ถึงอันตรายของโรค และวิธีปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรค ผลการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไป มีจำนวนทั้งสิ้น 67,956 ราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทั้ง 11 แห่ง ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไป โดยการตรวจน้ำตาลในเลือดด้วยวิธีการเจาะจากปลายนิ้ว (DTX>200) และวัดความดันโลหิต ในกลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูง พร้อมให้คำแนะนำเกี่ยวกับ การดูแลสุขภาพ โดยการแจกแผ่นพับความรู้ให้ประชาชนรับรู้ถึงอันตรายของโรค และวิธีปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรค ผลการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไป ในปีงบประมาณ 2563 มีดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง ดำเนินการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูงให้กับผู้ป่วยและญาติที่มา รับบริการแผนกผู้ป่วยนอกทุกหน่วยงานและออกหน่วยแพทย์ เพื่อการให้บริการตรวจคัดกรองฯ เชิงรุกยังสถานที่ต่างๆ มีผู้ที่ได้รับการตรวจ คัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ทั้งหมด จำนวน 16,251 ราย พบความผิดปกติ เบาหวานจำนวน 1,123 ราย ความดันโลหิตสูงจำนวน 4,209 ราย 2. โรงพยาบาลตากสิน ดำเนินการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูงให้แก่ประชาชนทั่วไป ณ โรงพยาบาลตากสิน และมีการประชาสัมพันธ์เชิญชวนประชาชนในชุมชน เพื่อทราบถึงโครงการตรวจคัดกรอง มีผู้ที่ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด จำนวน 21,429 ราย พบความผิดปกติ เบาหวานจำนวน 2,676 ราย ความดันโลหิตสูงจำนวน 3,912 ราย 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ดำเนินการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงให้กับประชาชนทั่วไป โดยการจัดบริการทั้งเชิงรับและเชิงรุก ดังนี้ 1. วันที่ 22 พฤศจิกายน 2562 บริการตรวจสุขภาพฟรี เนื่องในโอกาส ครบรอบ 48 ปี แห่งการสถาปนา รพจ. 2. วันที่ 13 สิงหาคม 2563 กิจกรรมอาสาเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตติ์ฯ นอกจากนี้โรงพยาบาลได้ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงให้กับประชาชนทั่วไปที่มารับบริการ มีผู้ที่ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ทั้งหมด จำนวน 20,189 ราย พบความผิดปกติ เบาหวานจำนวน 1,909 ราย ความดันโลหิตสูงจำนวน 3,838 ราย 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ ดำเนินการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงให้กับประชาชนทั่วไป และการจัดกิจกรรมตรวจคัดกรองฯ ตามแผนกต่างๆ เช่น แผนกผู้ป่วยใน แผนกทันตกรรม แผนกผู้ป่วยนอก แผนกอุบัติเหตุ - ฉุกเฉิน และ วันที่ 11 - 15 พฤศจิกายน 2562 มีการจัดกิจกรรมรณรงค์วันเบาหวานโลก นอกจากนี้ทางโรงพยาบาล ได้จัดทีมแพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงให้กับผู้ป่วยและญาติที่มารับบริการ มีผู้ที่ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ทั้งหมด จำนวน 5,237 ราย พบความผิดปกติ เบาหวานจำนวน 1,044 ราย ความดันโลหิตสูงจำนวน 1,216 ราย 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ดำเนินการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูงให้กับประชาชนทั่วไปในพื้นที่เขตหนองจอก มีผู้ที่ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ทั้งหมด จำนวน 8,160 ราย พบความผิดปกติ เบาหวานจำนวน 542 ราย ความดันโลหิตสูงจำนวน 806 ราย 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร ดำเนินและจัดกิจกรรมออกหน่วยและการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูงให้กับประชาชนทั่วไป ดังนี้ 1. วันที่ 30 เมษายน 2563 โครงการใกล้บ้านใกล้ใจฯ ณ ชุมชนเลียบคลองมอญ 2. วันที่ 12 พฤษภาคม 2563 กิจกรรมคัดกรองภาวะสุขภาพวันพยาบาลสากล 3. วันที่ 29 พฤษภาคม 2563 กิจกรรมคัดกรองภาวะสุขภาพวันงดสูบบุหรี่โลก มีผู้ที่ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด จำนวน 8,835 ราย พบความผิดปกติ เบาหวานจำนวน 920 ราย ความดันโลหิตสูงจำนวน 2,239 ราย 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ ดำเนินการตรวจ คัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงให้กับประชาชนทั่วไปบริเวณห้องตรวจผู้ป่วยนอก และจัดกิจกรรมเบาหวานโลกประจำปี เพื่อประชาสัมพันธ์โครงการและให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ทั้งแผ่นพับ โปสเตอร์ เพื่อกระตุ้นให้ผู้รับบริการและญาติเข้ารับการตรวจคัดกรองโดยประสานงานคลินิกต่างๆและการออกหน่วยตรวจคัดกรองนอกโรงพยาบาลเชิงรุกมากขึ้น มีผู้ที่ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความ ดันโลหิตสูง ทั้งหมด จำนวน 8,651 ราย พบความผิดปกติ เบาหวานจำนวน 92 ราย ความดันโลหิตสูงจำนวน 189 ราย 8. โรงพยาบาลสิรินธร ดำเนินการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงให้กับผู้ป่วยและญาติที่มารับบริการ ณ ห้องตรวจผู้ป่วยนอกอายุรกรรม ห้องตรวจประกันสุขภาพถ้วนหน้า และออกหน่วยคัดกรองนอกสถานที่ อาทิ เช่น ในชุมชน โรงเรียน โรงงาน และสถานีตำรวจ รวมถึงการจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อประชาสัมพันธ์และเชิญชวนผู้มารับบริการเข้าร่วมการตรวจคัดกรอง เช่น การจัดนิทรรศการให้ความรู้ และจัดกิจกรรมวันเบาหวานโลก มีผู้ที่ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ทั้งหมด จำนวน 11,276 ราย พบความผิดปกติ เบาหวานจำนวน 4,594 ราย ความดันโลหิตสูงจำนวน 6,529 ราย 9. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ดำเนินการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูงให้กับประชาชนทั่วไปบริเวณห้องตรวจผู้ป่วยนอก และนำผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเข้าสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3 อ 2 ส ณ โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน และออกหน่วยคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ณ สำนักงานขนส่ง เขตบางขุนเทียน มีผู้ที่ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูง ทั้งหมด จำนวน 1,096 ราย พบความผิดปกติ เบาหวานจำนวน 138 ราย ความดันโลหิตสูงจำนวน 200 ราย 10. โรงพยาบาลคลองสามวา ดำเนินการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงให้กับประชาชนทั่วไปบริเวณห้องตรวจผู้ป่วยนอก และการจัดกิจกรรมออกหน่วยตรวจคัดกรองฯ ดังนี้ วันที่ 13 กันยายน 2563 จัดกิจกรรมตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงร่วมกับกิจกรรมรณรงค์เลิกบุหรี่ การตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงสำหรับผู้มารับบริการและญาติที่มาใช้บริการ ในโรงพยาบาล มีผู้ที่ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ทั้งหมด จำนวน 1,002 ราย พบความผิดปกติ เบาหวานจำนวน 10 ราย ความดันโลหิตสูงจำนวน 55 ราย 11. โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร ดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม โดยมีการประชาสัมพันธ์และให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองให้แก่กลุ่มสตรีและประชาชนที่มารับบริการมีสตรีที่ได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมใน จำนวน 1,651 ราย พบความผิดปกติ เบาหวานจำนวน 192 ราย ความดันโลหิตสูงจำนวน 682 ราย สรุปผลการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไป ในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์มีผู้ได้รับการคัดกรองทั้งหมด จำนวน 103,777 ราย พบความผิดปกติ เบาหวานจำนวน 13,240 ราย ความดันโลหิตสูงจำนวน 23,875 ราย ในกรณีที่ผิดปกติผู้ป่วยได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(11) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร
ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :84.68


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
54.81

100 / 100
3
41.66

0 / 0
4
84.68

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างเก็บข้อมูลผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ทั้ง 8 แห่ง ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ และได้รับการดูแลตามเกณฑ์ดังนี้ 1. ผู้ป่วย DM ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. 2. ตรวจ HbA1C ปีละ 1 ครั้ง 3. ตรวจ Lipid ปีละ 1 ครั้ง 4. ตรวจ UMA อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ผลการดำเนินงาน มีดังนี้ - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ที่ได้รับวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคเบาหวานได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 13,861 ราย - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการในคลินิกเบาหวานหรือคลินิกอายุรกรรม (กรณีไม่มีคลินิกโรคเบาหวาน) ในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ทั้งหมด จำนวน 25,290 ราย คิดเป็นร้อยละ 54.81

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ทั้ง 8 แห่ง ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ และได้รับการดูแลตามเกณฑ์ดังนี้ 1. ผู้ป่วย DM ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. 2. ตรวจ HbA1C ปีละ 1 ครั้ง 3. ตรวจ Lipid ปีละ 1 ครั้ง 4. ตรวจ UMA อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ผลการดำเนินงาน มีดังนี้ - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ที่ได้รับวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคเบาหวานได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 20,971 ราย - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการในคลินิกเบาหวานหรือคลินิกอายุรกรรม (กรณีไม่มีคลินิกโรคเบาหวาน) ในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ทั้งหมด จำนวน 50,586 ราย คิดเป็นร้อยละ 41.66

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการประชาชนที่เป็นโรคเบาหวาน เป็นการพัฒนาระบบ ทั้งวัสดุ อุปกรณ์ ตลอดจนการนำเทคโนโลยีใหม่ๆ นำมาใช้ในหน่วยงาน เพื่อให้การบริการแก่ผู้ป่วยเบาหวาน ซึ่งในโครงการนี้หมายถึง ผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคเบาหวานและเข้าสู่บริการของคลินิกเบาหวานหรือคลินิกอายุรกรรม (กรณีไม่มีคลินิกโรคเบาหวาน) ได้รับการดูแลรักษาอย่างมีมาตรฐาน ตามเกณฑ์ที่กำหนด ครบ 4 เกณฑ์ ได้แก่ 1. ผู้ป่วย DM ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. 2. ตรวจ HbA1C ปีละ 1 ครั้ง 3. ตรวจ Lipid ปีละ 1 ครั้ง 4. ตรวจ UMA อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยมีผลการดำเนินงานในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์จำนวน 8 แห่ง ดังนี้ 1.โรงพยาบาลกลาง - เปิดบริการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 – 12.00 น. ณ OPD อายุรกรรมทั่วไป ชั้น 2 อาคารอนุสรณ์ 100 ปี - กิจกรรม : 1) อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การพัฒนาองค์ความรู้เรื่องบริหารยาเบาหวานสำหรับพยาบาล” วันที่ 12, 22 และ 29 พ.ย. 2562 ณ ห้องประชุม พี.เอ.ไนติงเกล ชั้น 20 อาคารอนุสรณ์ 100 ปี 2) จัดโครงการ “ผู้สูงอายุปลอดภัย ครอบครัวเข้าใจ ใส่ใจเบาหวาน” ครั้งที่ 2 วันที่ 14 พ.ย. 2562 โดยภายในงานให้บริการตรวจวัดน้ำตาลในเลือด มีการบรรยายให้ความรู้ เรื่อง “ใครไม่เบา เบาหวาน” และฐานกิจกรรมต่างๆ ณ มัสยิดมหานาค เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 3) จัดบรรยายให้ความรู้สู่ผู้รับบริการ เรื่อง อาหารเบาหวาน วันที่ 25 ธ.ค. 2562 พร้อมแจกของขวัญ เนื่องในวันคริสมาสต์ ณ บริเวณหน้าห้องตรวจประกันสุขภาพ แผนกอายุรกรรม และบริเวณหน้าห้องตรวจประกันสังคม - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 989 ราย - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการทั้งหมด จำนวน 1,155 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 85.63 2.โรงพยาบาลตากสิน - เปิดบริการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 – 16.00 น. ณ ชั้น 6 อาคารธนบุรีศรีมหาสมุทร - กิจกรรม : 1) โครงการวันเบาหวานโลก วันที่ 12 พ.ย. 2562 โดยมีการคัดกรองปัจจัยเสี่ยงของโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ให้คำปรึกษาและคำแนะนำในการปฏิบัติตัว ตลอดจนให้คำปรึกษาทางโภชนาการ การใช้ยา การออกกำลังกาย 2) การสอนผู้ป่วยและญาติที่มารอรับการตรวจรักษาที่ศูนย์เบาหวาน โดยทีมศูนย์เบาหวาน เป็นกิจกรรมการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน โดยมีการตั้งคำถามตอบ และเน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลตนเองเกี่ยวกับโรคเบาหวาน ในวันจันทร์และวันพุธ เริ่ม 13 พ.ค. 2563 ซึ่งได้มีการสอนครบไปแล้ว 1 รอบ เนื้อหาในการสอนจำนวน 8 เรื่อง และเนื่องจากสถานการณ์ COVID-19 ได้มีการปรับวันให้ความรู้เป็นแบบกลุ่ม สัปดาห์ละครั้ง สลับวันกันไปคือ วันอังคารและวันพุธ เริ่มวันที่ 16 มิ.ย. 2563 ถึงปัจจุบัน 3) การติดตามประเมินการดูแลผู้ป่วยเบาหวานที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลตากสิน โดยทีมศูนย์เบาหวาน ดำเนินการติดตามอาการ การประเมินให้การพยาบาลประจำหน่วยงานในการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน และการตรวจภาวะแทรกซ้อนประจำปี เริ่ม 14 เม.ย. 2563 - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 3,903 ราย - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการทั้งหมด จำนวน 4,435 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 88 3.โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ - เปิดบริการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 – 11.00 น. ณ คลินิกอายุรกรรม (ศูนย์เบาหวาน) ชั้น 2 อาคารอนุสรณ์ 20 ปี - กิจกรรม : วันเบาหวานโลก ประจำปี 2562 วันที่ 14 พ.ย. 2562 โดยมีการสาธิตการออกกำลังกาย “ลดเบาหวาน ป้องกันหัวใจ” ชมคลิป VDO “ศูนย์เบาหวาน รพจ.” และความรู้เรื่องโรคเบาหวาน พร้อมกิจกรรมต่างๆ มากมาย ดังเอกสารแนบท้าย - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 5,445 ราย - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการทั้งหมด จำนวน 6,597 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 82.54 4.โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ - เปิดบริการ ทุกวันพฤหัสบดี เวลา 08.00 – 12.00 น. ณ คลินิกเบาหวาน - กิจกรรม : จัดกิจกรรมรณรงค์วันเบาหวานโลก วันที่ 11 – 15 พ.ย. 2562 มีกิจกรรมคัดกรองผู้ป่วยเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ โดยมีกิจกรรมให้ความรู้และการดูแลตนเองเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวาน - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 643 ราย - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการทั้งหมด จำนวน 730 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 88.08 5.โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ - เปิดบริการ : จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 – 16.00 น. ณ ชั้น 1 ตึก OPD - กิจกรรม : จัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติ เป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 4,454 ราย - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการทั้งหมด จำนวน 5,355 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 83.17 6.โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร - เปิดบริการ ทุกวันพุธและวันศุกร์ เวลา 07.00 – 12.00 น. ณ คลินิกเบาหวาน - กิจกรรม : 1) การปรับเปลี่ยนระบบในคลินิกเบาหวานเพื่ออำนวยความสะดวกให้ผู้ป่วยมากขึ้น โดยจัดให้มีการเว้นระยะห่างเพื่อป้องกันการติดเชื้อ COVID-19 และปรับจุดบริการให้ผู้ป่วยสามารถซักประวัติเจาะเลือดได้สะดวกรวดเร็วกว่าเดิม 2) การให้ความรู้เรื่อง COVID-19 การฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ประจำปี การควบคุมระดับน้ำตาล ภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 1,701 ราย - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการทั้งหมด จำนวน 1,982 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 85.82 7.โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ - เปิดบริการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 – 16.00 น. ณ บริเวณจุดคัดกรองชั้น 1 อาคารเฉลิม พระเกียรติ - กิจกรรม : 1) พัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานประจำปีให้ครอบคลุม ทั้งการตรวจเท้า การตรวจจอประสาทตา การคัดกรองวัณโรค การตรวจเลือดประเมินรับน้ำตาลสะสม การตรวจโปรตีนในปัสสาวะ 2) จัดทำเอกสารให้ความรู้ แผ่นพับ โปสเตอร์ เรื่องโรคเบาหวานและภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวาน เพื่อให้ผู้ป่วยตระหนักเห็นความสำคัญของการตรวจ คัดกรองภาวะแทรกซ้อน - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 14,397 ราย - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการทั้งหมด จำนวน 16,632 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 86.56 8.โรงพยาบาลสิรินธร - เปิดบริการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 – 16.00 น. ณ ห้องตรวจอายุรกรรม - กิจกรรม : วันเบาหวานโลก วันที่ 14 พ.ย. 2562 ภายใต้หัวข้อครอบครัวห่วงใย ใส่ใจเบาหวาน โดยมีผลการดำเนินงานดังเอกสารแนบท้าย - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 8,151 ราย - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการทั้งหมด จำนวน 9,975 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 81.71 สรุปในภาพรวม จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 39,683 ราย และจำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการทั้งหมด จำนวน 46,861 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับ ร้อยละ 84.68

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(12) ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร
ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :81.53


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
67.53

100 / 100
3
72.04

0 / 0
4
81.53

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างเก็บข้อมูลผู้ป่วยที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์และได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงและเข้าสู่บริการของคลินิกความดันโลหิต

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ทั้ง 8 แห่ง ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ และได้รับการดูแลตามเกณฑ์ดังนี้1. ผู้ป่วย HT ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. 2. ผู้ป่วย HT ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต ผลการดำเนินงาน มีดังนี้ - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ที่ได้รับวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงและเข้าสู่บริการของคลินิกโรคความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 22,374 ราย - จำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการในคลินิกความดันโลหิตของโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ทั้งหมด จำนวน 33,132 ราย คิดเป็นร้อยละ 67.53

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

--โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ทั้ง 8 แห่ง ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ และได้รับการดูแลตามเกณฑ์ดังนี้ 1. ผู้ป่วย HT ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. 2. ผู้ป่วย HT ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต ผลการดำเนินงาน มีดังนี้ - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ที่ได้รับวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงและเข้าสู่บริการของคลินิกโรคความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 49,830 ราย - จำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการในคลินิกความดันโลหิตของโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ทั้งหมด จำนวน 69,173 ราย คิดเป็นร้อยละ 72.04

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-คณะกรรมการความดันโลหิตสูงโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ได้จัดโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูง เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนดครบ 2 เกณฑ์ ได้แก่ 1. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. 2. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต นอกจากนี้ ยังดำเนินการการเฝ้าระวังติดตาม ให้คำแนะนำตามแนวทางปฏิบัติแก่ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง ตลอดจนประชาชนให้มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเอง ป้องกันภาวการณ์เจ็บป่วย และภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงโดยมีผลการดำเนินงานในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์จำนวน 8 แห่ง และกิจกรรมเพิ่มเติมจากการดำเนินงานตามโครงการในโรงพยาบาลบางแห่ง ดังนี้ 1.โรงพยาบาลกลาง - เปิดบริการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 – 12.00 น. ณ OPD อายุรกรรมทั่วไป ชั้น 2 อาคารอนุสรณ์ 100 ปี - กิจกรรม : จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก วันที่ 24-26 ธ.ค. 2563 โดยจัดบริการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น คัดกรองเบาหวาน ความดันและวัดมวลกระดูกแก่ประชาชน โดยไม่มีค่าใช้จ่าย ณ บริเวณโถงหน้าลิฟต์ ชั้น 1 อาคารอนุสรณ์ 100 ปี - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 6,390 ราย - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการทั้งหมด จำนวน 7,185 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 88.94 2.โรงพยาบาลตากสิน - เปิดบริการ ทุกวันพุธ เวลา 13.00 – 16.00 น. ณ คลินิกความดันโลหิตสูงและไขมันในเลือดสูง - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 870 ราย - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการทั้งหมด จำนวน 932 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 93.35 3.โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ - เปิดบริการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 – 11.00 น. ณ คลินิกอายุรกรรม ชั้น 2 อาคารอนุสรณ์ 20 ปี - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 15,069 ราย - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการทั้งหมด จำนวน 18,845 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 79.96 4.โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ - เปิดบริการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 – 12.00 น. ณ คลินิกโรคความดันโลหิตสูง/อายุรกรรม - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 9,753 ราย - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการทั้งหมด จำนวน 11,740 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 83.07 5.โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ - เปิดบริการ จันทร์ - ศุกร์ เวลา 08.00 - 16.00 น. ณ ชั้น 1 ตึก OPD - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 4,737 ราย - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการทั้งหมด จำนวน 7,954 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 59.55 6.โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร - เปิดบริการ จันทร์ - ศุกร์ เวลา 08.00 - 16.00 น. ณ คลินิกพิเศษต่างๆ เช่น คลินิกอายุรกรรม คลินิกเบาหวาน และห้องตรวจโรคทั่วไป - กิจกรรม : แจกแผ่นพับให้ความรู้โรคความ ดันโลหิตสูงประจำตัวผู้ป่วย - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 9,004 ราย - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการทั้งหมด จำนวน 11,190 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 80.46 7.โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ - เปิดบริการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 – 12.00 น. ณ คลินิกอายุรกรรม คลินิกตรวจโรคทั่วไป คลินิกผู้สูงอายุ 60 ปี และคลินิก กทม.ใส่ใจวัย 80 ปี - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 9,783 ราย - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการทั้งหมด จำนวน 12,122 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 80.70 8.โรงพยาบาลสิรินธร - เปิดบริการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 – 16.00 น. ณ ห้องตรวจอายุรกรรม - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 29,216 ราย - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการทั้งหมด จำนวน 34,069 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 85.76 สรุปในภาพรวม จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 84,822 ราย และจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการทั้งหมด จำนวน 104,037 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 81.53

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(13) อัตราการตายของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน Ischemic Heart , CKD , Stroke
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร
อัตราการตายของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน Ischemic Heart , CKD , Stroke

หน่วยนับ :น้อยกว้าร้อยละ

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :0.01


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(น้อยกว้าร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.01

100 / 100
2
0.01

100 / 100
3
0.01

0 / 0
4
0.01

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทุกแห่ง ได้มีการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน (ผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน Ischemic Heart, CKD, Stroke) ที่เข้ามารับการรักษาทั้งหมดอย่างต่อเนื่อง ดังนี้ รพก. ผู้ป่วย 9,186 ราย เสียชีวิต 0 ราย ร้อยละ 0.00 รพต. ผู้ป่วย 21,099 ราย เสียชีวิต 1 ราย ร้อยละ 0.005 รพจ. ผู้ป่วย14,403 ราย เสียชีวิต 0 ราย ร้อยละ 0.000 รพท. ผู้ป่วย 3,361 ราย เสียชีวิต 0 ราย ร้อยละ 0.00 รพว. ผู้ป่วย 4,327 ราย เสียชีวิต 0 ราย ร้อยละ 0.000 รพล. ผู้ป่วย 2,342 ราย เสียชีวิต 0 ราย ร้อยละ 0.000 รพร. ผู้ป่วย 5,076 ราย เสียชีวิต 3 ราย ร้อยละ 0.059 รพส. ผู้ป่วย 7,300 ราย เสียชีวิต 0 ราย ร้อยละ 0.000 รพข. ผู้ป่วย 933 ราย เสียชีวิต 0 ราย ร้อยละ 0.00 รพค. ผู้ป่วย 157 ราย เสียชีวิต 0 ราย ร้อยละ 0.00 รพบ.ผู้ป่วย 57 ราย เสียชีวิต 0 ราย ร้อยละ 0.00 รวมผู้ป่วยทั้งสิ้น จำนวน 68,241 ราย เสียชีวิต จำนวน 4 รายคิดเป็นร้อยละ 0.006

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-สำนักการแพทย์ได้เพิ่มประสิทธิภาพในการพัฒนาระบบบริการประชาชนที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานที่เข้ามารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ทั้ง 10 แห่ง เช่น 1.จัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการประชาชนที่เป็นโรคเบาหวาน เพื่อให้ความรู้และคำปรึกษา เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถจัดการตนเองได้ 2.จัดกิจกรรมเบาหวานโลกโรงพยาบาลแต่ละแห่งได้มีการจัดกิจกรรมและให้ความรู้แก่ประชาชนที่เป็นโรคเบาหวาน เช่น การบรรยาย เรื่อง เบาหวาน กับภาวะแทรกซ้อนทางตา การจัดนิทรรศการอาหารเบาหวาน เป็นต้น ซึ่งโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทุกแห่งได้มีการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน (ผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน Ischemic Heart, CKD, Stroke) ที่เข้ามารับการรักษาทั้งหมดอย่างต่อเนื่อง ผลการดำเนินงาน ดังนี้ รวมผู้ป่วยทั้งสิ้น จำนวน 42,414 ราย เสียชีวิต จำนวน 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.01

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-1.จัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการประชาชนที่เป็นโรคเบาหวาน เพื่อให้ความรู้และคำปรึกษา เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถจัดการตนเองได้ 2.จัดกิจกรรมเบาหวานโลกโรงพยาบาลแต่ละแห่งได้มีการจัดกิจกรรมและให้ความรู้แก่ประชาชนที่เป็นโรคเบาหวาน เช่น การบรรยาย เรื่อง เบาหวาน กับภาวะแทรกซ้อนทางตา การจัดนิทรรศการอาหารเบาหวาน เป็นต้น ซึ่งโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทุกแห่งได้มีการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน (ผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน Ischemic Heart, CKD, Stroke) ที่เข้ามารับการรักษาทั้งหมดอย่างต่อเนื่อง ผลการดำเนินงาน ดังนี้ รวมผู้ป่วยทั้งสิ้น จำนวน 152,214 ราย เสียชีวิต จำนวน 18 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.012

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-สำนักการแพทย์ได้เพิ่มประสิทธิภาพในการพัฒนาระบบบริการประชาชนที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานที่เข้ามารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ทั้ง 10 แห่ง ดังนี้ 1.จัดตั้งคลินิกโรคเบาหวาน และให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเบาหวาน เช่น การใช้ยา การดูแลตนเอง การควบคุมอาหารของผู้ป่วยโรคเบาหวาน และให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานแก่ประชาชนผู้มารับบริการ 2.จัดตั้งคณะกรรมการดำเนินงานและดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานร่วมกับโรงพยาบาลในสังกัด 3. จัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ เพื่อกำหนดแนวทางในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานตามแนวทางเวชปฏิบัติ 4. จัดประชุมกลุ่ม เพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน เช่น โรคแทรกซ้อน/การดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวาน โภชนบำบัด ความรู้เกี่ยวกับยา การออกกำลังกาย ให้แก่ผู้ป่วยเบาหวานและญาติ 5.จัดกิจกรรมเกี่ยวกับโรคเบาหวาน เช่น กิจกรรมวันเบาหวานโลก กิจกรรมเพื่อสร้างเสริมสุขภาพให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติ กิจกรรมให้ความรู้และคำปรึกษาโดยสหวิชาชีพ 6. จัดทำเอกสารให้ความรู้ แผ่นพับ โปสเตอร์ เรื่องโรคเบาหวานและภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวาน จัดทำสื่อการสอนเรื่องโรคเบาหวาน เป็นต้น 7.จัดตั้งชุมชนนักปฏิบัติโรคเบาหวานร่วมกับโรงพยาบาลในสังกัด 8. มีการพัฒนาในด้านต่างๆ เพื่อเสริมสร้างการดำเนินงานให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตน เช่น พัฒนาสื่อการสอน และช่องทางการสื่อสารกับผู้ป่วยโรคเบาหวานโดยเฉพาะผู้ป่วยที่ใช้ยาฉีดอนิซูลินทางระบบ LINE พัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานประจำปีให้ครอบคลุม ทั้งการตรวจเท้า การตรวจจอประสาทตา การคัดกรองวัณโรค การตรวจเลือดประเมินระดับน้ำตาลสะสม การตรวจโปรตีนในปัสสาวะ พัฒนาแนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน Update สร้างนวตกรรม Guideline ต่างๆ เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วย เป็นต้น ซึ่งโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทุกแห่งได้มีการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน (ผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน Ischemic Heart, CKD, Stroke) ที่เข้ามารับการรักษาทั้งหมดอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2563 ดังนี้ รพก. ผู้ป่วย 24,318 ราย เสียชีวิต 0 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.00 รพต. ผู้ป่วย 25,706 ราย เสียชีวิต 0 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.00 รพจ. ผู้ป่วย 36,681 ราย เสียชีวิต 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.003 รพท. ผู้ป่วย 8,501 ราย เสียชีวิต 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.012 รพว. ผู้ป่วย 5,119 ราย เสียชีวิต 7 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.137 รพล. ผู้ป่วย 8,867 ราย เสียชีวิต 0 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.00 รพร. ผู้ป่วย 15,817 ราย เสียชีวิต 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.013 รพส. ผู้ป่วย 17,687 ราย เสียชีวิต 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.034 รพข. ผู้ป่วย 2,393 ราย เสียชีวิต 0 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.00 รพค. ผู้ป่วย 329 ราย เสียชีวิต 0 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.00 รวมผู้ป่วยทั้งสิ้น จำนวน 145,418 ราย เสียชีวิต จำนวน 17 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.012

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(14) อัตราการตายของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงด้วย Intracerebral Hemorrhage หรือ Hemorrhagic Stroke
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร
อัตราการตายของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงด้วย Intracerebral Hemorrhage หรือ Hemorrhagic Stroke

หน่วยนับ :น้อยกว่าร้อยละ

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :0.05


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(น้อยกว่าร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.01

100 / 100
2
0.04

100 / 100
3
0.05

0 / 0
4
0.05

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทุกแห่ง ได้มีการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง (ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่เสียชีวิตด้วย Intracerebral Haemorrhage หรือ Hemorrhagic Stroke) ที่เข้ามารับการรักษาทั้งหมดอย่างต่อเนื่อง ดังนี้ รพก. ผู้ป่วย 13,286 ราย เสียชีวิต 0 ราย ร้อยละ 0.00 รพต. ผู้ป่วย 32,216 ราย เสียชีวิต 2 ราย ร้อยละ 0.006 รพจ. ผู้ป่วย 22,343 ราย เสียชีวิต 2 ราย ร้อยละ 0.009 รพท. ผู้ป่วย 5,658 ราย เสียชีวิต 0 ราย ร้อยละ 0.00 รพว. ผู้ป่วย 6,594 ราย เสียชีวิต 0 ราย ร้อยละ 0.00 รพล. ผู้ป่วย 3,626 ราย เสียชีวิต 0 ราย ร้อยละ 0.00 รพร. ผู้ป่วย 8,098 ราย เสียชีวิต 0 ราย ร้อยละ 0.00 รพส. ผู้ป่วย 10,273 ราย เสียชีวิต 2 ราย ร้อยละ 0.019 รพข. ผู้ป่วย 1,619 ราย เสียชีวิต 0 ราย ร้อยละ 0.00 รพค. ผู้ป่วย 312 ราย เสียชีวิต 0 ราย ร้อยละ 0.00 รพบ.ผู้ป่วย 148 ราย เสียชีวิต 0 ราย ร้อยละ 0.00 รวมผู้ป่วยทั้งสิ้น จำนวน 104,173 ราย เสียชีวิต จำนวน 6 รายคิดเป็นร้อยละ 0.006

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-สำนักการแพทย์ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องความดันโลหิตสูงแก่ผู้มารับบริการ คัดกรองสุขภาพผู้มารับบริการและส่งเสริมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วยแบบสหวิชาชีพและผู้ป่วยที่เข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าวสามารถนำความรู้ที่ได้รับกลับไปดูแลตนเองอย่างถูกต้อง ซึ่งจะช่วยลดภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นได้ และสำนักการแพทย์ได้ตระหนักถึงความสำคัญของโรคดังกล่าว จึงมีการตรวจ คัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง (ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่เสียชีวิตด้วย Intracerebral Haemorrhage หรือ Hemorrhagic Stroke) ที่เข้ามารับการรักษาทั้งหมดอย่างต่อเนื่อง ผลการดำเนินงาน ดังนี้ รวมผู้ป่วยทั้งสิ้น จำนวน 75,158 ราย เสียชีวิต จำนวน 33 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.04

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

--สำนักการแพทย์ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องความดันโลหิตสูงแก่ผู้มารับบริการ คัดกรองสุขภาพผู้มารับบริการและส่งเสริมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วยแบบสหวิชาชีพและผู้ป่วยที่เข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าวสามารถนำความรู้ที่ได้รับกลับไปดูแลตนเองอย่างถูกต้อง ซึ่งจะช่วยลดภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นได้ และสำนักการแพทย์ได้ตระหนักถึงความสำคัญของโรคดังกล่าว จึงมีการตรวจ คัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง (ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่เสียชีวิตด้วย Intracerebral Haemorrhage หรือ Hemorrhagic Stroke) ที่เข้ามารับการรักษาทั้งหมดอย่างต่อเนื่อง ผลการดำเนินงาน ดังนี้ รวมผู้ป่วยทั้งสิ้น จำนวน 149,158 ราย เสียชีวิต จำนวน 81 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.0054

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-สำนักการแพทย์ได้ดำเนินการเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูง โดยให้ความรู้เรื่องความดันโลหิตสูงแก่ประชาชนผู้มารับบริการ ดังนี้ 1.ตรวจคัดกรองสุขภาพผู้มารับบริการและส่งเสริมให้ความรู้แก่ผู้ป่วย ญาติ ผู้ดูแล 2.เปิดให้บริการคลินิกความดันโลหิต เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ สุขศึกษา สามารถดูแลตนเองได้ ป้องกัน และชะลอภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ตลอดจนจัดให้ความรู้ผู้ป่วยเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ.2 ส.ในคลินิกเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม 3.จัดนิทรรศการรณรงค์วันโรคความดันโลหิตสูงแก่ผู้มารับบริการ 4.จัดกิจกรรมเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง เช่น การคัดกรองผู้ป่วย HT ที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไต ประสานกับศูนย์บริการสาธารณสุขในการรับและส่งต่อดูแลผู้ป่วยร่วมกัน กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพประชาชน 4. จัดทำเอกสารเพื่อให้ความรู้แก่ผู้มารับบริการ เช่น การแจกแผ่นพับ จัดบอร์ด เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่องความดันโลหิตสูง และการปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 5.จัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางในการดูแลผู้ป่วยตามโครงการค่ายความดันโลหิตสูง เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และแนวทางในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งวัตถุประสงค์ในการจัดกิจกรรมของโรงพยาบาลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วยแบบสหวิชาชีพและผู้ป่วยที่เข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าวสามารถนำความรู้ที่ได้รับกลับไปดูแลตนเองอย่างถูกต้องช่วยลดภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นได้ และสำนักการแพทย์ได้ตระหนักถึงความสำคัญของโรคดังกล่าว จึงมีการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง (ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่เสียชีวิตด้วย Intracerebral Haemorrhage หรือ Hemorrhagic Stroke) ที่เข้ามารับการรักษาทั้งหมดอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2563 ดังนี้ รพก. ผู้ป่วย 42,335 ราย เสียชีวิต 34 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.080 รพต. ผู้ป่วย 82,362 ราย เสียชีวิต 7 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.008 รพจ. ผู้ป่วย 66,900 ราย เสียชีวิต 15 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.022 รพท. ผู้ป่วย 15,317 ราย เสียชีวิต 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.033 รพว. ผู้ป่วย 7,954 ราย เสียชีวิต 16 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.201 รพล. ผู้ป่วย 14,284 ราย เสียชีวิต 0 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.00 รพร. ผู้ป่วย 11,658 ราย เสียชีวิต 8 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.069 รพส. ผู้ป่วย 29,594 ราย เสียชีวิต 39 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.132 รพข. ผู้ป่วย 5,314 ราย เสียชีวิต 0 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.00 รพค. ผู้ป่วย 609 ราย เสียชีวิต 0 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.00 รวมผู้ป่วยทั้งสิ้น จำนวน 276,327 ราย เสียชีวิต จำนวน 124 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.045

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(15) สตรีในช่วงอายุ ๓๐ - ๗๐ ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร
สตรีในช่วงอายุ ๓๐ - ๗๐ ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม

หน่วยนับ :คน/ปี

เป้าหมาย :5,000.00

ผลงาน :8,350.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(คน/ปี)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
2.00

100 / 100
3
5.00

0 / 0
4
8,350.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ดำเนินการประชาสัมพันธ์ เชิญชวนให้ประชาชนทั่วไปตรวจคัดกรองมะเร็งปากเต้านม ณ บริเวณต่างๆของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ 11 แห่ง ได้ดำเนินการคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีไทย ๓๐ - ๗๐ ปี (ไม่รวมการตรวจ mammogram และ u/s breast) โดยสังเกตความผิดปกติด้วยลักษณะภายนอกเต้านมและการคลำ มีผลการดำเนินงานสตรีที่ได้รับ คัดกรองมะเร็งเต้านม จำนวน 2,628 ราย ผิดปกติ จำนวน 227 ราย ในกรณีที่พบความผิดปกติ ผู้ป่วยจะได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

--โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ 11 แห่ง ได้ดำเนินการคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีไทย ๓๐ - ๗๐ ปี (ไม่รวมการตรวจ mammogram และ u/s breast) โดยสังเกตความผิดปกติด้วยลักษณะภายนอกเต้านมและการคลำ มีผลการดำเนินงานสตรีที่ได้รับ คัดกรองมะเร็งเต้านม จำนวน 5,232 ราย ผิดปกติ จำนวน 604 ราย ในกรณีที่พบความผิดปกติ ผู้ป่วยจะได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ 11 แห่ง ได้ดำเนินการคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีไทย 30 - 70 ปี (ไม่รวมการตรวจ mammogram และ u/s breast) โดยสังเกตความผิดปกติด้วยลักษณะภายนอกเต้านมและการคลำ ในปีงบประมาณ 2563 มีผลดำเนินการ ดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง ดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ณ ห้องผู้ป่วยนอกศัลยกรรมอาคารอนุสรณ์ 100 ปี โรงพยาบาลกลาง ชั้น 2 (ในวันราชการ เวลา 08.00 – 12.00 น.) และดำเนินการประชาสัมพันธ์โดยมีการจัดนิทรรศการรณรงค์ และตลาดรักษ์ปทุมแฟร์ พร้อมกับแจกแผ่นพับเกี่ยวกับมะเร็งเต้านม ให้แก่สตรีผู้มารับบริการ และติดป้ายประชาสัมพันธ์บริเวณหน้าลิฟต์และบริเวณ OPD ศัลยกรรม ชั้น 2 มีสตรีที่ได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม จำนวน 1,235 ราย ผิดปกติ จำนวน 249 ราย 2. โรงพยาบาลตากสิน ดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ตั้งอยู่บริเวณห้องตรวจโรคผู้ป่วยนอกศัลยกรรม ชั้น 1 อาคารอำนวยการ 6 ชั้น เปิดบริการวันจันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 – 12.00 น. และดำเนินการ ติดป้ายประชาสัมพันธ์โครงการด้านหน้าโรงพยาบาลและภายในโรงพยาบาลและออกเสียงตามสาย มีสตรีที่ได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม จำนวน 806 ราย ผิดปกติ จำนวน 76 ราย 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ณ ศัลยกรรม อาคาร 72 พรรษา มหาราชินี (ในวันราชการ เวลา 08.00 – 11.00 น.) และดำเนินการประชาสัมพันธ์โดยการแจกแผ่นพับเกี่ยวกับมะเร็งเต้านม ให้แก่สตรี และประชาชนมารับบริการ ติดป้ายประชาสัมพันธ์หน้าห้องตรวจและประกาศเสียงตามสายทุกวัน ระหว่างเวลา 08.00 - 13.00 น. และประชาสัมพันธ์ผ่านระบบออนไลน์ (Facebook) มีสตรีที่ได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม จำนวน 806 ราย ผิดปกติ จำนวน 225 ราย 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ ดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ในคลินิกปทุมรักษ์ ทุกวันจันทร์ ระหว่างเวลา 08.00 – 12.00 น. โดยดำเนินการตรวจเกี่ยวมะเร็งเต้านม ให้แก่สตรีผู้มารับบริการ ตลอดจนบุคลากรในโรงพยาบาล มีสตรีที่ได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม จำนวน 1,003 ราย ผิดปกติ จำนวน 74 ราย 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ณ แผนกผู้ป่วยนอก(ในวันราชการ เวลา 08.00 – 12.00 น.) และดำเนินการประชาสัมพันธ์เรื่องการตรวจมะเร็งเต้านม บริเวณตึกผู้ป่วยนอก และจัดทำแผ่นพับ ป้ายโปสเตอร์ มีสตรีที่ได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม จำนวน 569 ราย ผิดปกติ จำนวน 8 ราย 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร ดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ณ คลินิกศัลยกรรม ทุกวันจันทร์และวันอังคารในเวลาราชการ มีสตรีที่ได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม จำนวน 131 ราย ผิดปกติ จำนวน 21 ราย 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ ดำเนินการตรวจ คัดกรองมะเร็งเต้านม ณ คลินิกศัลยกรรม (คลินิกถันยรักษ์) อาคารเฉลิมพระเกียรติ ชั้น 1 ทุกวันในเวลา 8.00 – 12.00 น. และดำเนินการให้สุขศึกษา แจกเอกสารให้ความรู้ แผ่นผับ และโปสเตอร์ มีสตรีที่ได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม จำนวน 1,754 ราย ผิดปกติ จำนวน 53 ราย 8. โรงพยาบาลสิรินธร ดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ณ ห้องศัลยกรรม ทุกวันจันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 – 12.00 น. มีสตรีที่ได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม จำนวน 1,530 ราย ผิดปกติ จำนวน 31 ราย 9. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ณ อาคารผู้ป่วยนอก ทุกวันจันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 – 16.00 น. และจัดกิจกรรมการให้ความรู้ความเข้าใจโดยการฉายวิดีโอการตรวจเต้านมด้วยตนเองให้กับประชาชนผู้มารับบริการขณะรอตรวจ มีสตรีที่ได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็ง เต้านม จำนวน 141 ราย ผิดปกติ จำนวน 10 ราย 10. โรงพยาบาลคลองสามวา ดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมฟรีสำหรับประชาชนที่มารับบริการ มีสตรีที่ได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม จำนวน 105 ราย ผิดปกติ จำนวน 2 ราย 11. โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร ดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม โดยมีการประชาสัมพันธ์และให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองให้แก่กลุ่มสตรีและประชาชนที่มารับบริการ มีสตรีที่ได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม จำนวน 270 ราย ผิดปกติ จำนวน 3 ราย สรุปผลการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรี ช่วงอายุ 30-70 ปี ในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ มีสตรีได้รับคัดกรองมะเร็งเต้านม จำนวน 8,350 ราย ผิดปกติ จำนวน 752 ราย ปกติ จำนวน 7,598 ราย ในกรณีที่ผิดปกติผู้ป่วยได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(16) สตรีในช่วงอายุ ๓๐ - ๖๐ ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร
สตรีในช่วงอายุ ๓๐ - ๖๐ ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

หน่วยนับ :ราย

เป้าหมาย :12,000.00

ผลงาน :14,307.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ราย)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
4.00

100 / 100
3
8.00

0 / 0
4
14,307.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ดำเนินการประชาสัมพันธ์ เชิญชวนให้ประชาชนทั่วไปตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ณ บริเวณต่างๆของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ 8 แห่ง ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดย ทำ Pap Smear สตรีในช่วงอายุ 30 – 60 ปี ตามเกณฑ์ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย โดยมี ผลการดำเนินงาน ดังนี้ จำนวน 4,358 ราย พบผิดปกติ 128 ราย โดยในรายที่พบความผิดปกติ จะได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่องต่อไป

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ 8 แห่ง ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดย ทำ Pap Smear สตรีในช่วงอายุ 30 – 60 ปี ตามเกณฑ์ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย โดยมี ผลการดำเนินงาน ดังนี้ จำนวน 8,631 ราย พบผิดปกติ 230 ราย โดยในรายที่พบความผิดปกติ จะได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่องต่อไป

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ 8 แห่ง ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยทำ Pap Smear สตรีในช่วงอายุ 30 – 60 ปี ตามเกณฑ์ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย โดยมีผลการดำเนินงาน ดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง ดำเนินการตรวจมะเร็งปากมดลูก ณ ห้องตรวจผู้ป่วยสูติ-นรีเวชกรรม ชั้น 3 อาคารอนุสรณ์ 100 ปี โรงพยาบาลกลาง(ในวันราชการ เวลา 8.00 – 12.00 น.) และดำเนินการ ประชาสัมพันธ์โดยการแจกแผ่นพับ เกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูกให้แก่สตรีผู้มารับบริการ ติดป้ายประชาสัมพันธ์ บริเวณหน้าลิฟต์ และบริเวณ OPD สูติ-นรีเวชกรรม และดำเนินการในเชิงรุกโดยมีการประชาสัมพันธ์ให้กับ ผู้ป่วยนอก (OPD : Out Patient Department) ตามกลุ่มงานต่างๆ เพื่อเชิญชวนและรับรู้ข่าวสารในการตรวจ คัดกรองมะเร็งปากมดลูก และมีการให้ความรู้เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ผู้มารับบริการในโรงพยาบาลโดยสูติ-นรีแพทย์ และดำเนินการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกให้กับบุคลากรของโรงพยาบาลกลาง มีจำนวนสตรีที่ได้รับการตรวจ คัดกรองมะเร็งปากมดลูกในโรงพยาบาลกลาง จำนวน 2,225 ราย ผิดปกติ 66 ราย 2. โรงพยาบาลตากสิน ดำเนินการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ณ คลินิกเวชกรรมทั่วไป บริเวณห้องตรวจโรคผู้ป่วยนอกสูติ-นรีเวชกรรม ชั้น 2 อาคารสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช 17 ชั้น (ในวันราชการ เวลา 08.00 – 12.00 น.) มีจำนวนสตรีที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในโรงพยาบาลตากสิน จำนวน 3,664 ราย ผิดปกติ จำนวน 57 ราย 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก โดยทำ Pap Smear ตามเกณฑ์ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย ณ คลินิก นรีเวชกรรม ชั้น 3 อาคาร 72 พรรษามหาราชินี (ในวันราชการ เวลา 08.00 – 11.00 น.) และดำเนินการประชาสัมพันธ์ โดยการแจกแผ่นพับเรื่องมะเร็งปากมดลูก ติดป้าย ประชาสัมพันธ์หน้าห้องตรวจ และประกาศเสียงตามสายทุกวัน ในเวลาราชการ มีจำนวนสตรีที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ จำนวน 3,508 ราย ผิดปกติ จำนวน 118 ราย 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ ดำเนินการจัดกิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพ การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในโรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ และดำเนินการประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ความรู้การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก โดยแจกเอกสารแผ่นพับ เพื่อให้ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูก ณ บริเวณห้องตรวจสูติ- นรีเวชกรรม ให้แก่ประชาชนผู้มารับบริการ ญาติ และดำเนินการจัดให้บริการตรวจพิเศษ โดยวิธี colposcope และมีการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้ารับบริการ คัดกรองมะเร็งปากมดลูกทางสื่อต่างๆ อาทิ แผ่นพับ เว็บไซต์ Facebook โรงพยาบาล และติดบอร์ดประชาสัมพันธ์ และดำเนินการจัดกิจกรรมรณรงค์การตรวจคัดกรอง มะเร็งปากมดลูก มีจำนวนสตรีที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในโรงพยาบาล หลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ จำนวน 857 ราย ผิดปกติ จำนวน 13 ราย 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ดำเนินการตรวจมะเร็งปากมดลูกที่แผนกสูตินรีเวชกรรม (วันพุธและวันศุกร์ เวลา 08.00 – 12.00 น.) และดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้เจ้าหน้าที่และผู้รับบริการรับทราบ ติดป้ายประชาสัมพันธ์ บริเวณหน้าแผนกสูติ-นรีเวชกรรม และภายในโรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ มีจำนวนสตรีที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในโรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ จำนวน 511 ราย ผิดปกติ จำนวน 9 ราย 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร ดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในคลินิกนรีเวช (ในเวลาราชการทุกวันอังคารและวันศุกร์ และนอกเวลาราชการทุกวันอังคาร เวลา 08.00 - 12.00 น.) มีจำนวนสตรีที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในโรงพยาบาลลาดกระบัง-กรุงเทพมหานคร จำนวน 175 ราย ผิดปกติ จำนวน 2 ราย 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ ดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ณ คลินิกสูตินรีเวชกรรม (ในวันราชการ เวลา 08.00 – 12.00 น.) และดำเนินการให้บริการตรวจมะเร็งปากมดลูกโดยวิธีการตรวจเซลล์วิทยาของปากมดลูก (Cervical Cytology) แบบ (Conventional Papanicolaou Smear) มีจำนวนสตรีที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในโรงพยาบาลราชพิพัฒน์ จำนวน 809 ราย ผิดปกติ จำนวน 14 ราย 8. โรงพยาบาลสิรินธร ดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกห้องตรวจสูตินรีเวช (ในวันราชการ เวลา 08.00 – 12.00 น.) และจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ร่วมกับเวชศาสตร์ชุมชน โดยการร่วมออกหน่วยดูแลสุขภาพประชาชน และประชาสัมพันธ์ทาง Facebook โรงพยาบาลสิรินธร สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร มีจำนวนสตรีที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในโรงพยาบาลสิรินธร จำนวน 2,558 ราย ผิดปกติ จำนวน 104 ราย รวมจำนวนสตรีในช่วงอายุ 30 – 60 ปี ที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกจำนวน 14,307 ราย พบผิดปกติ 383 ราย โดยในรายที่พบความผิดปกติ จะได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่องต่อไป

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(17) ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่สามารถควบคุมได้
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร
ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่สามารถควบคุมได้

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :35.00

ผลงาน :51.06


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
39.17

100 / 100
3
48.65

0 / 0
4
51.06

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างเก็บข้อมูลจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ที่มารับบริการในสำนักการแพทย์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทั้ง 8 แห่ง ดำเนินการคัดกรองผู้ป่วยเบาหวานโดยมีผู้รับบริการดังนี้ - จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ในปีงบประมาณ จำนวน 6,886 ราย - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมดในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ 8 แห่ง จำนวน 17,582 ราย - คิดเป็นร้อยละ 39.17

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

--โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ทั้ง 8 แห่ง ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ และได้รับการดูแลตามเกณฑ์ดังนี้ 1. ผู้ป่วย DM ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. 2. ตรวจ HbA1C ปีละ 1 ครั้ง 3. ตรวจ Lipid ปีละ 1 ครั้ง 4. ตรวจ UMA อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ผลการดำเนินงาน มีดังนี้ - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ที่ได้รับวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคเบาหวานได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 20,491 ราย - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการในคลินิกเบาหวานหรือคลินิกอายุรกรรม (กรณีไม่มีคลินิกโรคเบาหวาน) ในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ทั้งหมด จำนวน 42,119 ราย คิดเป็นร้อยละ 48.65

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทั้ง 8 แห่ง ได้ดำเนินกิจกรรมการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน ทั้งในสถานะผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก ที่ได้รับการวินิจฉัยโรคเบาหวาน และเป็นผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนรับการรักษากับโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทั้ง 8 แห่ง ได้รับการติดตาม ให้สามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ตามเกณฑ์ ดังนี้ (1) ค่าระดับ HbA1c ค่าระดับครั้งสุดท้าย น้อยกว่าร้อยละ 7 หรือ (2) ค่าระดับ Fasting Plasma Glucose (FPG) 2 ครั้งสุดท้ายติดต่อกันอยู่ในระดับ 70 -130 มก./ดล. ซึ่งเป็น ค่าระดับน้ำตาลของผู้ป่วยเบาหวานที่มารับการตรวจติดตาม ในคลินิกเบาหวานตามนัด โดยมีผลการดำเนินงาน ดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง ดำเนินการจัดโครงการ “ผู้สูงอายุปลอดภัย ครอบครัวใส่ใจเบาหวาน”ครั้งที่ 2 ได้มีการบรรยายเรื่อง “ใครไม่เบา เบาหวาน” และจัดบรรยายให้ความรู้สู่ผู้รับบริการ เรื่องอาหารเบาหวาน โดยมีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมดจำนวน 1,155 ราย และมีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลได้ดีตามเกณฑ์จำนวน 517 ราย คิดเป็นร้อยละ 44.76 2. โรงพยาบาลตากสิน ดำเนินการคัดกรองผู้ป่วยโรคเบาหวาน โดยกลุ่มงานเวชศาสตร์ชุมชน และศูนย์เบาหวาน อาคารธนบุรีศรีมหาสมุทร ชั้น 6 เปิดให้บริการวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 08.00 – 16.00 น. โดยมีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมดจำนวน 13,289 ราย และมีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลได้ดีตามเกณฑ์จำนวน 7,912 ราย คิดเป็นร้อยละ 59.54 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ดำเนินการให้บริการผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียน และมารับบริการ ณ ห้องตรวจอายุรกรรม (90001) และคลินิกเบาหวาน ความดัน (200010) ชั้น 2 อาคารอนุสรณ์ 20 ปี ในวันราชการวันจันทร์ - วันศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.00 – 11.00 น. โดยมีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมดจำนวน 13,004 ราย และมีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลได้ดีตามเกณฑ์จำนวน 5,825 ราย คิดเป็นร้อยละ 44.79 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ ดำเนินการจัดกิจกรรมรณรงค์วันเบาหวานโลก ระหว่างวันที่ 11 - 15 พฤศจิกายน 2562 มีกิจกรรมตรวจคัดกรองหาผู้ป่วยเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ กิจกรรมให้ความรู้และการดูแลตนเองเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวาน โดยมีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมดจำนวน 8,501 ราย และมีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลได้ดีตามเกณฑ์จำนวน 4,655 ราย คิดเป็นร้อยละ 54.76 5.โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ดำเนินการให้บริการที่ ตึก OPD ชั้น 1 ทุกวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 8.00 - 16.00 น และจัดกิจกรรมเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม โดยมีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมดจำนวน 5,355 ราย และมีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลได้ดีตามเกณฑ์จำนวน 4,066 ราย คิดเป็นร้อยละ 75.93 6.โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานครดำเนินการโครงการให้ความรู้ในแต่ละทีมสหสาขาวิชาชีพ วางแผนทำเอกสารให้ความรู้ในการควบคุมอาหาร การออกกกำลังกาย การรับประทานยาให้ทันสมัยและครอบคลุมมากขึ้น โดยมีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมดจำนวน 3,022 ราย และมีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลได้ดีตามเกณฑ์จำนวน 1,562 ราย คิดเป็นร้อยละ 51.69 7.โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ ดำเนินการให้บริการคลินิกเบาหวานทุกวันพฤหัสบดีและคลินิกตรวจเท้าเบาหวานให้บริการ เวลา 8.00 – 12.00 น. ณ ห้องตรวจผู้ป่วยนอก ให้ความรู้ แผ่นพับ โปสเตอร์ สื่อการสอน เรื่องโรคเบาหวาน และจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยตามหลัก 3 อ. 2 ส. โดยมีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมดจำนวน 14,829 ราย ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลได้ดีตามเกณฑ์จำนวน 5,860 ราย คิดเป็นร้อยละ 39.52 8. โรงพยาบาลสิรินธร ดำเนินการดูแลผู้ป่วยเบาหวานโดยประยุกต์ใช้แนวคิดรูปแบบการบริหารโรคเรื้อรัง (chronic care model : CCM) โดยทีมสหวิชาชีพ ประกอบด้วยกระบวนการดูแลและการประชุม เพื่อจัดทำคู่มือการดูแลตนเอง กำหนดรูปแบบการให้สุขศึกษา โดยมีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมดจำนวน 13,223 ราย และมีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลได้ดีตามเกณฑ์จำนวน 6,561 ราย คิดเป็นร้อยละ 49.62 โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ มีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมด จำนวน 72,378 ราย และผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 36,958 ราย คิดเป็นร้อยละ 51.06

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(18) ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร
ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :45.00

ผลงาน :49.58


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
29.61

100 / 100
3
54.02

0 / 0
4
49.58

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างเก็บข้อมูลจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนดที่มารับบริการในสำนักการแพทย์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทั้ง 8 แห่ง ดำเนินการคัดกรองผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโดยมีผู้รับบริการดังนี้ - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนดในปีงบประมาณ จำนวน 23,401 ราย - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ทั้งหมด 8 แห่ง จำนวน 6,930 ราย - คิดเป็นร้อยละ 29.61

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทั้ง 8 แห่ง ดำเนินการคัดกรองผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโดยมีผู้รับบริการดังนี้ - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนดในปีงบประมาณ จำนวน 38,261 ราย - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ทั้งหมด 8 แห่ง จำนวน 70,833 ราย - คิดเป็นร้อยละ 54.02

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทั้ง 8 แห่ง ดำเนินการคัดกรองผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงทั้งในสถานะผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ได้รับการวินิฉัย โรคความดันโลหิตสูงและเป็นผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนรับการรักษาในคลินิกอายุรกรรม ซึ่งมาตรวจติดตามในคลินิก ≥ 2 ครั้งใน 6 เดือนหรือ ≥ 3 ครั้งใน 1 ปี โดยเป็นโรคที่มีรหัสโรคตาม ICD - 10 TM,ICD-10,ICD - 9 ดังที่ระบุ (E10, E11, E12, E13, E14) ตามเกณฑ์ดังนี้ 1) ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั่วไปที่ไม่มีเบาหวานร่วม มีระดับความดันโลหิต 2 ครั้ง สุดท้ายติดต่อกัน < 140/90 มม.ปรอท. 2) ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีเบาหวานร่วม มีระดับความดันโลหิต 2 ครั้งสุดท้ายติดต่อกัน < 140/80 มม.ปรอท. มีผลการดำเนินการดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง ให้บริการผู้ป่วยโรคความ ดันโลหิตสูง ณ แผนกอายุรกรรมทั่วไป ชั้น 3 อาคารอนุสรณ์ 100 ปี ให้บริการวันจันทร์ - วันศุกร์ เวลา 08.00 - 12.00 น. โดยมีผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมดจำนวน 7,185 คน และมีผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 4,099 คน คิดเป็นร้อยละ 57.05 2. โรงพยาบาลตากสิน ดำเนินการจัดทำนิทรรศการเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน ให้คำแนะนำก่อนและหลังเข้ารับการตรวจรักษา ณ คลินิกความ ดันโลหิตสูงและไขมันในเลือดสูง ทุกวันพุธ เวลา 13.00 – 16.00 น. โดยมีผู้ป่วยโรคความ ดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมด จำนวน 21,307 คน และมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 13,444 คน คิดเป็นร้อยละ 63.10 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ดำเนินการให้บริการผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ณ คลินิกอายุรกรรม ชั้น 2 อาคารอนุสรณ์ 20 ปี ในวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 08.00 - 11.00 น. โดยมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมด จำนวน 18,845 คน และมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนดจำนวน 15,069 คน คิดเป็นร้อยละ 79.96 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ ให้บริการผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ณ คลินิกอายุรกรรมจัดกิจกรรมรักษาผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในคลินิกอายุรกรรม ทุกวันจันทร์ - วันศุกร์ เวลา 08.00 – 12.00 น. เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองและสามารถควบคุมความดันโลหิตไม่ให้อยู่ในระดับรุนแรง โดยมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมดจำนวน 15,317 คน และมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 10,232 คน คิดเป็นร้อยละ 66.80 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ เปิดให้บริการ ที่ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ณ ตึก OPD ชั้น 1 ทุกวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 8.00 - 16.00 น. จัดกิจกรรมวันความดันโลหิตสูงโลกในเดือน พฤษภาคมของทุกปี เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ป่วยความ ดันโลหิตสูง ญาติและผู้ดูแล มีการจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพประชาชน และให้ความรู้แก่ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจัดกิจกรรมชมรมผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงทุกวันจันทร์ โดยความร่วมมือของทีมสหวิชาชีพ จัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง รวมทั้งมีการ คัดกรองผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไต โดยแจ้งให้แพทย์ส่งตรวจ BUN CR EGFR อย่างน้อยปีละครั้ง และส่งต่อหากพบความผิดปกติให้ได้รับการรักษา โดยมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมดจำนวน 7,954 คน และมีผู้ป่วยโรคความ ดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 3,787 คน คิดเป็นร้อยละ 88.00 *หมายเหตุ เนื่องจากเกิดสถานการณ์ระบาดของ โควิด - 19 จึงงดการจัดกิจกรรมวันความดันโลหิตสูง 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร ดำเนินการให้บริการตรวจรักษาผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในคลินิกพิเศษต่างๆ เช่น คลินิกอายุรกรรม คลินิกเบาหวาน และให้บริการที่ห้องตรวจโรคทั่วไปทุกวัน ตามเวลาราชการโดยมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมด จำนวน 12,019 คน และมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 6,510 คน คิดเป็นร้อยละ 54.16 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ ดำเนินการให้บริการตรวจรักษาผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โดยมีผู้ป่วยโรคความ ดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียน และมารับบริการทั้งหมด จำนวน 12,621 คน และมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 6,885 คน คิดเป็นร้อยละ 54.55 8. โรงพยาบาลสิรินธร ดำเนินการให้บริการคัดกรอง ตรวจรักษาผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และจัดกิจกรรม “เรียนรู้ 3อ. บอกลา 2ส. รู้ทันเบาหวานความดันโลหิตสูง” ให้แก่ประชาชน โดยมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการทั้งหมดจำนวน 1,493 คน และมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 3,686 คน คิดเป็นร้อยละ 39.34 สรุป ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์และมารับบริการทั้งหมด จำนวน 111,429 คน และมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 66,391 คน คิดเป็นร้อยละ 49.58

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(19) จำนวนโลหิตที่ได้รับจากการบริจาค (โครงการบริจาคโลหิตเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก) (ผลผลิต)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร
จำนวนโลหิตที่ได้รับจากการบริจาค (โครงการบริจาคโลหิตเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก) (ผลผลิต)

หน่วยนับ :ยูนิต

เป้าหมาย :6,800.00

ผลงาน :9.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ยูนิต)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
4.00

100 / 100
2
6.00

100 / 100
3
8.00

0 / 0
4
9.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รพ.ในสังกัดสำนักการแพทย์ 4 แห่ง (รพก. รพต. รพจ. และ รพส.) ดำเนินการออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่รับบริจาคโลหิตในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร และดำเนินการรับบริจาคโลหิตในโรงพยาบาล ตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค.62 – 30 พ.ย. 62 ได้จำนวนผู้บริจาคโลหิตแล้วทั้งสิ้น 4,438 ยูนิต คิดเป็นร้อยละ 65.26

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-สำนักการแพทย์ ได้เล็งเห็นความสำคัญในเรื่องดังกล่าว จึงได้จัดกิจกรรมบริจาคโลหิตขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูล และเพื่อเป็นการป้องกันมิให้เกิดสถานการณ์ขาดแคลนโลหิตขึ้น ประกอบกับเป็นการรณรงค์ส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการบริจาคโลหิต โดยเชิญชวนบุคลากรกรุงเทพมหานครและประชาชนที่มีสุขภาพดีร่วมทำความดี บริจาคโลหิตถวายเป็นพระราชกุศล และให้การบริจาคโลหิตเป็นกิจกรรมหนึ่งในการทำความดีด้วยหัวใจ โดยมีจำนวน ผู้บริจาคโลหิตแล้วทั้งสิ้น 6,636 ยูนิต คิดเป็นร้อยละ 96.17

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-สำนักการแพทย์ ได้เล็งเห็นความสำคัญในเรื่องดังกล่าว จึงได้จัดกิจกรรมบริจาคโลหิตขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูล และเพื่อเป็นการป้องกันมิให้เกิดสถานการณ์ขาดแคลนโลหิตขึ้น ประกอบกับเป็นการรณรงค์ส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการบริจาคโลหิต โดยเชิญชวนบุคลากรกรุงเทพมหานครและประชาชนที่มีสุขภาพดีร่วมทำความดี บริจาคโลหิตถวายเป็นพระราชกุศล และให้การบริจาคโลหิตเป็นกิจกรรมหนึ่งในการทำความดีด้วยหัวใจ โดยมีจำนวน ผู้บริจาคโลหิตแล้วทั้งสิ้น 8,106 ยูนิต คิดเป็นร้อยละ 117.48

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-เนื่องในโอกาสมหามงคล พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562 ด้วยสำนึกใน พระมหากรุณาธิคุณ อันหาที่สุดมิได้ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีต่อการแพทย์และการสาธารณสุขไทย ประกอบกับในปัจจุบัน ประเทศไทยเกิดภาวการณ์ขาดแคลนโลหิต เนื่องจากจำนวนผู้ที่มีความจำเป็นต้องใช้โลหิตมีแนวโน้มสูงขึ้น ซึ่งหากปริมาณโลหิตสำรองที่มีอยู่นั้นไม่เพียงพอต่อความต้องการ อาจส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจากภาวการณ์ขาดแคลนโลหิตดังกล่าวได้ สำนักการแพทย์ ได้เล็งเห็นความสำคัญในเรื่องดังกล่าว จึงได้จัดโครงการบริจาคโลหิตเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคล พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ดำเนินการโดยโรงพยาบาลในสังกัด สำนักการแพทย์ 4 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลกลาง โรงพยาบาลตากสิน โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ และโรงพยาบาลสิรินธร จัดหน่วยแพทย์เคลื่อนที่รับบริจาคโลหิตทั้งในและนอกสถานที่ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2562 – 30 กันยายน 2563 โดยเชิญชวนบุคลากรกรุงเทพมหานครและประชาชนที่มีสุขภาพดีร่วมทำความดี บริจาคโลหิตถวายเป็นพระราชกุศล และให้การบริจาคโลหิตเป็นกิจกรรมหนึ่งในการทำความดีด้วยหัวใจ ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย สำนักการแพทย์จึงได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการและคณะทำงานโครงการเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ตามคำสั่งสำนักการแพทย์ ที่ 354/2562 ลงวันที่ 22 เมษายน 2562 และมีการจัดประชุมคณะกรรมการฯ เพื่อร่วมกันกำหนดแนวทางและติดตามผลการดำเนินงาน ซึ่งจากการดำเนินการตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2562 – 31 สิงหาคม 2563 สามารถสรุปผลการดำเนินงานได้ดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง ดำเนินการรับบริจาคโลหิตได้จำนวน 2,277 Unit 2. โรงพยาบาลตากสิน ดำเนินการรับบริจาคโลหิตได้จำนวน 2,102 Unit 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ดำเนินการรับบริจาคโลหิตได้จำนวน 2,554 Unit 4. โรงพยาบาลสิรินธร ดำเนินการรับบริจาคโลหิตได้จำนวน 2,972 Unit รวมได้จำนวนโลหิตทั้งสิ้น 9,905 unit

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(20) ร้อยละของการส่งรง.506 เมื่อพบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง
ร้อยละของการส่งรง.506 เมื่อพบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :90.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
90.48

100 / 100
3
96.83

0 / 0
4
97.12

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกที่ส่ง รง.506 จำนวน 4,061 ราย จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกทั้งหมด จำนวน 4,061 ราย คิดเป็นร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ 9 แห่ง ได้จัดกิจกรรมรณรงค์เพื่อป้องกันไข้เลือดออกเพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในโรงพยาบาล และได้มีการจัดส่งรายงาน 506 เมื่อพบผู้ป่วยรายงานโดยส่งไปยังกองควบคุมโรคติดต่อ ทางโทรสารหรือทางช่องทางอื่นๆ ภายใน 24 ชั่วโมง ผลการดำเนินงานดังนี้ - จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกที่ส่ง รง.506 จำนวน 1,036 ราย - จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกทั้งหมด จำนวน 1,145 ราย คิดเป็นร้อยละ 90.48

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ 9 แห่ง ได้จัดกิจกรรมรณรงค์เพื่อป้องกันไข้เลือดออกเพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในโรงพยาบาล และได้มีการจัดส่งรายงาน 506 เมื่อพบผู้ป่วยรายงานโดยส่งไปยังกองควบคุมโรคติดต่อ ทางโทรสารหรือทางช่องทางอื่นๆ ภายใน 24 ชั่วโมง ผลการดำเนินงานดังนี้ - จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกที่ส่ง รง.506 จำนวน 1,805 ราย - จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกทั้งหมด จำนวน 1,864 ราย คิดเป็นร้อยละ 96.83

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-สำนักการแพทย์ได้เพิ่มประสิทธิภาพในการพัฒนาระบบบริการประชาชนที่ป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกที่เข้ามารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ดังนี้ 1.จัดตั้งคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องของโรงพยาบาลในสังกัด เพื่อวางแผนและกำหนดแนวทางในการดำเนินงานการป้องกันโรคไข้เลือดออก และสร้างความตระหนักให้แก่เจ้าหน้าที่ ประชาชนผู้มารับบริการ ในการควบคุม ป้องกัน และเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก 2.จัดกิจกรรมรณรงค์เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก เช่น กิจกรรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันไข้เลือดออกในประชาชนกลุ่มเสี่ยง กิจกรรมสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในโรงพยาบาล กิจกรรมรณรงค์วันไข้เลือดออกอาเซียน กิจกรรมรายการเสียงตามสาย (รายการอาสาพาสบาย) เรื่องรณรงค์กำจัดยุงลายด้วยมาตรการ 3 เก็บ 3 โรค กิจกรรมรณรงค์ให้ทุกส่วนราชการในสังกัดร่วมสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย กิจกรรมเดินรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย เป็นต้น 3.จัดทำเอกสารให้ความรู้แก่ผู้มารับบริการโรงพยาบาลในสังกัด เช่น การแจกแผ่นพับ โปสเตอร์ ตะไคร้หอม ทรายอะเบท โลชั่นทากันยุง เป็นต้น 4.การรายงาน รง.506 เมื่อพบผู้ป่วยมารับบริการรักษาในโรงพยาบาลสังกัด ตามระบบรายงานโรค กลุ่มงานระบาดวิทยา กองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย ภายใน 24 ชั่วโมง เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้ออย่างมีประสิทธิภาพ จึงมีการจัดกิจกรรมต่างๆขึ้น และรายงานจำนวนผู้ป่วยที่เข้ามารับการรักษาทั้งหมดอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2563 ดังนี้ รพก. ผู้ป่วย 498 ราย ส่งรายงาน 480 ราย คิดเป็นร้อยละ 96.386 รพต. ผู้ป่วย 159 ราย ส่งรายงาน 144 ราย คิดเป็นร้อยละ 90.566 รพจ. ผู้ป่วย 570 ราย ส่งรายงาน 541 ราย คิดเป็นร้อยละ 94.912 รพท. ผู้ป่วย 207 ราย ส่งรายงาน 194 ราย คิดเป็นร้อยละ 93.720 รพว. ผู้ป่วย 527 ราย ส่งรายงาน 527 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 รพล. ผู้ป่วย 22 ราย ส่งรายงาน 22 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 รพร. ผู้ป่วย 90 ราย ส่งรายงาน 90 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 รพส. ผู้ป่วย 595 ราย ส่งรายงาน 595 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 รพข. ผู้ป่วย 37 ราย ส่งรายงาน 34 ราย คิดเป็นร้อยละ 91.892 รวมผู้ป่วยทั้งสิ้น จำนวน 2,705 ราย เสียชีวิต จำนวน 2,627 ราย คิดเป็นร้อยละ 97.116

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(21) ร้อยละของการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง
ร้อยละของการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :90.00

ผลงาน :95.27


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

0 / 0
4
95.27

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ในระหว่างรอการจัดสรรวัคซีนไข้หวัดใหญ่ของกลุ่มเป้าหมาย ในช่วงเดือน พ.ค. - มิ.ย. 2563 จากสปสช.

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อยู่ระหว่างรอการสนับสนุนวัคซีนจาก สปสช.และกรมควบคุมโรค

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ที่ได้รับการจัดสรรวัคซีนไข้หวัดใหญ่สำหรับบุคลากรสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวน 5 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลกลาง จำนวน 1,400 dose โรงพยาบาลตากสิน จำนวน 1,000 dose โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ จำนวน 1,000 dose โรงพยาบาลสิรินธร จำนวน 700 dose และโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน จำนวน 300 dose และยังมีโรงพยาบาลในสังกัดยังไม่ได้รับการจัดสรรในรอบนี้ เนื่องจากกระทรวงสาธารณสุขมีจำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ไม่เพียงพอ และอาจจะพิจารณาดำเนินการจัดซื้อต่อไป ส่วนวัคซีนไข้หวัดใหญ่สำหรับประชาชน อยู่ระหว่างการให้บริการกับประชาชนกลุ่มเสี่ยง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-สำนักการแพทย์ได้มีบริการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคสำหรับบุคลากรทางการแพทย์และข้าราชการและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วย และวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจาก สปสช. สำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยง โดยมีกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ 1. บุคลากรที่มีความเสี่ยงต่อการสัมผัสโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล ได้แก่ - แพทย์ พยาบาล และบุคลากรอื่นๆ ในโรงพยาบาลทั้งที่ทำงานในหอผู้ป่วย และตึกผู้ป่วยนอก รวมถึงนักศึกษาฝึกงานในแต่ละวิชาชีพ - เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ทำหน้าที่ในการสอบสวนควบคุมโรค - เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครทำลายซากสัตว์ปีก และสัตว์อื่นที่สงสัยติดเชื้อ ไข้หวัดนก - เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการตรวจวินิจฉัยเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ 2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ควรได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ประกอบด้วย - หญิงตั้งครรภ์อายุครรภ์ 4 เดือนขึ้นไป - เด็กอายุ 6 เดือน ถึง 2 ปีทุกคน - ผู้มีโรคเรื้อรัง ดังนี้ปอดอุดกั้นเรื้อรัง หอบหืด หัวใจ หลอดเลือดสมอง ไตวาย ผู้ป่วยมะเร็งที่อยู่ระหว่างการได้รับเคมีบำบัด และเบาหวาน - บุคคลที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป ทุกคน - ผู้พิการทางสมองที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ - ธาลัสซีเมียและผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง (รวมผู้ติดเชื้อ HIV ที่มีอาการ) - โรคอ้วน (น้าหนัก > 100 กิโลกรัม หรือ BMI > 35 กิโลกรัมต่อตารางเมตร ที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ โดยได้มีผลการดำเนินการ ดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 4,281 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 4,891 Dose - คิดเป็นร้อยละ 87.53 2. โรงพยาบาลตากสิน - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 4,591 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 4,873 Dose - คิดเป็นร้อยละ 94.21 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 5,191 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 5,191 Dose - คิดเป็นร้อยละ 100 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 1,331 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 1,331 Dose - คิดเป็นร้อยละ 100 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 1,427 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 1,520 Dose - คิดเป็นร้อยละ 93.88 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 1,620 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 1,620 Dose - คิดเป็นร้อยละ 100 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 4,573 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 5,002 Dose - คิดเป็นร้อยละ 91.42 8. โรงพยาบาลสิรินธร - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 3,990 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 3,994 Dose - คิดเป็นร้อยละ 99.90 9. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 1,300 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 1,300 Dose - คิดเป็นร้อยละ 100 10. โรงพยาบาลคลองสามวา - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 35 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 35 Dose - คิดเป็นร้อยละ 100 11. โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร - จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 35 ราย - จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 35 Dose - คิดเป็นร้อยละ 100 สำนักการแพทย์ได้ดำเนินการให้บริการฉีดวัคซีนให้แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ ซึ่งอยู่ในกลุ่มเสี่ยงจำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ได้รับการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำนวน 28,374 ราย จำนวนวัคซีนไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข และสปสช. จำนวน 29,792 Dose คิดเป็นร้อยละ 95.24

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(22) อัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง
อัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่

หน่วยนับ :มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ

เป้าหมาย :85.00

ผลงาน :87.92


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00

100 / 100
2
88.51

100 / 100
3
90.47

0 / 0
4
87.92

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาวัณโรคของโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ทุก ๆ 3 เดือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทุกแห่งได้มีการดำเนินการพัฒนาระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาวัณโรค สรุปอัตราผลสำเร็จในการรักษา (Success Rate) ของโรงพยาบาลในสังกัด ทั้ง 8 แห่ง รักษาหายและรักษาครบ(Cure+Complete) ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 235 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 208 ราย คิดเป็นร้อยละ 88.51

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทุกแห่งได้มีการดำเนินการพัฒนาระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาวัณโรค สรุปอัตราผลสำเร็จในการรักษา (Success Rate) ของโรงพยาบาลในสังกัด ทั้ง 8 แห่ง รักษาหายและรักษาครบ(Cure+Complete) ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 430 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 389 ราย คิดเป็นร้อยละ 90.47

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทุกแห่งได้มีการดำเนินการพัฒนาระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาวัณโรค โดยมีการประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาวัณโรคของโรงพยาบาลในสังกัด สำนักการแพทย์ร่วมกับสำนักอนามัย จำนวน 2 ครั้ง - ครั้งที่ 1 วันพุธที่ 20 พฤศจิกายน 2562เวลา 13.30 - 16.00 น. ณ ห้องประชุมแพทยพัฒน์ ชั้น 5 สำนักการแพทย์ - ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดีที่ 11 มิถุนายน 2563 เวลา 13.30 - 16.00 น. ณ ห้องประชุมแพทยพัฒน์ ชั้น 5 สำนักการแพทย์ และได้กำหนดแผนการตรวจประเมินคลินิกวัณโรคคุณภาพในโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ 8 แห่ง ดังนี้ โรงพยาบาลกลาง วันพุธที่ 5 สิงหาคม 2563 เวลา 09.30 – 13.00 น. โรงพยาบาลสิรินธร วันพฤหัสบดีที่ 13 สิงหาคม 2563 เวลา 09.30 – 13.00 น. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ วันพฤหัสบดีที่ 20 สิงหาคม 2563 เวลา 09.30 – 13.00 น. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร วันพฤหัสบดีที่ 27 สิงหาคม 2563 เวลา 13.00 – 16.00 น. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ วันพุธที่ 9 กันยายน 2563 เวลา 09.30 – 13.00 น. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ วันพุธที่ 16 กันยายน 2563 เวลา 09.30 – 13.00 น. โรงพยาบาลตากสิน วันพุธที่ 23 กันยายน 2563 เวลา 09.30 – 13.00 น. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ วันศุกร์ที่ 25 กันยายน 2563 เวลา 09.30 – 13.00 น. คลินิกวัณโรคโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ 8 แห่ง ผ่านการประเมินตัวชี้วัด 11 ด้าน โดยเกณฑ์ตัวชี้วัดที่ใช้ในการประเมินได้มาจากแนวทางของ International Standards of TB care (ISTC) รวมทั้งข้อเสนอแนะขององค์การอนามัยโลก สรุปผลการดำเนินงานการพัฒนาระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาวัณโรคของโรงพยาบาลในสังกัด สำนักการแพทย์ ทั้ง 8 แห่ง รายละเอียด ดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง ดำเนินการเปิดให้บริการคลินิกวัณโรค สัปดาห์ละ 2 วัน (วันอังคารและวันศุกร์) บริการให้คำปรึกษาและคำแนะนำแก่ผู้ป่วยและผู้ดูแลทุกราย จัดห้องตรวจแยกจากผู้ป่วยทั่วไป ลดขั้นตอนการติดต่อของผู้ป่วย มีระบบการส่งตรวจเสมหะ และการค้นหาผู้ป่วยที่มีเชื้อดื้อยา มีระบบการตรวจคัดกรองค้นหาผู้ป่วยสงสัยวัณโรค (Fast track screening) มีการติดตามผู้ป่วยให้รับการรักษาเร็วขึ้น มีระบบนัด ระบบการแจ้งเตือนวันนัด และพัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยเพื่อไปรับยาต่อเนื่อง โดยประสาน Referral Center for TB ของ สนอ. อัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ร้อยละ 86.77 ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 189 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 164 ราย คิดเป็นร้อยละ 86.77 2.โรงพยาบาลตากสิน ดำเนินการเปิดให้บริการคลินิกวัณโรค ให้บริการในวันและเวลาราชการ จัดบริการให้คำปรึกษาและคำแนะนำแก่ผู้ป่วยและผู้ดูแล ให้การรักษาตามแนวทางการรักษาวัณโรค ขึ้นทะเบียนผู้ป่วยวัณโรค และติดตามประเมินผลการรักษาในผู้ป่วยทุกราย อัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ร้อยละ 84.51 ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 142 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 120 ราย คิดเป็นร้อยละ 84.51 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ดำเนินการเปิดให้บริการคลินิกวัณโรค จัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับวัณโรคในผู้ป่วยทุกราย จัดทำ Dot. Conner สัปดาห์ละ 1 ครั้ง จัดให้มีระบบ Counselling TB ในผู้ป่วยทุกราย จัดทำระบบ การกินยาแบบ DOT ในผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะบวก ติดตามผู้ป่วยให้รับประทานยาครบถ้วน ถูกต้อง และจัดระบบบริการแบบ One stop service (บริการตาม LAB และรับยาให้ผู้ป่วย) รวมถึงประสานงานระบบส่งต่อผู้ป่วยกับหน่วยงานภายนอก อัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ร้อยละ 87.50 ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 128 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 112 ราย คิดเป็นร้อยละ 87.50 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ ดำเนินการเปิดให้บริการคลินิกวัณโรค ทุกวันพุธ จัดให้ความรู้ในการปฏิบัติตัวและการดูแลตนเองแก่ผู้ป่วยวัณโรคและญาติของผู้ป่วย และมีการประเมินความรู้ในการปฏิบัติตัวของผู้ป่วย รวมถึง มีการค้นหาผู้สัมผัสร่วมบ้านกับผู้ป่วยวัณโรคให้ได้รับการตรวจรักษา อัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ร้อยละ 87.50 ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 48 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 42 ราย คิดเป็นร้อยละ 87.50 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ดำเนินการเปิดให้บริการคลินิกวัณโรค จัดระบบ Fast track ในผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ มีการให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติ และมีการประเมินก่อนและหลังให้ความรู้ มีการติดตามผู้ป่วยให้มารักษาตามนัด ระบบให้ยาแบบ Daily package เพื่อความสะดวกในการรับประทานยาของผู้ป่วย มีการติดตามเยี่ยมหลังการรักษา และติดตามเยี่ยมผู้สัมผัสใกล้ชิดผู้ป่วยวัณโรค รวมถึงมีการประสานงานการทำงานระหว่างหน่วยงานในโรงพยาบาลและหน่วยงานภายนอก อัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ร้อยละ 90.91 ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 44 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 40 ราย คิดเป็นร้อยละ 90.91 7. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร ดำเนินการเปิดให้บริการคลินิกวัณโรคทุกวันศุกร์ เวลา 13.00 – 16.00 น. ณ คลินิกพิเศษ งานผู้ป่วยนอก ตึกทันตกรรม ชั้น 1 จัดให้บริการแบบ One stop service จุดเดียวเบ็ดเสร็จให้ความรู้ในการปฏิบัติตัวและการดูแลตนเองแก่ผู้ป่วยวัณโรคและญาติของผู้ป่วย รวมถึงการติดตามการรับประทานยา และค้นหาผู้สัมผัสร่วมบ้านกับผู้ป่วยวัณโรคให้ได้รับการตรวจรักษา อัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรค รายใหม่ ร้อยละ 95.12 ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 41 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ(Cure+Complete) จำนวน 39 ราย คิดเป็นร้อยละ 95.12 8. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ ดำเนินการเปิดให้บริการคลินิกวัณโรค จัดให้ความรู้ในการปฏิบัติตัวและการดูแลตนเองแก่ผู้ป่วยวัณโรคและญาติของผู้ป่วย รวมถึงการติดตามการรับประทานยาของผู้ป่วย อัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรค รายใหม่ ร้อยละ 89.47 ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 114 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 102 ราย คิดเป็นร้อยละ 89.47 9. โรงพยาบาลสิรินธร ดำเนินการเปิดให้บริการคลินิกวัณโรค ให้บริการแบบ One stop service จุดเดียวเบ็ดเสร็จ จัดให้ความรู้ในการปฏิบัติตัวและการดูแลตนเองแก่ผู้ป่วยวัณโรคและญาติของผู้ป่วย รวมถึงการติดตามการรับประทานยา และค้นหาผู้สัมผัสร่วมบ้านกับผู้ป่วยวัณโรคให้ได้รับการตรวจรักษา รวมถึงมีการพัฒนาระบบการติดต่อผ่านระบบไลน์ ทาง Smart phone เพื่อให้คำแนะนำปรึกษาหากผู้ป่วยหรือญาติผู้ป่วยมีปัญหาในการรับประทานยาหรือผลข้างเคียงจากยาใช้ในการติดตามผู้ป่วย แจ้งวันนัดล่วงหน้า เพื่อไม่ให้ผู้ป่วยลืมนัดหมายการตรวจ ให้ความรู้เกี่ยวกับวัณโรคและการดูแล ที่ถูกต้องให้กับผู้ป่วย และผู้ป่วยสามารถแจ้งการรับประทานยาให้เจ้าหน้าที่ที่คลินิกได้รับทราบ อัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ร้อยละ 89.23 ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 130 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 116 ราย คิดเป็นร้อยละ 89.23 สรุปอัตราผลสำเร็จในการรักษา (Success Rate) ของโรงพยาบาลในสังกัด ทั้ง 8 แห่งในภาพรวมเท่ากับร้อยละ 87.92 ดังนี้ ผู้ป่วยที่นำมาประเมิน ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 836 ราย ผลการรักษา รักษาหายและครบ (Cure+Complete) จำนวน 735 ราย คิดเป็นร้อยละ 87.92

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(23) ร้อยละของความสำเร็จในการผ่านการตรวจประเมินมาตรฐานคุณภาพโรงพยาบาล (Re- Accreditation)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๓ คนกรุงเทพฯทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เท่าเทียม มีคุณภาพ แ
ร้อยละของความสำเร็จในการผ่านการตรวจประเมินมาตรฐานคุณภาพโรงพยาบาล (Re- Accreditation)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
100.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รพต เสนอขออนุมัติต่อผู้บริหารและประชุมวางแผน / 26/11/2562 : 1. ทบทวนประเมินตนเอง 2. จัดทำเอกสารคุณภาพเตรียมความพร้อมรับการเยี่ยมประเมินระบบคุณภาพซ้ำ 3. จัดอบรมการทบทวนและตามรอยคุณภาพทางคลินิก Clinical Tracer โดยใช้เครื่องมือ Driver Diagram 4. ประชุมคณะกรรมการอำนวยการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล ครั้งที่ 1/2563 5. ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2P Safety กับ รพ.เจริญกรุงประชารักษ์ รพจ อยู่ระหว่างขั้นตอนการจัดกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลให้กับหน่วยงานและบุคลากรของโรงพยาบาล เพื่อส่งเสริมให้มีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และให้มีความพร้อมในการขอต่ออายุการรับรองกระบวนการคุณภาพซ้ำ (Re-Accreditation Survey) ตามมาตรฐานการรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (HA) ภายในเดือน ม.ค. 2563 รพส. เตรียมส่งเอกสารแสดงเจตจำนงต่ออายุการรับรอง และเสนอการจัดทำโครงการต่อผู้บริหาร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-โรงพยาบาลตากสิน ดำเนินการดังนี้ 1. ดำเนินกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพ รพ. ตามแผน ประชุมติดตามงานและลงพื้นที่ Internal Survey เพื่อเตรียมความพร้อมรับการเยี่ยมสำรวจ 2. ประชุมคณะกรรมการทีมพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล(ทีมนำ)เพื่อหารือและเตรียมความพร้อมในการเข้ารับการตรวจประเมินรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Re - Accreditation ครั้งที่ 4 3. อยู่ระหว่างขั้นตอน...การประชุมและรับฟังการนำเสนอผลงานการพัฒนาคุณภาพของทีมนำระบบ โดยมีหน่วยงานต่างๆ ร่วมรับฟังเพื่อแลกเปลี่ยน และนำไปเชื่อมโยงการพัฒนาคุณภาพภายในหน่วยงาน เพื่อเตรียมพร้อมรับการตรวจประเมินคุณภาพสถานพยาบาล (HA) โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ขณะนี้อยู่ระหว่างรอผลการตรวจประเมิน โรงพยาบาลสิรินธร 1.เตรียมขอรายชื่อผู้เข้าอบรมจากหน่วยงานต่างๆ 2.จัดทำแบบประเมินตนเอง (SAR) เพื่อส่งให้ สนพ./ ประชุมคณะกรรมการ IC วันจันทร์ที่ 13 มกราคม 2563/ การ Quality Round นำโดยผู้อำนวยการโรงพยาบาลสิรินธร ในเดือนกุมภาพันธ์ 2563 จำนวน 3 วัน 14 หน่วยงาน/ มีการจัดการอบรมเรื่องการยศาสตร์ ให้แก่บุคลากรโรงพยาบาลสิรินธร ระหว่างวันที่ 26 – 27 กุมภาพันธ์ 2563 ณ ห้องประชุมคุณหญิงหรังกันตารัติ ชั้น 2

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ใในปี 2563 โรงพยาบาลที่ต้องได้รับการตรวจประเมินมาตรฐานคุณภาพโรงพยาบาล Re- Accreditation ในปี 2563 ดังนี้ รพต. ได้ส่งข้อมูลไปยังสรพ.เรียบร้อยแล้ว ขณะนี้อยู่ระหว่างขอขยายระยะเวลาในการตรวจประเมิน สรพ. แจ้งให้ต่อระยะเวลาอีก 1 ปี รพจ. ผ่านการตรวจประเมินเรียบร้อยแล้วและไม่ได้ติด Focus รพส. ได้ส่งแบบประเมินตนเองและทำหนังสือขอขยายระยะเวลาการรับรองไปยังสรพ. เรียบร้อยแล้ว โดยทั้ง 3 โรงพยาบาลได้ส่งส่งหนังสือขอรับการตรวจประเมินคุณภาพโรงพยาบาลไปยังสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์กรมหาชน) คิดเป็นร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-สำนักการแพทย์ มีนโยบายพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทุกแห่งให้มีประสิทธิภาพ โดยกำหนดให้มีการติดตามการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลในสังกัดฯ ทั้ง 11 แห่ง และมีการจัดตั้งทีม Quality Learning Network เพื่อติดตามและให้คำปรึกษาด้านการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาล รวมถึงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บริการประชาชนในพื้นที่แบบครบวงจรและมีคุณภาพเทียบได้กับมาตรฐานสากล และตอบสนองความต้องการของสังคม ช่วยขับเคลื่อนการพัฒนาระบบบริการช่วยให้ประชาชนเกิดความมั่นใจและไว้วางใจในระบบบริการสุขภาพในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยโรงพยาบาลจะต้องผ่าน การประเมินคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน (HA) โดยมีสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) (สรพ.) เป็นหน่วยงานผู้ประเมิน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โรงพยาบาลในสังกัดที่ผ่านมาตรฐานการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA) ซ้ำจากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) ต้องมีการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง และเป็นการเพิ่มขีดความสามารถให้แก่องค์กรในการดำเนินงานอันจะเอื้อประโยชน์ต่อผู้ใช้บริการของโรงพยาบาล และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการปฏิบัติงานของโรงพยาบาล ซึ่งโรงพยาบาลที่ครบวงรอบของการต่ออายุการรับรองกระบวนการคุณภาพ (Re Accreditation) ในปีนี้ มี 3 แห่ง คือ โรงพยาบาลตากสิน โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ และโรงพยาบาลสิรินธร สรุปผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ผลการดำเนินงานด้านคุณภาพโรงพยาบาล มีดังนี้ 1.โรงพยาบาลตากสิน เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามประกาศสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) เรื่อง แนวทางการเยี่ยมสำรวจสถานพยาบาลในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำหรับสถานพยาบาล ซึ่งกำหนดให้ในกรณีที่สถานพยาบาลต้องเข้าสู่กระบวนการเยี่ยมสำรวจเพื่อต่ออายุการรับรอง ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563 และเผชิญกับสถานการณ์อันเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่มีผลต่อกระบวนการทำงาน โรงพยาบาลตากสิน จึงได้มีหนังสือแจ้งไปยังสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) ตามหนังสือ โรงพยาบาลตากสิน ที่ กท 0606/3637 ลงวันที่ 18 มีนาคม 2563 เรื่อง ขอขยายอายุการรับรองสถานพยาบาลให้เป็นกรณีพิเศษ ระยะเวลา 1 ปี โดยขอให้สถาบันฯพิจารณาขยายอายุการรับรองสถานพยาบาลให้เป็นกรณีพิเศษ และสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) ได้มีหนังสือตอบกลับที่ สรพ ว0103 ลงวันที่ 8 เมษายน 2563 เรื่อง แจ้งขยายระยะเวลาการรับรอง โดยสถาบันฯแจ้งผลการพิจารณาให้ขยายการต่ออายุการรับรองสถานพยาบาล 1 ปี ตั้งแต่วันที่ 24 มีนาคม 2563 ถึงวันที่ 23 มีนาคม 2564 เพื่อให้โรงพยาบาลได้รับมือกับสถานการณ์ดังกล่าวอย่างเต็มที่ และหากโรงพยาบาลมีความพร้อมขอให้แจ้งความจำนงมายังสถาบันฯ เพื่อจัดเยี่ยมให้แก่โรงพยาบาลต่อไป 2.โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ได้รับการเยี่ยมสำรวจเพื่อต่ออายุการรับรองกระบวนการคุณภาพ (ซ้ำ) ตามมาตรฐานโรงพยาบาล (Re Accreditation) เมื่อวันที่ 16-17 มกราคม 2563 มีผลผ่านการเยี่ยมเพื่อต่ออายุการรับรองกระบวนการคุณภาพสถานพยาบาล ครั้งที่ 4 จากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล องค์การมหาชน (สรพ.) โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 26 พฤษภาคม 2563 เป็นระยะเวลา 3 ปี (26 พฤษภาคม 2563 – 25 พฤษภาคม 2566) และผ่านมาตรฐานการรับรองเฉพาะโรค (Disease Specific Certification - DSC) จากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล จำนวน 3 โรค ได้แก่ - การผ่าตัดมดลูก (Hysterectomy) - การผ่าตัดเนื้องอกมดลูก (Laparoscopic Myomectomy) - การผ่าตัดถุงน้ำที่รังไข่ (Laparoscopic Cystectomy) ซึ่งมีระยะเวลาการรับรอง ตั้งแต่วันที่ 5 มีนาคม 2562 – 4 มีนาคม 2565 โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ มีเป้าหมายที่จะพัฒนาโรงพยาบาลให้ได้รับการรับรองกระบวนการคุณภาพและรักษามาตรฐานคุณภาพบริการอย่างยั่งยืน ตามกรอบมาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับที่ 4 เพื่อคงไว้ซึ่งการบริการที่มีคุณภาพและปลอดภัยแก่ผู้ใช้บริการ 3.โรงพยาบาลสิรินธร เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยตามประกาศสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) เรื่องแนวทางการเยี่ยมสำรวจสถานพยาบาลในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำหรับสถานพยาบาล ซึ่งกำหนดให้ในกรณีที่สถานพยาบาลต้องเข้าสู่กระบวนการเยี่ยมสำรวจเพื่อต่ออายุการรับรอง ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563 และเผชิญกับสถานการณ์อันเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่มีผลต่อกระบวนการทำงาน และได้รับหนังสือตอบกลับ ที่ สรพ ว0119 ลงวันที่ 29 เมษายน 2563 เรื่อง แจ้งขยายระยะเวลาการรับรอง โดยสถาบันฯแจ้งผลการพิจารณาให้ขยายการต่ออายุการรับรองสถานพยาบาล 1 ปี ตั้งแต่วันที่ 13 มิถุนายน 2563 ถึงวันที่ 12 มิถุนายน 2564 เพื่อให้โรงพยาบาลได้รับมือกับสถานการณ์ดังกล่าวอย่างเต็มที่ และหากโรงพยาบาลมีความพร้อมขอให้(Re-accreditation Survey)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(24) ความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อการให้บริการของโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๓ คนกรุงเทพฯทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เท่าเทียม มีคุณภาพ แ
ความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อการให้บริการของโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :85.00

ผลงาน :96.22


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
95.74

100 / 100
3
95.14

0 / 0
4
96.22

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างส่วนราชการทอดแบบสอบถามให้กับผู้รับบริการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-สำนักการแพทย์ได้ดำเนินการสำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการของโรงพยาบาลในสังกัดทุกแห่ง เพื่อให้ผู้รับบริการได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการให้บริการของโรงพยาบาลในด้านต่างๆ แล้วนำผลสำรวจความพึงพอใจ ข้อเสนอแนะ และความคิดเห็น มาพัฒนางานด้านบริการต่อไป ผลสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์เทท่ากับร้อยละ 95.74

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- สำนักการแพทย์ได้ดำเนินการสำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการของโรงพยาบาลในสังกัดทุกแห่ง เพื่อให้ผู้รับบริการได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการให้บริการของโรงพยาบาลในด้านต่างๆ แล้วนำผลสำรวจความพึงพอใจ ข้อเสนอแนะ และความคิดเห็น มาพัฒนางานด้านบริการต่อไป ผลสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์เทท่ากับร้อยละ 95.14

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-สำนักการแพทย์ได้ดำเนินการสำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการของโรงพยาบาลในสังกัดทุกแห่ง เพื่อให้ผู้รับบริการได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการให้บริการของโรงพยาบาลในด้านต่างๆ แล้วนำผลสำรวจความ พึงพอใจ ข้อเสนอแนะ และความคิดเห็น มาพัฒนางานด้านบริการต่อไป ผลสำรวจความพึงพอใจข้องผู้รับบริการของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2562 – 31 สิงหาคม 2563 ดังนี้ โรงพยาบาลกลาง ร้อยละความพึงพอใจ 97.83 โรงพยาบาลตากสิน ร้อยละความพึงพอใจ 97.72 โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ร้อยละความพึงพอใจ 96.56 โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ ร้อยละความพึงพอใจ 97.90 โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ร้อยละความพึงพอใจ 94.80 โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร ร้อยละความพึงพอใจ 90.84 โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ ร้อยละความพึงพอใจ 93.64 โรงพยาบาลสิรินธร ร้อยละความพึงพอใจ 94.85 โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ร้อยละความพึงพอใจ 93.03 โรงพยาบาลคลองสามวา ร้อยละความพึงพอใจ 94.65 โรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร ร้อยละความพึงพอใจ 97.91 โดยรวม ร้อยละความพึงพอใจ 96.22

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(25) ระดับความสำเร็จในการพัฒนาศักยภาพโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิระดับสูงและระดับตติยภูมิระดับสูง
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๓ คนกรุงเทพฯทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เท่าเทียม มีคุณภาพ แ
ระดับความสำเร็จในการพัฒนาศักยภาพโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิระดับสูงและระดับตติยภูมิระดับสูง

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :60.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
20.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1.โครงการก่อตั้งหอผู้ป่วยวิกฤติระบบการหายใจ (Respiratory care unit; RCU) โรงพยาบาลกลาง ขั้นตอนที่ 1 จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติต่อผู้บริหาร โรงพยาบาลกลาง ขั้นตอนที่ 2 แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานก่อตั้งหอผู้ป่วยวิกฤตระบบการหายใจ ขั้นตอนที่ 3 ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนที่ 4 ปรับปรุงพื้นที่และโครงสร้าง - ปรับปรุงพื้นที่ ห้องชั้น 6 อาคารอนุสรณ์ 100 ปี โรงพยาบาลกลาง ขั้นตอนที่ 5 ขออนุมัติจัดซื้อเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์งบประมาณปี 2563 การจัดซื้อครุภัณฑ์ทางการแพทย์ ฝ่ายพัสดุกำลังดำเนินการ ดังนี้ - เผยแพร่ร่างขอบเขตของงาน - 1. เครื่องช่วยหายใจชนิดควบคุมด้วยปริมาตรและความดันพร้อมระบบการปรับจ่ายอากาศตามสภาพการเปลี่ยนแปลงของปอดและระบบหย่าเครื่องอัตโนมัติในผู้ใหญ่ 4 เครื่อง ตั้งแต่วันที่ 5 พ.ย. 62 - 2 ธ.ค. 62 2. เครื่องตรวจและบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 80 กิโลวัตต์ และแผ่นรับภาพระบบดิจิตอล 2 ชุด แบบไม่น้อยกว่า 12 ลีด ชนิดวิเคราะห์ผลกล้ามเนื้อหัวใจตาย 1 เครื่อง ตั้งแต่วันที่ 19 พ.ย. 62 – 26 พ.ย. 62 - อยู่ระหว่างเสนอรายงานผลการพิจารณาและอนุมัติจัดซื้อ 3. เตียงผู้ป่วยระบบไฟฟ้าชั่งน้ำหนักได้พร้อมที่นอนป้องกันแผลกดทับ 4 เตียง - อยู่ระหว่างเสนอรายงานขอซื้อ 4. เครื่องควบคุมการให้ของเหลวเข้าสู่หลอดเลือดโดยอัตโนมัติ ชนิดให้สารละลายและให้เลือดได้ 3 ช่องทาง 8 ชุด - อยู่ระหว่างคณะกรรมการลงนามร่าง TOR - 5. เครื่องควบคุมการให้ของเหลวเข้าสู่หลอดเลือดโดยใช้กระบอกฉีดยา 2 เครื่อง 2. โครงการก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์ โรงพยาบาลตากสิน ขั้นตอนที่ 1 อยู่ระหว่างขั้นตอน...ผู้รับจ้างดำเนินงานปรับปรุงบริเวณลานจอดรถยนต์ชั้น 2 - 4 อาคารสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (อาคาร 17 ชั้น) เป็นพื้นที่ชั่วคราวส่วนผู้ป่วยนอกตรงตามข้อกำหนดแห่งสัญญาทุกประการ โดยมีเนื้องานที่ดำเนินการดังนี้ 1. งานระบบป้องกันฝุ่นตามข้อบังคับ 2. งานรั้วชั่วคราวปิดกั้นพื้นที่รอบโครงการสูง 3.00ม. 3. งานสำนักงานสนามสำหรับผู้ว่าจ้าง 4. งานรื้อถอน + ขนย้าย 5. งานห้องแสดงหุ่นจำลองของอาคารโรงพยาบาล โดยมีความก้าวหน้าร้อยละ 7 / 25/11/2562 : ผู้รับจ้างดำเนินงานปรับปรุงบริเวณลานจอดรถชั้น 2 - 4 อาคารสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช(อาคาร 17 ชั้น)เป็นพื้นที่ชั่วคราวส่วนผู้ป่วยนอกตรงตามข้อกำหนดแห่งสัญญาทุกประการ โดยมีเนื้องานที่ดำเนินการดังนี้ 1. งานรื้อถอนและขนย้าย แล้วเสร็จ 100% 2.งานผนังและผิวผนังชั้น4 แล้วเสร็จ 33% 3.งานระบบชั้น 4 แล้วเสร็จ 70% 4.งานระบบชั้น 3 แล้วเสร็จ 20% 3.โครงการเพิ่มศักยภาพหน่วยห้องปฏิบัติการสวนหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ขั้นตอนที่ 1 ผู้รับจ้างดำเนินการฯ - อยู่ระหว่างขั้นตอนการลงนามสัญญาภายในสิ้นเดือนกันยายน 2562 โดยมีระยะเวลาในการดำเนินการ 180 วัน และผู้ขายขออนุญาตเข้าดำเนินการปรับปรุงห้องปฏิบัติการเพื่อรองรับการติดตั้งเครื่องทันทีหลังจากการลงนามสัญญา / 25/11/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอนการปรับปรุงห้องบริเวณชั้น 5 อาคาร 72 พรรษา มหาราชินี (ห้องจ่ายยาในเดิม) ตั้งแต่วันที่ 4 พฤศจิกายน 2562 - 29 กุมภาพันธ์ 2563 โดยมีกำหนดส่งมอบเพื่อเอ็กซ์เรย์ตรวจสวนหัวใจและหลอดเลือด ชนิดสองระนาบ จำนวน 1 เครื่อง ในวันที่ 25 มีนาคม 2563 รับประกันคุณภาพสองปีกับบริษัท สีมา-เมดิก จำกัด 4. โครงการก่อสร้างอาคารเวชภัณฑ์กลางและหน่วยงานสนับสนุน โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ ขั้นตอนที่ 1 งานโครงสร้างชั้น ๓ – ชั้น ๗ - เตรียมงานพื้นชั้นดาดฟ้า (รอเทคอนกรีต) แล้วเสร็จ 100% - งานก่ออิฐ ชั้น 1 แล้วเสร็จ 100% - งานก่ออิฐ ชั้น 2 แล้วเสร็จ 100% - งานก่ออิฐ ชั้น 3 แล้วเสร็จ 100% - งานก่ออิฐ ชั้น 4 แล้วเสร็จ 90% - งานก่ออิฐ ชั้น 5 แล้วเสร็จ 100% - งานก่ออิฐ ชั้น 6 แล้วเสร็จ 20% - งานเดินท่อระบบสุขาภิบาล ชั้น 2 แล้วเสร็จ 100% - งานเดินท่อระบบสุขาภิบาล ชั้น 3 แล้วเสร็จ 100% - งานเดินท่อระบบสุขาภิบาล ชั้น 4 แล้วเสร็จ 100% - งานเดินท่อระบบสุขาภิบาล ชั้น 5 แล้วเสร็จ 90% - งานเดินท่อระบบสุขาภิบาล ชั้น 6 แล้วเสร็จ 70% - งานเดินท่อร้อยสายไฟ ชั้น 1 แล้วเสร็จ 100% - งานเดินท่อร้อยสายไฟ ชั้น 2 แล้วเสร็จ 100% - งานเดินท่อร้อยสายไฟ ชั้น 3 แล้วเสร็จ 100% - งานเดินท่อร้อยสายไฟ ชั้น 4 แล้วเสร็จ 50% สรุปงาน 1. งานโครงสร้าง 99.06% 2. งานสถาปัตย์ 11.02% 3. งานระบบสุขาภิบาลและดับเพิลง 56.82% 4. งานระบบไฟฟ้าและสื่อสาร 3.70% ขั้นตอนที่ 2 งานโครงสร้างเสา ชั้นหลังคา งานโครงสร้างลิฟต์งานมุงหลังคา ก่ออิฐฉาบปูนภายในภายนอกอาคาร - งานก่ออิฐ ชั้น 4 แล้วเสร็จ 100% - งานก่ออิฐ ชั้น 6 แล้วเสร็จ 80% - งานเดินท่อระบบสุขาภิบาล ชั้น 5 แล้วเสร็จ 100% - งานเดินท่อระบบสุขาภิบาล ชั้น 6 แล้วเสร็จ 100% - งานเดินท่อร้อยสายไฟ ชั้น 4 แล้วเสร็จ 70% - งานเดินท่อร้อยสายไฟ ชั้น 5 แล้วเสร็จ 50% - งานเดินท่อร้อยสายไฟ ชั้น 6 แล้วเสร็จ 30% - งานฉาบปูนภายใน ชั้น 1 แล้วเสร็จ 90% - งานฉาบปูนภายใน ชั้น 2 แล้วเสร็จ 80% - งานฉาบปูนภายใน ชั้น 3 แล้วเสร็จ 100% สรุปงาน 1. งานโครงสร้าง 99.06% 2. งานสถาปัตย์ 13.39% 3. งานระบบสุขาภิบาลและดับเพิลง 61.36% 4. งานระบบไฟฟ้าและสื่อสาร 3.70% / 16/12/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...- งานก่ออิฐ ชั้น 6 แล้วเสร็จ 98% - งานก่ออิฐ ชั้น 7 แล้วเสร็จ 98% - งานก่ออิฐ ชั้นดาดฟ้า แล้วเสร็จ 98% - งานฉาบปูนภายใน ชั้น 1 แล้วเสร็จ 90% - งานฉาบปูนภายใน ชั้น 2 แล้วเสร็จ 90% - งานฉาบปูนภายใน ชั้น 4 แล้วเสร็จ 100% - งานฉาบปูนภายใน ชั้น 6 แล้วเสร็จ 40% - งานฉาบปูนภายใน ชั้น 7 แล้วเสร็จ 60% - งานฉาบปูนภายใน ชั้นดาดฟ้า แล้วเสร็จ 95% - งานเดินท่อร้อยสายไฟ ชั้น 4 แล้วเสร็จ 100% - งานเดินท่อร้อยสายไฟ ชั้น 5 แล้วเสร็จ 90% - งานเดินท่อร้อยสายไฟ ชั้น 6 แล้วเสร็จ 80% - งานเดินท่อร้อยสายไฟ ชั้น 7 แล้วเสร็จ 60% สรุปงาน ณ วันที่ 6 ธันวาคม 2562 1. งานโครงสร้าง 99.06% 2. งานสถาปัตย์ 18.11% 3. งานระบบสุขาภิบาลและดับเพิลง 68.18% 4. งานระบบไฟฟ้าและสื่อสาร 5.55%

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-สำนักการแพทย์ได้พัฒนาศักยภาพโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิระดับสูงและระดับตติยภูมิระดับสูง ทางด้านกายภาพเพื่อให้โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ยกระดับเป็นโรงพยาบาลระดับสูงขึ้นประกอบด้วย 14 โครงการ ประกอบด้วย โครงการที่สำนักการแพทย์ดำเนินการ ได้แก่ 1 โครงการก่อตั้งหอผู้ป่วยวิกฤติระบบการหายใจ (Respiratory care unit; RCU) โรงพยาบาลกลาง งบประมาณ 9390,000.- บาท โรงพยาบาลกลางได้ดำเนินการ ดังนี้ 1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติต่อผู้บริหาร โรงพยาบาลกลาง - จัดทำโครงการโครงการก่อตั้งหอผู้ป่วยวิกฤติระบบการหายใจ (Respiratory care unit; RCU) เสนอผู้อำนวยการโรงพยาบาลกลาง ตามบันทึกที่ ฝวช 145/2561 ลงวันที่ 4 ธันวาคม 2561 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานก่อตั้งหอผู้ป่วยวิกฤตระบบการหายใจ - ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการจัดตั้งหอผู้ป่วยวิกฤติระบบการหายใจ ตามคำสั่งโรงพยาบาลที่ 1050/2562 ลงวันที่7 มิถุนายน 2562 3. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - ดำเนินการประชุมการจัดตั้งผู้ป่วยวิกฤตระบบการหายใจ ตามบันที่ กอร. /2561 เรื่องขอเชิญประชุมการประชุมการจัดตั้งผู้ป่วยวิกฤตระบบการหายใจ 4. ปรับปรุงพื้นที่และโครงสร้าง - ดำเนินการปรับพื้นที่และโครงสร้าง - ดำเนินการคืนพื้นที่หอผู้ป่วยวิกฤตระบบการหายใจ 5. ขออนุมัติจัดซื้อเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์งบประมาณปี 2563 - อยู่ระหว่างดำเนินการจัดซื้อครุภัณฑ์ทางการแพทย์ ดังนี้ 1. เครื่องช่วยหายใจชนิดควบคุมด้วยปริมาตรและความดันพร้อมระบบการปรับจ่ายอากาศตามสภาพการเปลี่ยนแปลงของปอดและระบบหย่าเครื่องอัตโนมัติในผู้ใหญ่ 4 เครื่อง อยู่ระหว่างขั้นตอน ประกาศยกเลิก วันที่ 30 ม.ค. 2563 โดยอยู่ระหว่างเจ้าหน้าที่เสนอความเห็นชอบร่างขอบเขตรายงาน 2. เครื่องตรวจและบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 80 กิโลวัตต์ และแผ่นรับภาพระบบดิจิตอล 2 ชุด แบบไม่น้อยกว่า 12 ลีด ชนิดวิเคราะห์ผลกล้ามเนื้อหัวใจตาย 1 เครื่อง อยู่ระหว่างขั้นตอน รอทำสัญญา (รออนุมัติเงินงวด) 3. เตียงผู้ป่วยระบบไฟฟ้าชั่งน้ำหนักได้พร้อมที่นอนป้องกันแผลกดทับ 4 เตียง อยู่ระหว่างขั้นตอน รอทำสัญญา (รออนุมัติเงินงวด) 4. เครื่องควบคุมการให้ของเหลวเข้าสู่หลอดเลือดโดยอัตโนมัติ ชนิดให้สารละลายและให้เลือดได้ 3 ช่องทาง 8 ชุด อยู่ระหว่างขั้นตอน คณะกรรมการทบทวนผลการพิจารณาใหม่ 5. เครื่องควบคุมการให้ของเหลวเข้าสู่หลอดเลือดโดยใช้กระบอกฉีดยา 2 เครื่อง อยู่ระหว่างขั้นตอน ตรวจร่างสัญญา (รออนุมัติเงินงวด) - คิดเป็นร้อยละ 40 2 โครงการก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์ โรงพยาบาลตากสินงบประมาณ 75,947,000.-บาท(ลงทุน) (รพต.) โรงพยาบาลตากสินได้ดำเนินการ ดังนี้ 1. ผู้รับจ้างดำเนินงานปรับปรุงบริเวณลานจอดรถยนต์ชั้น 2 - 4 อาคารสมเด็จพระเจ้า ตากสินมหาราช (อาคาร 17 ชั้น) เป็นพื้นที่ชั่วคราว ส่วนผู้ป่วยนอกตรงตามข้อกำหนดแห่งสัญญาทุกประการ - ผู้รับจ้างดำเนินงานปรับปรุงบริเวณ ลานจอดรถยนต์ชั้น 2 – 4 อาคารสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (อาคาร 17 ชั้น) เป็นพื้นที่ชั่วคราวส่วนผู้ป่วยนอกตรงตามข้อกำหนดแห่งสัญญาทุกประการ โดยมีเนื้องานที่ดำเนินการ ดังนี้ 1. งานรื้อถอน + ขนย้าย แล้วเสร็จ 100% 2. งานโครงสร้างชั้น 4 ทำได้ 100% 3. งานโครงสร้างชั้น 3 ทำได้ 100% 4.งานโครงสร้างชั้น 2 ทำได้ 100% 5. งานสถาปัตยกรรม ชั้น 4 ทำได้ 95% 6. งานสถาปัตยกรรม ชั้น 3 ทำได้ 85% 7. งานสถาปัตยกรรม ชั้น 2 ทำได้ 75 8. งานระบบชั้น 4 ทำได้ 95% 9. งานระบบชั้น 3 ทำได้ 85% 10. งานระบบชั้น 2 ทำได้ 80% 11. งานระบบบำบัดน้ำเสีย ทำได้ 95% โดยมีความก้าวหน้าของโครงการร้อยละ 79.18 3 โครงการเพิ่มศักยภาพหน่วยห้องปฏิบัติการสวนหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ งบประมาณ 27,000,000.- บาท (ลงทุน) (รพจ.) 1. ผู้รับจ้างดำเนินการฯ - ดำเนินการลงนามสัญญาภายในสิ้นเดือนกันยายน 2562 โดยมีระยะเวลาในการดำเนินการ 180 วัน และผู้ขายขออนุญาตเข้าดำเนินการปรับปรุงห้องปฏิบัติการเพื่อรองรับการติดตั้งเครื่องทันทีหลังจากการลงนามสัญญา - ปรับปรุงห้องบริเวณชั้น 5 อาคาร 72 พรรษา มหาราชินี (ห้องจ่ายยาในเดิม) ตั้งแต่วันที่ 4 พฤศจิกายน 2562 - 29 กุมภาพันธ์ 2563 โดยมีกำหนดส่งมอบเพื่อเอ็กซ์เรย์ตรวจสวนหัวใจและหลอดเลือด ชนิดสองระนาบ จำนวน 1 เครื่อง ในวันที่ 25 มีนาคม 2563 รับประกันคุณภาพสองปีกับบริษัท สีมา-เมดิก จำกัด - อยู่ระหว่างปรับปรุงสถานที่ 4 โครงการก่อสร้างอาคารเวชภัณฑ์กลางและหน่วยงานสนับสนุน โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ งบประมาณ 79,013,000.- บาท (ลงทุน) (รพร.) 1. งานโครงสร้างชั้น ๓ – ชั้น ๗ - เตรียมงานพื้นชั้นดาดฟ้า (รอเทคอนกรีต) แล้วเสร็จ 100% - งานเทโครงสร้างทางเชื่อม แล้วเสร็จ 100% 2. งานโครงสร้างเสา ชั้นหลังคา งานโครงสร้างลิฟต์งานมุงหลังคา ก่ออิฐฉาบปูนภายในภายนอกอาคาร งานโครงสร้างเสา ชั้นหลังคางาน โครงสร้างลิฟต์งานมุงหลังคา - งานขึ้นโครงฝ้าเพดาน ชั้น 1 แล้วเสร็จ 50% - งานขึ้นโครงฝ้าเพดาน ชั้น 2 แล้วเสร็จ 30% - งานขึ้นโครงฝ้าเพดาน ชั้น 3 แล้วเสร็จ 100% - งานขึ้นโครงฝ้าเพดาน ชั้น 4 แล้วเสร็จ 100% - งานขึ้นโครงฝ้าเพดาน ชั้น 5 แล้วเสร็จ 100% - งานขึ้นโครงฝ้าเพดาน ชั้น 6 แล้วเสร็จ 100% - งานปิดแผ่นฝ้าเพดาน ชั้น 4 แล้วเสร็จ งานก่ออิฐฉาบปูนภายใน ภายนอกอาคาร - งานปูกระเบื้องชั้น 1 แล้วเสร็จ 80% - งานปูกระเบื้องชั้น 2 แล้วเสร็จ 90% - งานปูกระเบื้องชั้น 3 แล้วเสร็จ 100% - งานปูกระเบื้องชั้น 4 แล้วเสร็จ 90% - งานปูกระเบื้องชั้น 7 แล้วเสร็จ 100% - งานปูกระเบื้องบันได แล้วเสร็จ 90% -งานก่ออิฐ ชั้นดาดฟ้า แล้วเสร็จ 98% - งานฉาบปูนภายใน ชั้น ดาดฟ้า แล้วเสร็จ 98% 3. งานเดินระบบสุขาภิบาล ดับเพลิงและป้องกันอัคคีภัย ระบบไฟฟ้า และท่อต่าง ๆ ระบบสื่อสาร -งานระบบสุขาภิบาลและดับเพลิง 77.27% -งานระบบไฟฟ้าและสื่อสาร 38.88% 4. งานติดตั้งบานประตู-หน้าต่าง ป้ายสัญลักษณ์ติดตั้งอุปกรณ์เบ็ดเตล็ดต่าง ๆ - งานติดตั้งวงกบประตู-หน้าต่าง อลูมิเนียม ชั้น 1 แล้วเสร็จ 90% - งานติดตั้งวงกบประตู-หน้าต่าง อลูมิเนียม ชั้น 2 แล้วเสร็จ 90% - งานติดตั้งวงกบประตู-หน้าต่าง อลูมิเนียม ชั้น 3 แล้วเสร็จ 90% - งานติดตั้งวงกบประตู-หน้าต่าง อลูมิเนียม ชั้น 5 แล้วเสร็จ 70% - งานติดตั้งวงกบประตู-หน้าต่าง อลูมิเนียม ชั้น 6 แล้วเสร็จ 70% - งานติดตั้งราวกันตกระเบียงทางเดิน ชั้น 4 แล้วเสร็จ 100% 5. โครงการเปิดให้บริการทางการแพทย์โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ขนาด 100 เตียง งบประมาณ 76,826,900.- บาท (ลงทุน) (รพข.) 1. ดำเนินการจัดซื้อครุภัณฑ์อยู่ระหว่างจัดทำ TOR ใกล้แล้วทุกรายการ เริ่มดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างและเบิกจ่ายเงินแล้ว 2. อัตรากำลังได้ผ่านการพิจารณาจาก อ.ก.ก.ข้าราชการสามัญ เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2563 2. โครงการที่โอนงบประมาณไปยังสำนักงานโยธา ได้แก่ 1. โครงการก่อสร้างศูนย์เวชศาสตร์การกีฬาและเวชศาสตร์ฟื้นฟู หอพักแพทย์ หอพักพยาบาล และอาคารจอดรถยนต์ โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ 2. โครงการก่อสร้างอาคารโภชนาการ เวชภัณฑ์กลาง ซักฟอก พัสดุ ศูนย์ผู้สูงอายุและศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่ นมแม่ โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ 3. โครงการก่อสร้างอาคารศูนย์สุขภาพ โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ งบประมาณ 50,000,000.-บาท 4. โครงการก่อสร้างอาคารหอผู้ป่วยโรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร งบประมาณ 1,000,000.- บาท (รพล.) 5. โครงการก่อสร้างอาคารจอดรถยนต์ 10 ชั้น โรงพยาบาลสิรินธร งบประมาณ 159,000,000.บาท (รพส.) 6. โครงการก่อสร้างรพ.คลองสามวา (อาคาร รพ. สูง 10 ชั้น อาคารจอดรถยนต์ อาคารหอพักพยาบาล อาคารหอพักแพทย์)งบประมาณ 960,000,000.- บาท (รพค.) 3.โครงการที่โอนงบประมาณไปยังสำนักการระบายน้ำ ได้แก่ 1. โครงการก่อสร้างเขื่อนกั้นน้ำเพื่อรองรับการพัฒนาพื้นที่โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน งบประมาณ 7,000,000.- บาท 4. โครงการที่ดำเนินการแล้วเสร็จในปีงบประมาณ 2562 ได้แก่ 1. โครงการเพิ่มจำนวนโรงพยาบาล (โรงพยาบาลบางนา) (โครงการโครงการเปิดให้บริการ OPD ชั่วคราวโรงพยาบาลบางนา) 2. โครงการเพิ่มจำนวนโรงพยาบาล (โรงพยาบาลคลองสามวา)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

--สำนักการแพทย์ได้พัฒนาศักยภาพโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิระดับสูงและระดับตติยภูมิระดับสูง ทางด้านกายภาพเพื่อให้โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ยกระดับเป็นโรงพยาบาลระดับสูงขึ้นประกอบด้วย 14 โครงการ ประกอบด้วย โครงการที่สำนักการแพทย์ดำเนินการ ได้แก่ 1 โครงการก่อตั้งหอผู้ป่วยวิกฤติระบบการหายใจ (Respiratory care unit; RCU) โรงพยาบาลกลาง งบประมาณ 9390,000.- บาท โรงพยาบาลกลางได้ดำเนินการ ดังนี้ 1.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติต่อผู้บริหาร โรงพยาบาลกลาง -จัดทำโครงการโครงการก่อตั้งหอผู้ป่วยวิกฤติระบบการหายใจ (Respiratory care unit; RCU) เสนอผู้อำนวยการโรงพยาบาลกลาง ตามบันทึกที่ ฝวช 145/2561 ลงวันที่ 4 ธันวาคม 2561 2.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานก่อตั้งหอผู้ป่วยวิกฤตระบบการหายใจ -ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการจัดตั้งหอผู้ป่วยวิกฤติระบบการหายใจ ตามคำสั่งโรงพยาบาลที่ 1050/2562 ลงวันที่7 มิถุนายน 2562 3.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง -ดำเนินการประชุมการจัดตั้งผู้ป่วยวิกฤตระบบการหายใจ ตามบันที่ กอร. /2561 เรื่องขอเชิญประชุมการประชุมการจัดตั้งผู้ป่วยวิกฤตระบบการหายใจ 4.ปรับปรุงพื้นที่และโครงสร้าง - ดำเนินการปรับพื้นที่และโครงสร้าง - ดำเนินการคืนพื้นที่หอผู้ป่วยวิกฤตระบบการหายใจ 5.ขออนุมัติจัดซื้อเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์งบประมาณปี 2563 -อยู่ระหว่างดำเนินการจัดซื้อครุภัณฑ์ทางการแพทย์ ดังนี้ 1.เครื่องช่วยหายใจชนิดควบคุมด้วยปริมาตรและความดันพร้อมระบบการปรับจ่ายอากาศตามสภาพการเปลี่ยนแปลงของปอดและระบบหย่าเครื่องอัตโนมัติในผู้ใหญ่ 4 เครื่อง อยู่ระหว่างขั้นตอน รอส่งเครื่องมือ 4 เครื่อง ได้รับเครื่องมือแล้วจำนวน 2 เครื่อง 2.เครื่องตรวจและบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 80 กิโลวัตต์ และแผ่นรับภาพระบบดิจิตอล 2 ชุด แบบไม่น้อยกว่า 12 ลีด ชนิดวิเคราะห์ผลกล้ามเนื้อหัวใจตาย 1 เครื่อง ได้รับเครื่องมือเรียบร้อยแล้วเมื่อวันที่ 3 มิ.ย. 2563 3.เตียงผู้ป่วยระบบไฟฟ้าชั่งน้ำหนักได้พร้อมที่นอนป้องกันแผลกดทับ 4 เตียง อยู่ระหว่างต่อรองราคาโดยมูลนิธิโรงพยาบาลกลาง “กองทุน RCU” 4.เครื่องควบคุมการให้ของเหลวเข้าสู่หลอดเลือดโดยอัตโนมัติ ชนิดให้สารละลายและให้เลือดได้ 3 ช่องทาง 8 ชุด อยู่ระหว่างขั้นตอนการอนุมัติเงินงวด 5.เครื่องควบคุมการให้ของเหลวเข้าสู่หลอดเลือดโดยใช้กระบอกฉีดยา 2 เครื่อง อยู่ระหว่างขั้นตอนอนุมัติเงินงวด 6.รถฉุกเฉินช่วยชีวิต (Emergency) อยู่ในระหว่างคณะกรรมการกำหนดราคา 7.ปรับปรุงระบบภายในและระบบระบายอากาศ ในหอผู้ป่วย RCU เป็น ห้องแรงดันลบเพิ่มอีกจำนวน 4 เตียง และปรับปรุงระบบน้ำทิ้งสำหรับการทำ RRT คาดว่าจะแล้วเสร็จและส่งมอบงานภายในวันที่ 18 มิ.ย. 2563 6. ขออนุมัติจัดซื้ออุปกรณ์สำนักงานและอุปกรณ์อื่นๆ แล้วเสร็จทั้งหมด 39 รายการ 7. กำหนดโยบายและขั้นตอนการรับและจำหน่ายผู้ป่วย - การกำหนดเกณฑ์การรับผู้ป่วยเข้ารักษา ดำเนินการแล้วเสร็จภายในเดือนพฤศจิกายน 2562 โดยคาดว่าจะเปิดรับผู้ป่วยในเดือนพฤษภาคม 2563 8. จัดหาบุคลากรประจำหอผู้ป่วย 1 .บุคลากรที่มอบหมายปฏิบัติงานในหน่วยงานหอผู้ป่วย RCU ฝ่ายการพยาบาลมอบหมายและจัดสรรให้เพียงพอและพัฒนาสมรรถนะ โดยการฝึกปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยหนัก 2.ลูกจ้าง (คนงาน) จำนวน 3 คน อยู่ในระหว่างอนุมัติจัดจ้างตำแหน่งจากสำนักการแพทย์ 3.พนักงานธุรการประจำหอผู้ป่วย ตำแหน่งการจ้างประกันสังคม อยู่ระหว่างอนุมัติจ้างเสนอต่อผู้บริหารโรงพยาบาล 2 โครงการก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์ โรงพยาบาลตากสินงบประมาณ 75,947,000.-บาท(ลงทุน) (รพต.) โรงพยาบาลตากสินได้ดำเนินการ ดังนี้ 1.ผู้รับจ้างดำเนินงานปรับปรุงบริเวณลานจอดรถยนต์ชั้น 2 - 4 อาคารสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (อาคาร 17 ชั้น) เป็นพื้นที่ชั่วคราว ส่วนผู้ป่วยนอกตรงตามข้อกำหนดแห่งสัญญาทุกประการ - ผู้รับจ้างดำเนินงานปรับปรุงบริเวณ ลานจอดรถยนต์ชั้น 2 – 4 อาคารสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (อาคาร 17 ชั้น) เป็นพื้นที่ชั่วคราวส่วนผู้ป่วยนอก ดำเนินการแล้วเสร็จตรงตามข้อกำหนดแห่งสัญญาทุกประการ คิดเป็นร้อยละ 100 3 โครงการเพิ่มศักยภาพหน่วยห้องปฏิบัติการสวนหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ งบประมาณ 27,000,000.- บาท (ลงทุน) (รพจ.) 1. ผู้รับจ้างดำเนินการฯ - ดำเนินการลงนามสัญญาภายในสิ้นเดือนกันยายน 2562 โดยมีระยะเวลาในการดำเนินการ 180 วัน และผู้ขายขออนุญาตเข้าดำเนินการปรับปรุงห้องปฏิบัติการเพื่อรองรับการติดตั้งเครื่องทันทีหลังจากการลงนามสัญญา - ปรับปรุงห้องบริเวณชั้น 5 อาคาร 72 พรรษา มหาราชินี (ห้องจ่ายยาในเดิม) ตั้งแต่วันที่ 4 พฤศจิกายน 2562 - 29 กุมภาพันธ์ 2563 โดยมีกำหนดส่งมอบเพื่อเอ็กซ์เรย์ตรวจสวนหัวใจและหลอดเลือด ชนิดสองระนาบ จำนวน 1 เครื่อง ในวันที่ 25 มีนาคม 2563 รับประกันคุณภาพสองปีกับบริษัท สีมา-เมดิก จำกัด - อยู่ระหว่างปรับปรุงสถานที่ 2. การเตรียมการด้านพัสดุ และอุปกรณ์ต่างๆ - อยู่ระหว่างขั้นตอนการปรับปรุงสถานที่ และติดตั้งเครื่องเอกซเรย์ พร้อมระบบ IT ตรวจสวนหัวใจและหลอดเลือดชนิดสองระนาบ 3. การเตรียมการด้านสารสนเทศ - มีการติดตั้งจุดแลน เดินสายสัญญาณระบบของ รพ.ค่ะ 4 โครงการก่อสร้างอาคารเวชภัณฑ์กลางและหน่วยงานสนับสนุน โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ งบประมาณ 79,013,000.- บาท (ลงทุน) (รพร.) 1. งานโครงสร้างชั้น ๓ – ชั้น ๗ - เตรียมงานพื้นชั้นดาดฟ้า (รอเทคอนกรีต) แล้วเสร็จ 100% - งานเทโครงสร้างทางเชื่อม แล้วเสร็จ 100% 2. งานโครงสร้างเสา ชั้นหลังคา งานโครงสร้างลิฟต์งานมุงหลังคา ก่ออิฐฉาบปูนภายในภายนอกอาคาร งานโครงสร้างเสา ชั้นหลังคางาน โครงสร้างลิฟต์งานมุงหลังคา - งานขึ้นโครง+ยิงฝ้าเพดาน ชั้น 2 แล้วเสร็จ 100% - งานติดตั้งวงกบประตู-หน้าต่าง อลูมิเนียม ชั้น 1 - ชั้น 7 แล้วเสร็จ 95% 3. งานเดินระบบสุขาภิบาล ดับเพลิงและป้องกันอัคคีภัย ระบบไฟฟ้า และท่อต่าง ๆ ระบบสื่อสาร -งานระบบสุขาภิบาลและดับเพิลง 98.00% -งานระบบไฟฟ้าและสื่อสาร 88.88% 4. งานติดตั้งบานประตู-หน้าต่าง ป้ายสัญลักษณ์ติดตั้งอุปกรณ์เบ็ดเตล็ดต่าง ๆ - งานติดตั้งวงกบประตู-หน้าต่าง อลูมิเนียม ชั้น 1 - ชั้น 7 แล้วเสร็จ 95% 5. งานระบบลิฟต์ งานตกแต่งภายในอาคาร งานภูมิทัศน์ งานครุภัณฑ์ลอยตัว งานติดตั้งเครื่องปรับอากาศ -งานติดตั้งลิฟท์ แล้วเสร็จ 75% - งานขึ้นโครงผนังกระจกหน้าโถงลิฟต์ชั้น 3 - ชั้น 7 แล้วเสร็จ 90% งานติดตั้งเฟอร์นิเจอร์ - งานติดตั้งเฟอร์นิเจอร์ ชั้น 3 แล้วเสร็จ 70% - งานติดตั้งเฟอร์นิเจอร์ ชั้น 4 แล้วเสร็จ 40% - งานติดตั้งเฟอร์นิเจอร์ ชั้น 5 แล้วเสร็จ 20% - งานติดตั้งเฟอร์นิเจอร์ ชั้น 6 แล้วเสร็จ 20% งานทาสีรองพื้นภายนอก-งานทาสีจริง - งานทาสีรองพื้นภายนอก แล้วเสร็จ 100% - งานทาสีจริงภายนอก แล้วเสร็จ 100% - งานทาสีจริงภายในชั้น 2 แล้วเสร็จ 90% - งานทาสีจริงภายในชั้น 3 - ชั้น 7 แล้วเสร็จ 100% - งานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ 95.00% 5. โครงการเปิดให้บริการทางการแพทย์โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ขนาด 100 เตียง งบประมาณ 76,826,900.- บาท (ลงทุน) (รพข.) 1. จัดทำแผนงานเพื่อขออนุมัติจากผู้บริหาร ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการเพื่อมอบหมายงาน ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว 3. จัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์เครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์เตรียมความพร้อมด้านบุคลากรและเอกสารต่าง - จัดซื้อครุภัณฑ์ในปี 2563 ทั้งหมด 101 รายการ กรุงเทพมหานครได้ตัดงบประมาณ 7 รายการ คงเหลืองบประมาณในการจัดซื้ครุภัณฑ์ 94 รายการ ได้ดำเนินการไปแล้วทั้งหมด 77 รายการ - อัตรากำลังได้ผ่านการพิจารณาของ ก.ก. เรียบร้อยแล้ว 2. โครงการที่โอนงบประมาณไปยังสำนักงานโยธา ได้แก่ 1. โครงการก่อสร้างศูนย์เวชศาสตร์การกีฬาและเวชศาสตร์ฟื้นฟู หอพักแพทย์ หอพักพยาบาล และอาคารจอดรถยนต์ โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ 2. โครงการก่อสร้างอาคารโภชนาการ เวชภัณฑ์กลาง ซักฟอก พัสดุ ศูนย์ผู้สูงอายุและศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่ นมแม่ โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ 3. โครงการก่อสร้างอาคารศูนย์สุขภาพ โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ งบประมาณ 50,000,000.-บาท 4. โครงการก่อสร้างอาคารหอผู้ป่วยโรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร งบประมาณ 1,000,000.- บาท (รพล.) 5. โครงการก่อสร้างอาคารจอดรถยนต์ 10 ชั้น โรงพยาบาลสิรินธร งบประมาณ 159,000,000.บาท (รพส.) 6. โครงการก่อสร้างรพ.คลองสามวา (อาคาร รพ. สูง 10 ชั้น อาคารจอดรถยนต์ อาคารหอพักพยาบาล อาคารหอพักแพทย์)งบประมาณ 960,000,000.- บาท (รพค.) 3.โครงการที่โอนงบประมาณไปยังสำนักการระบายน้ำ ได้แก่ 1. โครงการก่อสร้างเขื่อนกั้นน้ำเพื่อรองรับการพัฒนาพื้นที่โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน งบประมาณ 7,000,000.- บาท 4. โครงการที่ดำเนินการแล้วเสร็จในปีงบประมาณ 2562 ได้แก่ 1. โครงการเพิ่มจำนวนโรงพยาบาล (โรงพยาบาลบางนา) (โครงการโครงการเปิดให้บริการ OPD ชั่วคราวโรงพยาบาลบางนา) 2. โครงการเพิ่มจำนวนโรงพยาบาล (โรงพยาบาลคลองสามวา) สำนักการแพทย์ดำเนินการตามขั้นตอนการดำเนินงานจำนวน 1 โครงการ จากทั้งหมด 5 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 20

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-สำนักการแพทย์ได้มีการพัฒนาศักยภาพโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิระดับสูง และระดับ ตติยภูมิระดับสูง ทางด้านกายภาพ เพื่อยกระดับโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ให้เป็นโรงพยาบาลระดับสูงขึ้น และให้บริการประชาชนในพื้นที่แบบครบวงจรและมีคุณภาพเทียบได้กับมาตรฐานสากล ดังนี้ 1. โครงการก่อตั้งหอผู้ป่วยวิกฤติระบบ การหายใจ (Respiratory care unit; RCU) โรงพยาบาลกลาง งบประมาณ 9390,000.- บาท ซึ่งมีการดำเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติต่อผู้บริหาร โรงพยาบาลกลาง วันที่ 31 มีนาคม 2563 ขั้นตอนที่ 2 แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานก่อตั้งหอผู้ป่วยวิกฤตระบบการหายใจ เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2562 ขั้นตอนที่ 3 ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แล้วเสร็จเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2562 ขั้นตอนที่ 4 ปรับปรุงพื้นที่และโครงสร้างแล้วเสร็จพร้อมส่งมอบพื้นที่ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2562 ขั้นตอนที่ 5 ขออนุมัติจัดซื้อเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์งบประมาณปี 2563โดยได้รับอุปกรณ์ทางการแพทย์แล้ว จำนวน 13 รายการ และอยู่ระหว่างการดำเนินการบางส่วน ขั้นตอนที่ 6 ขออนุมัติจัดซื้ออุปกรณ์สำนักงานและอุปกรณ์อื่นๆ โดยได้รับอุปกรณ์สำนักงานแล้ว จำนวน 36 รายการ และอยู่ระหว่างการดำเนินการบางส่วน ขั้นตอนที่ 7 กำหนดโยบายและขั้นตอนการรับและจำหน่ายผู้ป่วย การกำหนดเกณฑ์การรับผู้ป่วยเข้ารักษา ดำเนินการแล้วเสร็จเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2562 แต่เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา Covid 19 จึงเปิดบริการผู้ป่วย Detectable Covid-19 ในห้อง AIIR จำนวน 2 ห้อง เริ่มเปิดระบบงานตั้งแต่วันที่ 9 มีนาคม 2563 ถึงปัจจุบัน และ PCT อายุรกรรม จัดประชุมชี้แจงและกำหนดแนวทางการรับผู้ป่วย RCU เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2563 ขั้นตอนที่ 8 จัดหาบุคลากรประจำหอผู้ป่วย ได้มีการจัดสรรบุคลากรเพื่อปฏิบัติหน้าที่หอผู้ป่วยวิกฤติระบบการหายใจ ซึ่งบางตำแหน่งอยู่ระหว่างการพิจารณาอนุมัติจ้าง เริ่มเปิดให้บริการ RCU จำนวน 4 เตียง ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2563 ขั้นตอนที่ 8 ประเมินผลโครงการเสนอ ต่อผู้บริหาร ได้มีการรายงานผลของโครงการทั้งทางด้านการจัดซื้อครุภัณฑ์และความก้าวหน้าของโครงการให้ผู้บริหารทราบในการประชุมคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลกลางอย่างต่อเนื่อง ผลการดำเนินงาน สามารถดำเนินการตามขั้นตอนและกรอบระยะเวลาที่กำหนดในปี 2563 ได้ 9 ขั้นตอน จาก 9 ขั้นตอน คิดเป็น ร้อยละ 100 2. โครงการก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์โรงพยาบาลตากสิน งบประมาณ 75,947,000.-บาท ซึ่งมี การดำเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ผู้รับจ้างดำเนินงานปรับปรุงบริเวณลานจอดรถยนต์ชั้น 2 - 4 อาคารสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (อาคาร 17 ชั้น) เป็นพื้นที่ชั่วคราว ส่วนผู้ป่วยนอกตรงตามข้อกำหนดแห่งสัญญาทุกประการ ซึ่งผู้รับจ้างดำเนินงานปรับปรุงบริเวณ ลานจอดรถยนต์ชั้น 2 – 4 อาคารสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (อาคาร 17 ชั้น) เป็นพื้นที่ชั่วคราวส่วนผู้ป่วยนอก ดำเนินการแล้วเสร็จตรงตามข้อกำหนดแห่งสัญญา ทุกประการ ผลการดำเนินงาน สามารถดำเนินการตามขั้นตอนและกรอบระยะเวลาที่กำหนดในปี 2563 ครบทั้ง 1 ขั้นตอน คิดเป็นร้อยละ 100 3. โครงการเพิ่มศักยภาพหน่วยห้องปฏิบัติการสวนหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ งบประมาณ 27,000,000.- บาท ซึ่งมี การดำเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ผู้รับจ้างดำเนินการฯ ได้มี ลงนามสัญญาเมื่อวันที่ 27 กันยายน 2562 โดยมีระยะเวลาในการดำเนินการ 180 วัน และมีการปรับปรุงห้องบริเวณชั้น 5 อาคาร 72 พรรษา มหาราชินี ขั้นตอนที่ 2 การเตรียมการด้านพัสดุ และอุปกรณ์ต่างๆ มีการรับมอบพัสดุ ตรวจรับเครื่อง PHILIPS i6jo Allura X-Per FD 10/10เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2563 และได้รับเครื่องเอกซ์เรย์ตรวจสวนหัวใจและหลอดเลือด ชนิดสองระนาบ จำนวน 1 เครื่อง เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2563 รวมทั้งมีการติดตั้งระบบปรับอากาศ ภายในห้องปฏิบัติการสวนหัวใจ โดยบริษัท Waturas green และผ่านการตรวจมาตรฐานการควบคุมรังสี โดยกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ขั้นตอนที่ 3 การเตรียมการด้านสารสนเทศ ได้ดำเนินการจัดทำระบบสารสนเทศแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2563 เพื่อรองรับการใช้งาน ขณะนี้มีสภาพพร้อมใช้งาน ขั้นตอนที่ 4 เปิดให้บริการ ได้มีการเปิดให้บริการ Case แรก เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2563 ขั้นตอนที่ 5 สรุปผลการดำเนินงานและนำเสนอต่อผู้บริหาร ได้มีการรายงานความก้าวหน้าของโครงการให้ผู้บริหารทราบในการประชุมคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง ผลการดำเนินงาน สามารถดำเนินการตามขั้นตอนและกรอบระยะเวลาที่กำหนดในปี 2563 ได้ 5 ขั้นตอน จาก 5 ขั้นตอน คิดเป็น ร้อยละ 100 4. โครงการก่อสร้างอาคารเวชภัณฑ์กลางและหน่วยงานสนับสนุน โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ งบประมาณ 79,013,000.- บาท ซึ่งมี การดำเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 งานโครงสร้างชั้น ๓ – ชั้น ๗ ผู้รับจ้างดำเนินงานทั้งหมดแล้วเสร็จ ขั้นตอนที่ 2 งานโครงสร้างเสา ชั้นหลังคา งานโครงสร้างลิฟต์งานมุงหลังคา ก่ออิฐฉาบปูนภายในภายนอกอาคาร ผู้รับจ้างดำเนินงานทั้งหมดแล้วเสร็จ ขั้นตอนที่ 3 งานเดินระบบสุขาภิบาล ดับเพลิงและป้องกันอัคคีภัย ระบบไฟฟ้าและท่อต่าง ๆ ระบบสื่อสาร ผู้รับจ้างดำเนินงานทั้งหมดแล้วเสร็จ ขั้นตอนที่ 4 งานติดตั้งบานประตู-หน้าต่าง ป้ายสัญลักษณ์ ติดตั้งอุปกรณ์เบ็ดเตล็ดต่างๆ ผู้รับจ้างดำเนินงานทั้งหมดแล้วเสร็จ ขั้นตอนที่ 5 งานระบบลิฟต์ งานตกแต่งภายในอาคาร งานภูมิทัศน์ งานครุภัณฑ์ลอยตัว งานติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ผู้รับจ้างดำเนินงานทั้งหมดแล้วเสร็จ และส่งมอบงาน ตามหนังสือที่ K225.077 ลงวันที่ 14 สิงหาคม 2563 ผลการดำเนินงาน สามารถดำเนินการตามขั้นตอนและกรอบระยะเวลาที่กำหนดในปี 2563 ครบทั้ง 5 ขั้นตอน คิดเป็นร้อยละ 100 5. โครงการเปิดให้บริการทางการแพทย์โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ขนาด 100 เตียง งบประมาณ 76,826,900.- บาท ซึ่งมีการดำเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 จัดทำแผนงานเพื่อขออนุมัติจากผู้บริหาร ได้มีการดำเนินการเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2562 ขั้นตอนที่ 2 แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อมอบหมายให้ข้าราชการปฏิบัติหน้าที่เปิดให้บริการทางการแพทย์ของโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ตามคำสั่งโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียนที่ 155/2563 ลงวันที่ 25 มิถุนายน 2563 ขั้นตอนที่ 3 จัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์เครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์เตรียมความพร้อมด้านบุคลากรและเอกสาร ต่าง ๆ - การจัดก่อหนี้ครุภัณฑ์ งบประมาณที่ได้รับประจำปี 2563 จำนวนครุภัณฑ์ 101 รายการวันที่ 22 มิถุนายน 2563 สำนักงบประมาณตัดงบประมาณครุภัณฑ์ 5 รายการ คงเหลือ 96 รายการ - ดำเนินการจัดก่อหนี้ครุภัณฑ์ จำนวน 84 รายการ คงเหลือ อีก 12 รายการ ขั้นตอนที่ 4 จัดทำแผนเปิดบริการในระยะแรกและเตรียมความพร้อมในการขยายภารกิจเมื่อโครงการก่อสร้างโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียนแล้วเสร็จ ได้มีการประชุมจัดทำแผนการเปิดให้บริการทางการแพทย์ เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2563 ขั้นตอนที่ 5 ดำเนินการเปิดให้บริการทางการแพทย์และสาธารณสุขโรงพยาบาลผู้สูงอายุขนาด 100 เตียง - ดำเนินการเปิดให้บริการ ระยะแรก 30 เตียง เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2563 มีผู้ป่วยเข้ารับการพักรักษาตัวในหอผู้ป่วย ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม – วันที่ 16 กันยายน 2563 จำนวน 51 ราย - ดำเนินการเปิดให้บริการทางการแพทย์ของโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน งานอุบัติเหตุฉุกเฉิน ตลอด 24 ชั่วโมง เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2563 ขั้นตอนที่ 6 กำกับติดตามความคืบหน้าและประเมินผลพร้อมรายงานผู้บริหาร ได้มีการกำกับติดตามความคืบหน้าและประเมินผลพร้อมรายงานผู้บริหารอย่างต่อเนื่อง ขั้นตอนที่ 7 สรุปผลการดำเนินโครงการและนำเสนอต่อผู้บริหาร โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ได้มีการสรุปผลการดำเนินโครงการและนำเสนอต่อผู้บริหาร ผลการดำเนินงาน สามารถดำเนินการตามขั้นตอนและกรอบระยะเวลาที่กำหนดในปี 2563 ได้ 7 ขั้นตอน จาก 7 ขั้นตอน คิดเป็นร้อยละ 100 6. โครงการขยายศักยภาพระบบสารสนเทศของโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียนเป็น Smart digital hospital โรงพยาบาลทุติยภูมิระดับสูงและศูนย์เวชศาสตร์ผู้สูงอายุ ขนาด 100 เตียง โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน งบประมาณ ๒๖,๑๗๒,๖๒๑.- บาท ซึ่งมี การดำเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ได้จัดทำโครงการขยายศักยภาพระบบสารสนเทศของโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียนเป็น Smart digital hospital โรงพยาบาลทุติยภูมิระดับสูงและศูนย์เวชศาสตร์ ผู้สูงอายุขนาด 100 เตียง ระหว่างเดือนมีนาคม – เดือนมีนาคม ขั้นตอนที่ 2 นำเสนอโครงการฯเพื่อรับการพิจารณาจากคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2563 ได้รับงบประมาณรายจ่ายพิเศษจ่ายจาก เงินสะสมจ่ายขาด รายจ่ายพิเศษ ด้านการสาธารณสุข งานรักษาพยาบาลโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน งบประมาณ 26,172,621 บาท หนังสือเลขที่ กท 1902/00427 ลงวันที่ 10 มิถุนายน 2563 ขั้นตอนที่ 3 ประสานงานขอรายชื่อคณะกรรมการและเชิญหารือเกี่ยวกับโครงการฯ ขั้นตอนที่ 4 แต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดร่างขอบเขตงาน (TOR) ตามคำสั่งโรงพยาบาลผู้สูงอายุ- บางขุนเทียนที่ 260/2563 ลงวันที่ 2 สิงหาคม 2563 ขั้นตอนที่ 5 คณะกรรมการ TOR กำหนดร่างขอบเขตงานโครงการฯ คณะกรรมการได้มีการประชุมเพื่อพิจารณากำหนดขอบเขตของงานหรือรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุ (TOR) เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2563 ขั้นตอนที่ 6 คณะกรรมการ TOR กำหนดร่างขอบเขตงานโครงการฯ แล้วเสร็จ โดยกำหนดการแล้วเสร็จ ภายในวันที่ 30 กันยายน 2563 ผลการดำเนินงาน สามารถดำเนินการตามขั้นตอนและกรอบระยะเวลาที่กำหนดในปี 2563 ได้ 6 ขั้นตอน จาก 6 ขั้นตอน คิดเป็นร้อยละ 100 โครงการที่สามารถดำเนินการตามขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการในปี 2563 จำนวน 6 โครงการ จากโครงการทั้งหมด จำนวน 6 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(26) ความสำเร็จในการส่งต่อผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาลกับศูนย์บริการสาธารณสุข
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๓ คนกรุงเทพฯทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เท่าเทียม มีคุณภาพ แ
ความสำเร็จในการส่งต่อผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาลกับศูนย์บริการสาธารณสุข

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :95.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างเก็บข้อมูลจำนวนผู้ป่วยที่ส่งต่อสำเร็จจากศูนย์บริการสาธารณสุขมารับบริการรักษาใน รพ.สังกัดสำนักการแพทย์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-. โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทั้ง 8 แห่ง ได้ส่งเสริมการเข้าถึงระบบบริการในการดูแลรักษาสุขภาพของประชาชนในกรุงเทพมหานคร โดยมีการพัฒนาระบบส่งต่อระหว่างศูนย์บริการสาธารณสุขกับโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงระบบบริการ เป็นการสร้างมาตรฐานบริการสาธารณสุขในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีการประชุมปรึกษาหารือแนวทางในการส่งต่อผู้ป่วย ตลอดจนปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน และร่วมกันพัฒนาแนวทางในการส่งต่อเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน โดยมีผลการดำเนินงาน ดังนี้ - ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 99,172 ราย - โรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 99,172 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-สาธารณสุขในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีการประชุมปรึกษาหารือแนวทางในการส่งต่อผู้ป่วย ตลอดจนปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน และร่วมกันพัฒนาแนวทางในการส่งต่อเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน โดยมีผลการดำเนินงาน ดังนี้ - ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 45,223 ราย - โรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 45,223 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทั้ง 8 แห่ง ได้ส่งเสริมการเข้าถึงระบบบริการในการดูแลรักษาสุขภาพของประชาชนในกรุงเทพมหานคร โดยมีการพัฒนาระบบส่งต่อระหว่างศูนย์บริการสาธารณสุขกับโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงระบบบริการ เป็นการสร้างมาตรฐานบริการสาธารณสุขในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีการประชุมปรึกษาหารือแนวทางในการส่งต่อผู้ป่วย ตลอดจนปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน และร่วมกันพัฒนาแนวทางในการส่งต่อเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน โดยมีผลการดำเนินงาน ดังนี้ 1.โรงพยาบาลกลาง - ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 26,130 ราย - โรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 26,130 ราย - คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 100 2.โรงพยาบาลตากสิน - ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 81,443 ราย - โรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 81,443 ราย - คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 100 3.โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ - ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 121,613 ราย - โรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 121,613 ราย - คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 100 4.โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ - ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 128 ราย - โรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 128 ราย - คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 100 5.โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ - ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 12,203 ราย - โรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 12,203 ราย - คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 100 6.โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร - ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 230 ราย - โรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 230 ราย - คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 100 7.โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ - ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 146 ราย - โรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 146 ราย - คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับ ร้อยละ 100 8.โรงพยาบาลสิรินธร - ศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 73,359 ราย - โรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 73,359 ราย - คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับ ร้อยละ 100 - สรุปในภาพรวมศูนย์บริการสาธารณสุขส่งต่อผู้ป่วยมายังโรงพยาบาล จำนวน 315,252 ราย และโรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยจากศูนย์บริการสาธารณสุขได้ จำนวน 315,252 ราย สรุปคิดเป็นความสำเร็จของการส่งต่อผู้ป่วยร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

(27) ร้อยละของผลงานวิจัย/Innovation/R2R ที่นำไปใช้ในการปฏิบัติงาน
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๖.๓ คนกรุงเทพฯทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เท่าเทียม มีคุณภาพ แ
ร้อยละของผลงานวิจัย/Innovation/R2R ที่นำไปใช้ในการปฏิบัติงาน

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :35.00

ผลงาน :54.11


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
51.22

0 / 0
4
54.11

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างการประชาสัมพันธ์บุคลากรในสังกัดเพื่อเชิญชวนผลิตผลงานนวัตกรรม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อยู่ระหว่างส่วนราชการประชาสัมพันธ์เพื่อส่งผลงานนวัตกรรม วิจัย R2R

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ผลการดำเนินงานการนำผลงานวิจัย นวัตกรรม R2R ไปใช้ในส่วนราชการ ดังนี้ ผลงานวิจัย จำนวน 19 ผลงาน ผลงานนวัตกรรม จำนวน 20 ผลงาน ผลงาน R2R จำนวน 2 ผลงาน รวมทั้งสิ้น 41 ผลงาน มีการนำผลงานไปใช้ จำนวน 21 ผลงาน คิดเป็นร้อยละ 51.22

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-สำนักการแพทย์ ในฐานะหน่วยงานด้านการแพทย์และสาธารณสุข นอกจากดำเนินภารกิจด้านการรักษาพยาบาลแล้ว การพัฒนาองค์ความรู้ทางการแพทย์และสาธารณสุขถือเป็นภารกิจที่สำนักการแพทย์ให้ความสำคัญ ทั้งการสร้างผลงานวิจัย นวัตกรรม และ R2R ที่จะสามารถนำมาพัฒนาการให้บริการประชาชนได้ และในปัจจุบันสำนักการแพทย์เป็นสถาบันร่วมสอนเพื่อผลิตแพทย์ ทั้งในระดับปริญญาและหลังปริญญา ซึ่งบุคลากรของสำนักการแพทย์ต้องถูกส่งเสริมให้มีการพัฒนาทางวิชาการอย่างต่อเนื่องทั้งการสอน รักษา และค้นคว้าวิจัย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการยกระดับคุณภาพการรักษาพยาบาลของบุคลาการทางการแพทย์ให้เทียบเท่าโรงเรียนแพทย์ สำนักการแพทย์ ได้ดำเนินการให้ส่วนราชการจัดทำผลงานวิจัย / นวัตกรรม / R2R เพื่อนำไปใช้ในการปฏิบัติงาน ซึ่งผลการดำเนินการมีดังนี้ 1. ผลงานวิจัย จำนวน 40 ผลงาน 2. ผลงานนวัตกรรม จำนวน 43 ผลงาน 3. ผลงาน R2R จำนวน 2 ผลงาน ซึ่งจากการผลิตผลงานดังกล่าว พบว่ามีการนำผลงานวิจัย/ นวัตกรรม/R2R เพื่อนำไปใช้ในการปฏิบัติงาน ดังนี้ 1. ผลงานถูกนำไปใช้ในการปฏิบัติงาน จำนวน 46 ผลงาน 2. ผลงานไม่ถูกนำไปใช้ในการปฏิบัติงาน จำนวน 39 ผลงาน คิดเป็นร้อยละ 54.11

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(28) ร้อยละความสำเร็จของการส่งต่อระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๖.๓ คนกรุงเทพฯทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เท่าเทียม มีคุณภาพ แ
ร้อยละความสำเร็จของการส่งต่อระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :95.00

ผลงาน :98.18


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
98.18

100 / 100
2
97.69

100 / 100
3
96.47

0 / 0
4
97.53

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ผลการดำเนินงานการส่งต่อผู้ป่วย 4 กลุ่มโรคเดือนตุลาคม 2562 ดังนี้ -ด้านการส่งต่อผู้ป่วยอุบัติเหตุ จำนวน 6 ราย ส่งต่อสำเร็จ 6 ราย ส่งต่อไม่สำเร็จ 0 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จในการส่งต่อผู้ป่วย เท่ากับ 100 - ด้านการส่งต่อผู้ป่วยศัลยกรรมประสาทและสมอง จำนวน 37 ราย ส่งต่อสำเร็จ 1 ราย ส่งต่อไม่สำเร็จ36 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จในการส่งต่อผู้ป่วย เท่ากับ 97.30 -ด้านการส่งต่อทารกคลอดก่อนกำหนด จำนวน 8 ราย ส่งต่อสำเร็จ 8 ราย ส่งต่อไม่สำเร็จ 0ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จในการส่งต่อผู้ป่วย เท่ากับ 100 - ด้านการส่งต่อออร์โธปิดิกส์ จำนวน 4 ราย ส่งต่อสำเร็จ 4 ราย ส่งต่อไม่สำเร็จ 0 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จในการส่งต่อผู้ป่วย เท่ากับ 100 สรุปคิดเป็นความสำเร็จของการส่งต่อผู้ป่วยทั้ง 55 กลุ่มโรค จำนวน 54 ราย ส่งต่อสำเร็จ 54 ราย ส่งต่อไม่สำเร็จ 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 98.18

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- ผลการดำเนินงานการส่งต่อผู้ป่วย 4 กลุ่มโรค ดังนี้ -ด้านการส่งต่อผู้ป่วยอุบัติเหตุ จำนวน 22 ราย ส่งต่อสำเร็จ 21 ราย ส่งต่อไม่สำเร็จ 1 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จในการส่งต่อผู้ป่วย เท่ากับ 95.45 - ด้านการส่งต่อผู้ป่วยศัลยกรรมประสาทและสมอง จำนวน 192 ราย ส่งต่อสำเร็จ 189 ราย ส่งต่อไม่สำเร็จ 3ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จในการส่งต่อผู้ป่วย เท่ากับ 98.44 -ด้านการส่งต่อทารกคลอดก่อนกำหนด จำนวน 27 ราย ส่งต่อสำเร็จ 26 ราย ส่งต่อไม่สำเร็จ 1 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จในการส่งต่อผู้ป่วย เท่ากับ 96.30 - ด้านการส่งต่อออร์โธปิดิกส์ จำนวน 19 ราย ส่งต่อสำเร็จ 18 ราย ส่งต่อไม่สำเร็จ 1 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จในการส่งต่อผู้ป่วย เท่ากับ 94.74 สรุปคิดเป็นความสำเร็จของการส่งต่อผู้ป่วยทั้งหมดจำนวน 260 ส่งต่อสำเร็จ 254 ราย ส่งต่อไม่สำเร็จ 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 97.69

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-- ผลการดำเนินงานการส่งต่อผู้ป่วย 4 กลุ่มโรค ดังนี้ -ด้านการส่งต่อผู้ป่วยอุบัติเหตุ จำนวน 32 ราย ส่งต่อสำเร็จ 28 ราย ส่งต่อไม่สำเร็จ 4 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จในการส่งต่อผู้ป่วย เท่ากับ 87.50 - ด้านการส่งต่อผู้ป่วยศัลยกรรมประสาทและสมอง จำนวน 220 ราย ส่งต่อสำเร็จ 217 ราย ส่งต่อไม่สำเร็จ 3ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จในการส่งต่อผู้ป่วย เท่ากับ 98.64 -ด้านการส่งต่อทารกคลอดก่อนกำหนด จำนวน 37 ราย ส่งต่อสำเร็จ 34 ราย ส่งต่อไม่สำเร็จ 3 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จในการส่งต่อผู้ป่วย เท่ากับ 91.89 - ด้านการส่งต่อออร์โธปิดิกส์ จำนวน 23 ราย ส่งต่อสำเร็จ 22 ราย ส่งต่อไม่สำเร็จ 1 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จในการส่งต่อผู้ป่วย เท่ากับ 95.65 สรุปคิดเป็นความสำเร็จของการส่งต่อผู้ป่วยทั้งหมดจำนวน 312 ราย ส่งต่อสำเร็จ 301 ราย ส่งต่อไม่สำเร็จ 11ราย คิดเป็นร้อยละ 96.47

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์เล็งเห็นถึงความสำคัญและความจำเป็นของระบบส่งต่อผู้ป่วยได้อย่างทันท่วงที เนื่องจากจะสามารถลดการสูญเสีย สร้างความปลอดภัยสำหรับผู้ป่วย และผู้ป่วยได้รับการรักษาที่มีประสิทธิภาพ แต่หากการส่งต่อมีความล่าช้าอาจก่อให้เกิดปัญหาหรือเกิดการสูญเสียถึงแก่ชีวิตได้ จากข้อมูลสถิติการรายงานผู้ป่วยระบบส่งต่อของสำนักการแพทย์ พบว่า กลุ่มโรคที่เป็นปัญหาสำคัญในการส่งต่อผู้ป่วยสูงสุด ได้แก่ อุบัติเหตุ ศัลยกรรมประสาทและสมอง หลอดเลือดหัวใจ ทารกคลอดก่อนกำหนด และออร์โธปิดิกส์ ดังนั้น เพื่อให้มีการประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และผู้ป่วยได้รับบริการที่มีประสิทธิภาพ สำนักการแพทย์จึงได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาและประสานเครือข่ายระบบบริการทางการแพทย์และระบบส่งต่อของโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร ตามคำสั่งกรุงเทพมหานครที่ 618/2562 ลงวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ.2562 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาและประสานเครือข่ายระบบบริการทางการแพทย์และระบบส่งต่อของโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร พร้อมทั้งมีการจัดทำคู่มือการส่งต่อผู้ป่วย 5 กลุ่มโรค ระหว่างโรงพยาบาลในเครือข่ายกรุงเทพมหานคร เพื่อให้มีแนวทางในการปฏิบัติที่เป็นไปทิศทางเดียวกันอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีผลการดำเนินงานส่งต่อระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ดังนี้ ด้านการส่งต่อผู้ป่วยอุบัติเหตุ จำนวน 36 ราย ส่งต่อสำเร็จ 32 ราย ส่งต่อไม่สำเร็จ 4 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จในการส่งต่อผู้ป่วย เท่ากับ 88.89 ด้านการส่งต่อผู้ป่วยศัลยกรรมประสาทและสมอง จำนวน 332 ราย ส่งต่อสำเร็จ 329 ราย ส่งต่อไม่สำเร็จ 3 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จในการส่งต่อผู้ป่วย เท่ากับ 99.10 ด้านการส่งต่อทารกคลอดก่อนกำหนด จำนวน 47 ราย ส่งต่อสำเร็จ 44 ราย ส่งต่อไม่สำเร็จ 3 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จในการส่งต่อผู้ป่วย เท่ากับ 93.62 ด้านการส่งต่อออร์โธปิดิกส์ จำนวน 31 ราย ส่งต่อสำเร็จ 30 ราย ส่งต่อไม่สำเร็จ 1 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จในการส่งต่อผู้ป่วย เท่ากับ 96.77 (ข้อมูลตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 – 31 กรกฎาคม 2563) สรุปส่งต่อทั้งหมด 446 ราย สำเร็จ 435 ราย คิดเป็นความสำเร็จของการส่งต่อระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ คิดเป็นร้อยละ 97.53

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(29) ร้อยละของผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินที่ขอรับบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินขั้นสูง (Advanced) สามารถได้รับบริการภายใน 10 นาที และส่วนของขั้นพื้นฐาน (Basic) สามารถได้รับบริการภายใน 15 นาที
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๖.๔ ประชาชนได้รับบริการช่วยเหลือฉุกเฉินเมื่อเกิดอุบัติเหตุและเจ็บป่วยขั้นวิกฤต
ร้อยละของผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินที่ขอรับบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินขั้นสูง (Advanced) สามารถได้รับบริการภายใน 10 นาที และส่วนของขั้นพื้นฐาน (Basic) สามารถได้รับบริการภายใน 15 นาที

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :95.00

ผลงาน :88.59


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
88.59

100 / 100
2
90.54

100 / 100
3
87.81

0 / 0
4
86.39

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับบริการขั้นพื้นฐานภายใน 15 นาที จำนวน 3,153 ราย จำนวนผู้ป่วยที่ขอรับบริการ จำนวน 4,813ราย คิดเป็นร้อยละ 67.51 จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับบริการขั้นภายใน 10 นาที 1,080 ราย จำนวนผู้ป่วยที่ขอรับบริการทั้งหมด จำนวน 4,680 ราย คิดเป็นร้อยละ 23.08

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ศูนย์บริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานครได้ดำเนินการออกปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินดำเนินการออกปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินขั้นสูง (Advanced) จำนวน 11,973 ครั้ง การออกปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินขั้นพื้นฐาน (Basic) จำนวน 11,838 ครั้ง โดยผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินที่ขอรับบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินขั้นสูง (Advanced) สามารถได้รับบริการภายใน 10 นาที จำนวน 2,822 ครั้ง และส่วนของขั้นพื้นฐาน (Basic) สามารถได้รับบริการภายใน 15 นาที จำนวน 7,928 ครั้ง ร้อยละของตัวชี้วัด ขั้นสูง (Advanced) ร้อยละ 23.57 ขั้นพื้นฐาน (Basic) ร้อยละ 66.97

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-- ศูนย์บริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานครได้ดำเนินการออกปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินดำเนินการออกปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินขั้นสูง (Advanced) จำนวน 19,806 ครั้ง โดยผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินที่ขอรับบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินขั้นสูง (Advanced) สามารถได้รับบริการภายใน 10 นาที จำนวน 4380 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 22.11 - การออกปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินขั้นพื้นฐาน (Basic) จำนวน 18,982 ครั้ง และส่วนของขั้นพื้นฐาน (Basic) สามารถได้รับบริการภายใน 15 นาที จำนวน 12,472 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 65.70

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-กรุงเทพมหานครได้แบ่งพื้นที่การบริหารจัดการระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินเป็น 9 โซน โดยมีศูนย์บริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร (ศูนย์เอราวัณ) เป็นศูนย์สั่งการและประสานงานเครือข่ายในระบบฯ จำนวนทั้งสิ้น รวม 62 แห่ง มีโรงพยาบาลขนาดใหญ่เป็นแม่โซนร่วมให้บริการทางการแพทย์ฉุกเฉินขั้นสูง (Advanced) หรือระดับ ALS ดังนี้ โซนที่ 1 คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล โซนที่ 2 รพ.กลาง โซนที่ 3 รพ.ตากสิน โซนที่ 4 รพ.เจริญกรุงประชารักษ์ โซนที่ 5 รพ.เลิดสิน โซนที่ 6 รพ.นพรัตน์ราชธานี โซนที่ 7 รพ.ภูมิพลอดุลยเดช โซนที่ 8 รพ.ราชวิถี โซนที่ 9 รพ.ตำรวจ ส่วนการจัดบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินขั้นพื้นฐาน (Basic หรือระดับ BLS) มีมูลนิธิสาธารณ-กุศล จำนวน 8 แห่ง ร่วมจัดบริการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ได้แก่ มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง มูลนิธิร่วมกตัญญู มูลนิธิกู้ภัยร่มไทร มูลนิธิสยามรวมใจ มูลนิธิอาสาหนองจอก (ศูนย์ราชพฤกษ์) มูลนิธิหงส์แดง มูลนิธิกูบแดง มูลนิธิจีเต็กลิ้ม-ฮู้ก๊กตึ้ง (พิรุณ) ทั้งนี้ ศูนย์เอราวัณ ได้พัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินนอกโรงพยาบาล โดยจัดให้มีชุดปฏิบัติงานการแพทย์ฉุกเฉินระดับสูง (Advance Life Support) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เพิ่มขึ้น อย่างน้อยปีละ 1 จุดจอด โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้เพื่มจุดจอดและทีมปฏิบัติการจำนวน 1 จุดจอด (ของเดิมมี 8 จุดจอด) รวมเป็น 9 จุดจอด โดยจัดทำโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร ตลอด 24 ชั่วโมง โดยกำหนดจุดจอด ทั้ง 9 แห่ง ดังนี้ 1) จุดจอดใต้ทางด่วนประชาชื่น 2) จุดจอดพุทธมณฑลสาย 1 ตลิ่งชัน 3) จุดจอดศูนย์พัฒนากีฬากองทัพบก (รามอินทรา) 4) จุดจอดสำนักงานเขตลาดพร้าว 5) จุดจอดสำนักงานเขตบางนา 6) จุดจอดสำนักงานเขตวังทองหลาง 7) จุดจอดทุ่งครุ 8) จุดจอดคลองสามวา 9) จุดจอดรพ.ผู้สูงอายุบางขุนเทียน (เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 1 เม.ย. 2563) โดยแต่ละจุดประกอบด้วยบุคลากร ดังนี้ - พยาบาลวิชาชีพหรือนักปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ จำนวน 1 คน/ผลัด - เจ้าหน้าที่เวชกิจฉุกเฉินขั้นพื้นฐาน หรือพนักงานฉุกเฉินการแพทย์ จำนวน 2 ผลัด/คน - พนักงานขับรถยนต์หรือเวชกรฉุกเฉินระดับพื้นฐานหรือพนักงานฉุกเฉินการแพทย์ที่ทำหน้าที่พนักงานขับรถยนต์ จำนวน 1 คน/ผลัด โดยสรุป ในปีงบประมาณ 2563 (1 ต.ค.62 – 31 ส.ค.63) มีสถิติผลการออกปฏิบัติการของเครือข่ายระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานครในภาพรวมทั้งระบบฯ (Bangkok EMS) รวมจำนวน 62 แห่ง ดังนี้ ระดับ Advanced (ALS) - ผู้ป่วยฉุกเฉินที่ได้รับบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินขั้นสูง (Advanced) ภายใน 10 นาที จำนวน 5,737 ครั้ง - ผู้ป่วยฉุกเฉินที่ได้รับบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินขั้นสูง (Advanced) ทั้งหมด จำนวน 27,511 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 5,737/27,511*100 = 20.85 % ระดับ Basic (BLS) - ผู้ป่วยฉุกเฉินที่ได้รับบริการทางการแพทย์ขั้นพื้นฐาน (Basic) ภายใน 15 นาที จำนวน 17,538 คน - ผู้ป่วยฉุกเฉินที่ได้รับบริการทางการแพทย์ขั้นพื้นฐาน(Basic) ทั้งหมด จำนวน 26,760 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 17,538/26,760*100 = 65.54% (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ต.ค. 2562 – 31 สิงหาคม 2563

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(30) จำนวนคลินิกผู้สูงอายุที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน“คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ”
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด
จำนวนคลินิกผู้สูงอายุที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน“คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ”

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างการตรวจประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพของโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ประจำปีงบประมาณ 2563 ดังนี้ โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ วันที่ 13 พ.ย. 2562 เวลา 13.30 – 16.00 น. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร วันที่ 14 พ.ย. 2562 เวลา 09.00 – 12.00 น. โรงพยาบาลสิรินธร วันที่ 14 พ.ย. 2562 เวลา 13.30 – 16.00 น. โรงพยาบาลกลาง วันที่ 25 พ.ย. 2562 เวลา 09.00 – 12.00 น. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ วันที่ 9 ธ.ค. 2562 เวลา 09.00 – 12.00 น. โรงพยาบาลตากสิน วันที่ 9 ธ.ค. 2562 เวลา 13.30 – 16.00 น. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ วันที่ 13 ธ.ค. 2562 เวลา 09.00 – 12.00 น. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน วันที่ 13 ธ.ค. 2562 เวลา 13.30 – 16.00 น. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ วันที่ 29 ม.ค. 2562 เวลา 13.30 – 16.00 น.

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี สำนักการแพทย์จึงได้จัดตั้งและพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพขึ้น ตั้งแต่ปี 2557 โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาระบบบริการแก่ผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุมบริการแบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากนี้สำนักการแพทย์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จัดทำเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ เฉลิมพระเกียรติ 86 พรรษา พระบรมราชินีนาถ เพื่อพัฒนามาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและสนับสนุนการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยเกณฑ์การประเมิน 20 ข้อ ดังนี้ 1. มีมีสถานที่ชัดเจนเป็นสัดส่วนในแบบการบริการผู้ป่วยนอก 2. สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น ป้าย ราวจับ ทางลาด ห้องน้ำ 3. เปิดบริการอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ 4. พยาบาลที่ดำเนินงานเคยผ่านการฝึกอบรมเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 5. ทีมสหสาขาวิชาชีพ เช่น แพทย์ กายภาพบำบัด เภสัชกร 6. รวบรวมจำนวน case geriatric syndrome ทุก 3 เดือน 7. Geriatric Assessment ; ADL 8. Geriatric Assessment ; cognitive impairment 9. ประเมินความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกผู้สูงอายุ 10.บุคลากรที่ให้การดูแลผู้ป่วยในคลินิกผู้สูงอายุ ได้รับการฝึกอบรมอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง 11. คัดกรอง incontinence 12. คัดกรอง fall 13. คัดกรอง malnutrition 14. คัดกรอง depression 15. มีแพทย์รับผิดชอบ 16. มีฐานข้อมูลผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ (เป็นฐานข้อมูลผู้สูงอายุของโรงพยาบาล ได้แก่ ประชากรผู้สูงอายุ UC / catch up area /กลุ่มชมรมผู้สูงอายุ) 17. ความครอบคลุมของ vaccine ไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มผู้สูงอายุ 18. งานวิชาการ / วิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุ / นำเสนอ presentation (ทีมสหสาขาวิชาชีพที่ร่วมดูแลงานคลินิกผู้สูงอายุ เป็น co) 19. นวัตกรรมเกี่ยวกับผู้สูงอายุ 20. ส่งปรึกษาภายในโรงพยาบาลกับทีมคลินิกผู้สูงอายุ ทั้งนี้ เกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุ ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินดังกล่าวตามมาตรฐานที่กำหนดอย่างน้อย 16 ข้อใน 20 ข้อ และคะแนนรวมไม่น้อยกว่า 17 คะแนน เกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ 2563 และแบ่งเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ - ระดับเงิน (S) ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 17 คะแนนขึ้นไป - ระดับทอง (G) ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 35 คะแนนขึ้นไป - ระดับเพชร (D) ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 40 คะแนนขึ้นไป โรงพยาบาลในสังกัดทั้ง 9 แห่ง ผ่านเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพตามเกณฑ์ฯที่กำหนด คิดเป็นอัตราความสำเร็จร้อยละ 100 โดยผ่านคลินิกคุณภาพระดับเงิน (S) จำนวน 8 แห่ง ได้แก่ 1. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ 2. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ 3. โรงพยาบาลสิรินธร 4. โรงพยาบาลตากสิน 5. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุเทพมหานคร 6. โรงพยาบาลกลาง 7. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ 8. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ผ่านคลินิกผู้สูงอายุระดับทอง (G) จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลราชพิพัฒน์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

--กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี สำนักการแพทย์จึงได้จัดตั้งและพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพขึ้น ตั้งแต่ปี 2557 โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาระบบบริการแก่ผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุมบริการแบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากนี้สำนักการแพทย์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จัดทำเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ เฉลิมพระเกียรติ 86 พรรษา พระบรมราชินีนาถ เพื่อพัฒนามาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและสนับสนุนการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยเกณฑ์การประเมิน 20 ข้อ ดังนี้ 1. มีมีสถานที่ชัดเจนเป็นสัดส่วนในแบบการบริการผู้ป่วยนอก 2. สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น ป้าย ราวจับ ทางลาด ห้องน้ำ 3. เปิดบริการอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ 4. พยาบาลที่ดำเนินงานเคยผ่านการฝึกอบรมเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 5. ทีมสหสาขาวิชาชีพ เช่น แพทย์ กายภาพบำบัด เภสัชกร 6. รวบรวมจำนวน case geriatric syndrome ทุก 3 เดือน 7. Geriatric Assessment ; ADL 8. Geriatric Assessment ; cognitive impairment 9. ประเมินความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกผู้สูงอายุ 10.บุคลากรที่ให้การดูแลผู้ป่วยในคลินิกผู้สูงอายุ ได้รับการฝึกอบรมอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง 11. คัดกรอง incontinence 12. คัดกรอง fall 13. คัดกรอง malnutrition 14. คัดกรอง depression 15. มีแพทย์รับผิดชอบ 16. มีฐานข้อมูลผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ (เป็นฐานข้อมูลผู้สูงอายุของโรงพยาบาล ได้แก่ ประชากรผู้สูงอายุ UC / catch up area /กลุ่มชมรมผู้สูงอายุ) 17. ความครอบคลุมของ vaccine ไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มผู้สูงอายุ 18. งานวิชาการ / วิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุ / นำเสนอ presentation (ทีมสหสาขาวิชาชีพที่ร่วมดูแลงานคลินิกผู้สูงอายุ เป็น co) 19. นวัตกรรมเกี่ยวกับผู้สูงอายุ 20. ส่งปรึกษาภายในโรงพยาบาลกับทีมคลินิกผู้สูงอายุ ทั้งนี้ เกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุ ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินดังกล่าวตามมาตรฐานที่กำหนดอย่างน้อย 16 ข้อใน 20 ข้อ และคะแนนรวมไม่น้อยกว่า 17 คะแนน เกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ 2563 และแบ่งเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ - ระดับเงิน (S) ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 17 คะแนนขึ้นไป - ระดับทอง (G) ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 35 คะแนนขึ้นไป - ระดับเพชร (D) ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 40 คะแนนขึ้นไป โรงพยาบาลในสังกัดทั้ง 9 แห่ง ผ่านเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพตามเกณฑ์ฯที่กำหนด คิดเป็นอัตราความสำเร็จร้อยละ 100 โดยผ่านคลินิกคุณภาพระดับเงิน (S) จำนวน 8 แห่ง ได้แก่ 1. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ 2. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ 3. โรงพยาบาลสิรินธร 4. โรงพยาบาลตากสิน 5. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุเทพมหานคร 6. โรงพยาบาลกลาง 7. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ 8. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ผ่านคลินิกผู้สูงอายุระดับทอง (G) จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลราชพิพัฒน์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี สำนักการแพทย์จึงได้จัดตั้งและพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพขึ้น ตั้งแต่ปี 2557 โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาระบบบริการแก่ผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุมบริการแบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากนี้สำนักการแพทย์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จัดทำเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพเฉลิมพระเกียรติ 86 พรรษา พระบรมราชินีนาถ เพื่อพัฒนามาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและสนับสนุนการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยเกณฑ์การประเมิน 20 ข้อ ดังนี้ 1. มีสถานที่ชัดเจนเป็นสัดส่วนในแบบการบริการ ผู้ป่วยนอก 2. สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น ป้าย ราวจับ ทางลาด ห้องน้ำ บันได 3. เปิดบริการอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์และมีแพทย์รับผิดชอบ 4. พยาบาลที่ดำเนินงานเคยผ่านการฝึกอบรม เวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 5. ทีมสหสาขาวิชาชีพ เช่น แพทย์ กายภาพบำบัด เภสัชกร เป็นต้น 6. รวบรวมจำนวน case geriatric syndrome ทุก 3 เดือน 7. Geriatric Assessment ; ADL 8. Geriatric Assessment ; cognitive Impairment 9. ประเมินความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกผู้สูงอายุ 10. บุคลากรที่ให้การดูแลผู้ป่วยในคลินิกผู้สูงอายุได้รับการฝึกอบรมอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง 11. คัดกรอง Incontinence 12. คัดกรอง Fall 13. คัดกรอง Malnutrition 14. คัดกรอง Depression 15. มีฐานข้อมูลผู้สูงอายุในเขตที่โรงพยาบาลรับผิดชอบ 16. ความครอบคลุมของ vaccine ไข้หวัดใหญ่ ในกลุ่มผู้สูงอายุ 17. งานวิชาการ / วิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุ / นำเสนอ presentation 18. นวัตกรรมเกี่ยวกับผู้สูงอายุ 19. รับปรึกษาจากคลินิกอื่นหรือหอผู้ป่วยภายในโรงพยาบาล 20. แพทย์เฉพาะทางที่ออกตรวจในคลินิกผู้สูงอายุ เกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ 2563 และแบ่งเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ - ระดับเงิน (S) ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 17 คะแนนขึ้นไป - ระดับทอง (G) ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 35 คะแนนขึ้นไป - ระดับเพชร (D) ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 40 คะแนนขึ้นไป โรงพยาบาลในสังกัดทั้ง 9 แห่ง ผ่านเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพตามเกณฑ์ฯที่กำหนด คิดเป็นอัตราความสำเร็จร้อยละ 100 - คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ ระดับเพชร (D) 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ - คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ ระดับเงิน (S) 8 แห่ง ได้แก่ 1. โรงพยาบาลกลาง 2. โรงพยาบาลตากสิน 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ 8. โรงพยาบาลสิรินธร 9. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ในปี 2563 สำนักการแพทย์ได้จัดทำแนวทางการให้บริการผู้สูงอายุในพื้นที่กรุงเทพมหานครร่วมกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เขต 13 กรุงเทพมหานคร แบ่งเป็นการดำเนินงาน “คลินิกผู้สูงอายุครบวงจร” และ“คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ” ซึ่งได้มีขยายการดำเนินงานไปยังโรงพยาบาลในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ภาครัฐ/เอกชน รวมถึงศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย การดำเนินงานดังกล่าวจะเป็นการช่วยเพิ่มศักยภาพในการค้นพบโรคเรื้อรังในระยะเริ่มแรก ช่วยให้ผู้สูงอายุสามารถพึ่งพาตนเอง และดำรงชีวิตประจำวันได้อย่างมีคุณภาพชีวิตที่ดี และได้รับการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ จำนวน 10 รายการ ดังนี้ 1. ซักประวัติและตรวจร่างกายโดยแพทย์ 2. คัดกรองความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันตามแบบประเมิน ADL 3. ประเมินภาวะซึมเศร้า 2 คำถาม (2Q) 4. คัดกรองความบกพร่องทางการมองเห็น: ตรวจสายตา (Visual Acuity Test) 5. ประเมินความเสี่ยงโรคกระดูกพรุนด้วย OSTA index 6. ประเมินสมรรถภาพสมอง (Modified IQ CODE) 7. ประเมินภาวะโภชนาการ 8. คัดกรองภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ (Incontinence) 9. คัดกรองภาวะหกล้ม (Fall) 10. การให้คำปรึกษากับผู้สูงอายุ เฉพาะที่คลินิกผู้สูงอายุครบวงจร ได้แก่ ด้านยาด้านทันตกรรม ด้านอาหาร ด้านกายภาพบำบัด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(31) จำนวนคลินิกผู้สูงอายุที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน“คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ”
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๒ มีระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส
จำนวนคลินิกผู้สูงอายุที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน“คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ”

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างการตรวจประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพของโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ประจำปีงบประมาณ 2563 ดังนี้ โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ วันที่ 13 พ.ย. 2562 เวลา 13.30 – 16.00 น. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร วันที่ 14 พ.ย. 2562 เวลา 09.00 – 12.00 น. โรงพยาบาลสิรินธร วันที่ 14 พ.ย. 2562 เวลา 13.30 – 16.00 น. โรงพยาบาลกลาง วันที่ 25 พ.ย. 2562 เวลา 09.00 – 12.00 น. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ วันที่ 9 ธ.ค. 2562 เวลา 09.00 – 12.00 น. โรงพยาบาลตากสิน วันที่ 9 ธ.ค. 2562 เวลา 13.30 – 16.00 น. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ วันที่ 13 ธ.ค. 2562 เวลา 09.00 – 12.00 น. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน วันที่ 13 ธ.ค. 2562 เวลา 13.30 – 16.00 น. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ วันที่ 29 ม.ค. 2562 เวลา 13.30 – 16.00 น.

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี สำนักการแพทย์จึงได้จัดตั้งและพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพขึ้น ตั้งแต่ปี 2557 โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาระบบบริการแก่ผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุมบริการแบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากนี้สำนักการแพทย์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จัดทำเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ เฉลิมพระเกียรติ 86 พรรษา พระบรมราชินีนาถ เพื่อพัฒนามาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและสนับสนุนการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยเกณฑ์การประเมิน 20 ข้อ ดังนี้ 1. มีมีสถานที่ชัดเจนเป็นสัดส่วนในแบบการบริการผู้ป่วยนอก 2. สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น ป้าย ราวจับ ทางลาด ห้องน้ำ 3. เปิดบริการอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ 4. พยาบาลที่ดำเนินงานเคยผ่านการฝึกอบรมเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 5. ทีมสหสาขาวิชาชีพ เช่น แพทย์ กายภาพบำบัด เภสัชกร 6. รวบรวมจำนวน case geriatric syndrome ทุก 3 เดือน 7. Geriatric Assessment ; ADL 8. Geriatric Assessment ; cognitive impairment 9. ประเมินความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกผู้สูงอายุ 10.บุคลากรที่ให้การดูแลผู้ป่วยในคลินิกผู้สูงอายุ ได้รับการฝึกอบรมอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง 11. คัดกรอง incontinence 12. คัดกรอง fall 13. คัดกรอง malnutrition 14. คัดกรอง depression 15. มีแพทย์รับผิดชอบ 16. มีฐานข้อมูลผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ (เป็นฐานข้อมูลผู้สูงอายุของโรงพยาบาล ได้แก่ ประชากรผู้สูงอายุ UC / catch up area /กลุ่มชมรมผู้สูงอายุ) 17. ความครอบคลุมของ vaccine ไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มผู้สูงอายุ 18. งานวิชาการ / วิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุ / นำเสนอ presentation (ทีมสหสาขาวิชาชีพที่ร่วมดูแลงานคลินิกผู้สูงอายุ เป็น co) 19. นวัตกรรมเกี่ยวกับผู้สูงอายุ 20. ส่งปรึกษาภายในโรงพยาบาลกับทีมคลินิกผู้สูงอายุ ทั้งนี้ เกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุ ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินดังกล่าวตามมาตรฐานที่กำหนดอย่างน้อย 16 ข้อใน 20 ข้อ และคะแนนรวมไม่น้อยกว่า 17 คะแนน เกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ 2563 และแบ่งเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ - ระดับเงิน (S) ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 17 คะแนนขึ้นไป - ระดับทอง (G) ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 35 คะแนนขึ้นไป - ระดับเพชร (D) ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 40 คะแนนขึ้นไป โรงพยาบาลในสังกัดทั้ง 9 แห่ง ผ่านเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพตามเกณฑ์ฯที่กำหนด คิดเป็นอัตราความสำเร็จร้อยละ 100 โดยผ่านคลินิกคุณภาพระดับเงิน (S) จำนวน 8 แห่ง ได้แก่ 1. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ 2. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ 3. โรงพยาบาลสิรินธร 4. โรงพยาบาลตากสิน 5. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุเทพมหานคร 6. โรงพยาบาลกลาง 7. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ 8. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ผ่านคลินิกผู้สูงอายุระดับทอง (G) จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลราชพิพัฒน์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

--กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี สำนักการแพทย์จึงได้จัดตั้งและพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพขึ้น ตั้งแต่ปี 2557 โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาระบบบริการแก่ผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุมบริการแบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากนี้สำนักการแพทย์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จัดทำเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ เฉลิมพระเกียรติ 86 พรรษา พระบรมราชินีนาถ เพื่อพัฒนามาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและสนับสนุนการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยเกณฑ์การประเมิน 20 ข้อ ดังนี้ 1. มีมีสถานที่ชัดเจนเป็นสัดส่วนในแบบการบริการผู้ป่วยนอก 2. สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น ป้าย ราวจับ ทางลาด ห้องน้ำ 3. เปิดบริการอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ 4. พยาบาลที่ดำเนินงานเคยผ่านการฝึกอบรมเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 5. ทีมสหสาขาวิชาชีพ เช่น แพทย์ กายภาพบำบัด เภสัชกร 6. รวบรวมจำนวน case geriatric syndrome ทุก 3 เดือน 7. Geriatric Assessment ; ADL 8. Geriatric Assessment ; cognitive impairment 9. ประเมินความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกผู้สูงอายุ 10.บุคลากรที่ให้การดูแลผู้ป่วยในคลินิกผู้สูงอายุ ได้รับการฝึกอบรมอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง 11. คัดกรอง incontinence 12. คัดกรอง fall 13. คัดกรอง malnutrition 14. คัดกรอง depression 15. มีแพทย์รับผิดชอบ 16. มีฐานข้อมูลผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ (เป็นฐานข้อมูลผู้สูงอายุของโรงพยาบาล ได้แก่ ประชากรผู้สูงอายุ UC / catch up area /กลุ่มชมรมผู้สูงอายุ) 17. ความครอบคลุมของ vaccine ไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มผู้สูงอายุ 18. งานวิชาการ / วิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุ / นำเสนอ presentation (ทีมสหสาขาวิชาชีพที่ร่วมดูแลงานคลินิกผู้สูงอายุ เป็น co) 19. นวัตกรรมเกี่ยวกับผู้สูงอายุ 20. ส่งปรึกษาภายในโรงพยาบาลกับทีมคลินิกผู้สูงอายุ ทั้งนี้ เกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุ ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินดังกล่าวตามมาตรฐานที่กำหนดอย่างน้อย 16 ข้อใน 20 ข้อ และคะแนนรวมไม่น้อยกว่า 17 คะแนน เกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ 2563 และแบ่งเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ - ระดับเงิน (S) ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 17 คะแนนขึ้นไป - ระดับทอง (G) ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 35 คะแนนขึ้นไป - ระดับเพชร (D) ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 40 คะแนนขึ้นไป โรงพยาบาลในสังกัดทั้ง 9 แห่ง ผ่านเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพตามเกณฑ์ฯที่กำหนด คิดเป็นอัตราความสำเร็จร้อยละ 100 โดยผ่านคลินิกคุณภาพระดับเงิน (S) จำนวน 8 แห่ง ได้แก่ 1. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ 2. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ 3. โรงพยาบาลสิรินธร 4. โรงพยาบาลตากสิน 5. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุเทพมหานคร 6. โรงพยาบาลกลาง 7. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ 8. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ผ่านคลินิกผู้สูงอายุระดับทอง (G) จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลราชพิพัฒน์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี สำนักการแพทย์จึงได้จัดตั้งและพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพขึ้น ตั้งแต่ปี 2557 โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาระบบบริการแก่ผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุมบริการแบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากนี้สำนักการแพทย์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จัดทำเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพเฉลิมพระเกียรติ 86 พรรษา พระบรมราชินีนาถ เพื่อพัฒนามาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและสนับสนุนการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยเกณฑ์การประเมิน 20 ข้อ ดังนี้ 1. มีสถานที่ชัดเจนเป็นสัดส่วนในแบบการบริการ ผู้ป่วยนอก 2. สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น ป้าย ราวจับ ทางลาด ห้องน้ำ บันได 3. เปิดบริการอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์และมีแพทย์รับผิดชอบ 4. พยาบาลที่ดำเนินงานเคยผ่านการฝึกอบรม เวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 5. ทีมสหสาขาวิชาชีพ เช่น แพทย์ กายภาพบำบัด เภสัชกร เป็นต้น 6. รวบรวมจำนวน case geriatric syndrome ทุก 3 เดือน 7. Geriatric Assessment ; ADL 8. Geriatric Assessment ; cognitive Impairment 9. ประเมินความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกผู้สูงอายุ 10. บุคลากรที่ให้การดูแลผู้ป่วยในคลินิกผู้สูงอายุได้รับการฝึกอบรมอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง 11. คัดกรอง Incontinence 12. คัดกรอง Fall 13. คัดกรอง Malnutrition 14. คัดกรอง Depression 15. มีฐานข้อมูลผู้สูงอายุในเขตที่โรงพยาบาลรับผิดชอบ 16. ความครอบคลุมของ vaccine ไข้หวัดใหญ่ ในกลุ่มผู้สูงอายุ 17. งานวิชาการ / วิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุ / นำเสนอ presentation 18. นวัตกรรมเกี่ยวกับผู้สูงอายุ 19. รับปรึกษาจากคลินิกอื่นหรือหอผู้ป่วยภายในโรงพยาบาล 20. แพทย์เฉพาะทางที่ออกตรวจในคลินิกผู้สูงอายุ เกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ 2563 และแบ่งเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ - ระดับเงิน (S) ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 17 คะแนนขึ้นไป - ระดับทอง (G) ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 35 คะแนนขึ้นไป - ระดับเพชร (D) ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 40 คะแนนขึ้นไป โรงพยาบาลในสังกัดทั้ง 9 แห่ง ผ่านเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพตามเกณฑ์ฯที่กำหนด คิดเป็นอัตราความสำเร็จร้อยละ 100 - คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ ระดับเพชร (D) 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ - คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ ระดับเงิน (S) 8 แห่ง ได้แก่ 1. โรงพยาบาลกลาง 2. โรงพยาบาลตากสิน 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ 8. โรงพยาบาลสิรินธร 9. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ในปี 2563 สำนักการแพทย์ได้จัดทำแนวทางการให้บริการผู้สูงอายุในพื้นที่กรุงเทพมหานครร่วมกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เขต 13 กรุงเทพมหานคร แบ่งเป็นการดำเนินงาน “คลินิกผู้สูงอายุครบวงจร” และ“คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ” ซึ่งได้มีขยายการดำเนินงานไปยังโรงพยาบาลในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ภาครัฐ/เอกชน รวมถึงศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย การดำเนินงานดังกล่าวจะเป็นการช่วยเพิ่มศักยภาพในการค้นพบโรคเรื้อรังในระยะเริ่มแรก ช่วยให้ผู้สูงอายุสามารถพึ่งพาตนเอง และดำรงชีวิตประจำวันได้อย่างมีคุณภาพชีวิตที่ดี และได้รับการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ จำนวน 10 รายการ ดังนี้ 1. ซักประวัติและตรวจร่างกายโดยแพทย์ 2. คัดกรองความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันตามแบบประเมิน ADL 3. ประเมินภาวะซึมเศร้า 2 คำถาม (2Q) 4. คัดกรองความบกพร่องทางการมองเห็น: ตรวจสายตา (Visual Acuity Test) 5. ประเมินความเสี่ยงโรคกระดูกพรุนด้วย OSTA index 6. ประเมินสมรรถภาพสมอง (Modified IQ CODE) 7. ประเมินภาวะโภชนาการ 8. คัดกรองภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ (Incontinence) 9. คัดกรองภาวะหกล้ม (Fall) 10. การให้คำปรึกษากับผู้สูงอายุ เฉพาะที่คลินิกผู้สูงอายุครบวงจร ได้แก่ ด้านยาด้านทันตกรรม ด้านอาหาร ด้านกายภาพบำบัด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(32) ร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด
ร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :90.00

ผลงาน :96.80

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
97.41

0 / 0
4
96.80

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างทอดแบบสอบให้กับผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี สำนักการแพทย์จึงได้จัดตั้งและพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพขึ้น ตั้งแต่ปี 2557 โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาระบบบริการแก่ผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุมบริการแบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากนี้สำนักการแพทย์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จัดทำเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพเฉลิมพระเกียรติ 86 พรรษา พระบรมราชินีนาถ เพื่อพัฒนามาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและสนับสนุนการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้สำนักการแพทย์ได้ทำการสำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพเพื่อนำมาปรับปรุงการให้บริการในคลินิกผู้สูงอายุต่อไป โดยมีผลความพึงพอใจของผู้สูงอายุ ดังนี้ - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 384 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 384 ราย คิดเป็นร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี สำนักการแพทย์จึงได้จัดตั้งและพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพขึ้น ตั้งแต่ปี 2557 โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาระบบบริการแก่ผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุมบริการแบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากนี้สำนักการแพทย์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จัดทำเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพเฉลิมพระเกียรติ 86 พรรษา พระบรมราชินีนาถ เพื่อพัฒนามาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและสนับสนุนการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้สำนักการแพทย์ได้ทำการสำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพเพื่อนำมาปรับปรุงการให้บริการในคลินิกผู้สูงอายุต่อไป โดยมีผลความพึงพอใจของผู้สูงอายุ ดังนี้ - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 849 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 827 ราย คิดเป็นร้อยละ 97.41

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-สำนักการแพทย์ได้มีการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ มีการสำรวจความพึงพอใจต่อการให้บริการในคลินิกผู้สูงอายุ เพื่อนำผลสำรวจของความพึงพอใจและข้อเสนอแนะมาพัฒนาและปรับปรุงการให้บริการในคลินิกผู้สูงอายุของโรงพยาบาลให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยผลการสำรวจ มีดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 853 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 887 ราย - คิดเป็นร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ 96.17 2. โรงพยาบาลตากสิน - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 381 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 382 - คิดเป็นร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ 99.74 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 80 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 80 ราย - คิดเป็นร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ 100 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 330 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 330 ราย - คิดเป็นร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ 100 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 405 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 409 ราย - คิดเป็นร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ 99.02 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 199 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 230 ราย - คิดเป็นร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ 86.52 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 202 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 213 ราย - คิดเป็นร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ 94.84 8. โรงพยาบาลสิรินธร - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 467 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 479 ราย - คิดเป็นร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ 97.49 9. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 46 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 51 ราย - คิดเป็นร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ 90.2 สรุปความพึงพอใจของของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป 2,963 ราย จากจำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 3,061 ราย คิดเป็นร้อยละ 96.80

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(33) ร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๒ มีระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส
ร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :90.00

ผลงาน :96.80

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
97.41

0 / 0
4
96.80

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างทอดแบบสอบให้กับผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี สำนักการแพทย์จึงได้จัดตั้งและพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพขึ้น ตั้งแต่ปี 2557 โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาระบบบริการแก่ผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุมบริการแบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากนี้สำนักการแพทย์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จัดทำเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพเฉลิมพระเกียรติ 86 พรรษา พระบรมราชินีนาถ เพื่อพัฒนามาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและสนับสนุนการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้สำนักการแพทย์ได้ทำการสำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพเพื่อนำมาปรับปรุงการให้บริการในคลินิกผู้สูงอายุต่อไป โดยมีผลความพึงพอใจของผู้สูงอายุ ดังนี้ - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 384 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 384 ราย คิดเป็นร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-กรุงเทพมหานครมีนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี สำนักการแพทย์จึงได้จัดตั้งและพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพขึ้น ตั้งแต่ปี 2557 โดยมุ่งหวังที่จะพัฒนาระบบบริการแก่ผู้สูงอายุ ให้ครอบคลุมบริการแบบองค์รวมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากนี้สำนักการแพทย์ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล จัดทำเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพเฉลิมพระเกียรติ 86 พรรษา พระบรมราชินีนาถ เพื่อพัฒนามาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและสนับสนุนการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้สำนักการแพทย์ได้ทำการสำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการในคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพเพื่อนำมาปรับปรุงการให้บริการในคลินิกผู้สูงอายุต่อไป โดยมีผลความพึงพอใจของผู้สูงอายุ ดังนี้ - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 849 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 827 ราย คิดเป็นร้อยละ 97.41

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-สำนักการแพทย์ได้มีการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ มีการสำรวจความพึงพอใจต่อการให้บริการในคลินิกผู้สูงอายุ เพื่อนำผลสำรวจของความพึงพอใจและข้อเสนอแนะมาพัฒนาและปรับปรุงการให้บริการในคลินิกผู้สูงอายุของโรงพยาบาลให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยผลการสำรวจ มีดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 853 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 887 ราย - คิดเป็นร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ 96.17 2. โรงพยาบาลตากสิน - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 381 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 382 - คิดเป็นร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ 99.74 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 80 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 80 ราย - คิดเป็นร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ 100 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 330 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 330 ราย - คิดเป็นร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ 100 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 405 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 409 ราย - คิดเป็นร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ 99.02 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 199 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 230 ราย - คิดเป็นร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ 86.52 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 202 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 213 ราย - คิดเป็นร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ 94.84 8. โรงพยาบาลสิรินธร - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 467 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 479 ราย - คิดเป็นร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ 97.49 9. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป เท่ากับ 46 ราย - จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เท่ากับ 51 ราย - คิดเป็นร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ 90.2 สรุปความพึงพอใจของของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป 2,963 ราย จากจำนวนผู้สูงอายุที่มารับบริการที่คลินิกสูงอายุที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 3,061 ราย คิดเป็นร้อยละ 96.80

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(34) ร้อยละของผู้สูงอายุที่เป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุของสำนักการแพทย์ได้รับการคัดกรองสุขภาพหรือตรวจสุขภาพประจำปี
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด
ร้อยละของผู้สูงอายุที่เป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุของสำนักการแพทย์ได้รับการคัดกรองสุขภาพหรือตรวจสุขภาพประจำปี

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
99.56

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างตรวจสุขภาพประจำปีสมาชิกชมรมผู้สูงอายุของสำนักการแพทย์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อยู่ระหว่างดำเนินการตรวจคัดกรองสุขภาพสมาชิกชมรมผู้สูงอายุในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-โรงพยาบาลที่ดำเนินการตรวจคัดกรองสุขภาพให้กับผู้สูงอายุชมรมผู้สูงอายุในสังกัดสำนักการแพทย์เรียบร้อยแล้ว จำนวน 4 โรงพยาบาล ได้แก่ โรงพยาบาลกลาง โรงพยาบาลตากสิน โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ และโรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ซึ่งผู้สูงอายุจำนวน 2 ราย โรงพยาบาล เวชการุณย์รัศมิ์ จะประสานให้มาตรวจสุขภาพอีกครั้ง โดยมีผลการดำเนินงานดังนี้ - ผู้สูงอายุที่เป็นสมาชิกในชมรมผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรมคัดกรองสุขภาพหรือตรวจสุขภาพประจำปี จำนวน 458 ราย และได้รับการคัดกรองสุขภาพหรือการตรวจสุขภาพประจำปี จำนวน 456 ราย คิดเป็นร้อยละ 99.56 รพล. อยู่ระหว่างดำเนินการ (กำหนดการจัดโครงการเดิมคือในช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน 2563 และจะเลื่อนไปจัดโครงการภายในปีงบประมาณนี้) รพร. อยู่ระหว่างดำเนินการ (โดยจะจัดโครงการในช่วงเดือนมิถุนายน – กรกฎาคม 2563) รพส. อยู่ระหว่างดำเนินการ (ขณะนี้ได้จำนวนผู้สูงอายุที่จะมารับการตรวจสุขภาพแล้วประมาณ 110 ราย และเดิมจัดโครงการในเดือนมีนาคมแต่ติดสถานการณ์โควิด โดยจะเลื่อนไปจัดโครงการภายในปีงบประมาณนี้) รพข. อยู่ระหว่างดำเนินการ (จะจัดโครงการในช่วงเดือนมิถุนายน- กรกฎาคม 2563)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-สำนักการแพทย์ ให้ความสำคัญเกี่ยวกับการดำเนินงานด้านผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการเพื่อส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ได้แก่ โครงการตรวจสุขภาพสมาชิกชมรมผู้สูงอายุประจำปี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สมาชิกชมรมผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีและมีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ และช่วยให้ผู้สูงอายุได้มีโอกาสพบปะสังสรรค์แลกเปลี่ยนทัศนคติประสบการณ์ซึ่งกันและกัน ประกอบกิจการงานเพื่อสังคมร่วมกัน และสำนักการแพทย์ได้ดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุที่อยู่ในชมรมผู้สูงอายุ โดยดำเนินโครงการตรวจสุขภาพสมาชิกชมรมผู้สูงอายุประจำปี มีผลการดำเนินงาน ดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่ได้รับการ คัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจำปี 50 ราย - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรมคัดกรองสุขภาพประจำปี 50 ราย - เท่ากับร้อยละ 100 2. โรงพยาบาลตากสิน - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่ได้รับการ คัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจำปี 62 ราย - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรมคัดกรองสุขภาพประจำปี 62 ราย - เท่ากับร้อยละ 100 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่ได้รับการ คัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจำปี 120 ราย - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรมคัดกรองสุขภาพประจำปี 120 ราย - เท่ากับร้อยละ 100 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่ได้รับการ คัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจำปี 126 ราย - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรมคัดกรองสุขภาพประจำปี 126 ราย - เท่ากับร้อยละ 100 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่ได้รับการ คัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจำปี 100 ราย - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรมคัดกรองสุขภาพประจำปี 100 ราย - เท่ากับร้อยละ 100 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่ได้รับการ คัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจำปี 100 ราย - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรมคัดกรองสุขภาพประจำปี 100 ราย - เท่ากับร้อยละ 100 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่ได้รับการ คัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจำปี 90 ราย - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรมคัดกรองสุขภาพประจำปี 90 ราย - เท่ากับร้อยละ 100 8. โรงพยาบาลสิรินธร - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่ได้รับการ คัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจำปี 93 ราย - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรมคัดกรองสุขภาพประจำปี 93 ราย - เท่ากับร้อยละ 100 9. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่ได้รับการ คัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจำปี 70 ราย - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรมคัดกรองสุขภาพประจำปี 70 ราย - เท่ากับร้อยละ 100 สรุปจำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่ได้รับการ คัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจำปี 811 ราย และ มีจำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรมคัดกรองสุขภาพประจำปี 811 ราย เท่ากับร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๓.๑ - ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(35) ร้อยละของผู้สูงอายุที่เป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุของสำนักการแพทย์ได้รับการคัดกรองสุขภาพหรือตรวจสุขภาพประจำปี
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๒ มีระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส
ร้อยละของผู้สูงอายุที่เป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุของสำนักการแพทย์ได้รับการคัดกรองสุขภาพหรือตรวจสุขภาพประจำปี

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
99.56

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างตรวจสุขภาพประจำปีสมาชิกชมรมผู้สูงอายุของสำนักการแพทย์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อยู่ระหว่างดำเนินการตรวจคัดกรองสุขภาพสมาชิกชมรมผู้สูงอายุในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-โรงพยาบาลที่ดำเนินการตรวจคัดกรองสุขภาพให้กับผู้สูงอายุชมรมผู้สูงอายุในสังกัดสำนักการแพทย์เรียบร้อยแล้ว จำนวน 4 โรงพยาบาล ได้แก่ โรงพยาบาลกลาง โรงพยาบาลตากสิน โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ และโรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ซึ่งผู้สูงอายุจำนวน 2 ราย โรงพยาบาล เวชการุณย์รัศมิ์ จะประสานให้มาตรวจสุขภาพอีกครั้ง โดยมีผลการดำเนินงานดังนี้ - ผู้สูงอายุที่เป็นสมาชิกในชมรมผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรมคัดกรองสุขภาพหรือตรวจสุขภาพประจำปี จำนวน 458 ราย และได้รับการคัดกรองสุขภาพหรือการตรวจสุขภาพประจำปี จำนวน 456 ราย คิดเป็นร้อยละ 99.56 รพล. อยู่ระหว่างดำเนินการ (กำหนดการจัดโครงการเดิมคือในช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน 2563 และจะเลื่อนไปจัดโครงการภายในปีงบประมาณนี้) รพร. อยู่ระหว่างดำเนินการ (โดยจะจัดโครงการในช่วงเดือนมิถุนายน – กรกฎาคม 2563) รพส. อยู่ระหว่างดำเนินการ (ขณะนี้ได้จำนวนผู้สูงอายุที่จะมารับการตรวจสุขภาพแล้วประมาณ 110 ราย และเดิมจัดโครงการในเดือนมีนาคมแต่ติดสถานการณ์โควิด โดยจะเลื่อนไปจัดโครงการภายในปีงบประมาณนี้) รพข. อยู่ระหว่างดำเนินการ (จะจัดโครงการในช่วงเดือนมิถุนายน- กรกฎาคม 2563)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-สำนักการแพทย์ ให้ความสำคัญเกี่ยวกับการดำเนินงานด้านผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการเพื่อส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ได้แก่ โครงการตรวจสุขภาพสมาชิกชมรมผู้สูงอายุประจำปี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สมาชิกชมรมผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีและมีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ และช่วยให้ผู้สูงอายุได้มีโอกาสพบปะสังสรรค์แลกเปลี่ยนทัศนคติประสบการณ์ซึ่งกันและกัน ประกอบกิจการงานเพื่อสังคมร่วมกัน และสำนักการแพทย์ได้ดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุที่อยู่ในชมรมผู้สูงอายุ โดยดำเนินโครงการตรวจสุขภาพสมาชิกชมรมผู้สูงอายุประจำปี มีผลการดำเนินงาน ดังนี้ 1. โรงพยาบาลกลาง - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่ได้รับการ คัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจำปี 50 ราย - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรมคัดกรองสุขภาพประจำปี 50 ราย - เท่ากับร้อยละ 100 2. โรงพยาบาลตากสิน - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่ได้รับการ คัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจำปี 62 ราย - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรมคัดกรองสุขภาพประจำปี 62 ราย - เท่ากับร้อยละ 100 3. โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่ได้รับการ คัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจำปี 120 ราย - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรมคัดกรองสุขภาพประจำปี 120 ราย - เท่ากับร้อยละ 100 4. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่ได้รับการ คัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจำปี 126 ราย - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรมคัดกรองสุขภาพประจำปี 126 ราย - เท่ากับร้อยละ 100 5. โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่ได้รับการ คัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจำปี 100 ราย - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรมคัดกรองสุขภาพประจำปี 100 ราย - เท่ากับร้อยละ 100 6. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่ได้รับการ คัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจำปี 100 ราย - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรมคัดกรองสุขภาพประจำปี 100 ราย - เท่ากับร้อยละ 100 7. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่ได้รับการ คัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจำปี 90 ราย - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรมคัดกรองสุขภาพประจำปี 90 ราย - เท่ากับร้อยละ 100 8. โรงพยาบาลสิรินธร - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่ได้รับการ คัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจำปี 93 ราย - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรมคัดกรองสุขภาพประจำปี 93 ราย - เท่ากับร้อยละ 100 9. โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่ได้รับการ คัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจำปี 70 ราย - จำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรมคัดกรองสุขภาพประจำปี 70 ราย - เท่ากับร้อยละ 100 สรุปจำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่ได้รับการ คัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจำปี 811 ราย และ มีจำนวนสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรมคัดกรองสุขภาพประจำปี 811 ราย เท่ากับร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(36) จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุ (โครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด
จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุ  (โครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก)

หน่วยนับ :ราย

เป้าหมาย :5,000.00

ผลงาน :8.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ราย)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
3.00

100 / 100
2
3.00

100 / 100
3
5.00

0 / 0
4
8.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รพ.กลาง จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 400 ราย รพ.ตากสิน จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 468 ราย รพ.เจริญกรุงประชารักษ์ จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 481 ราย รพ.หลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 345 ราย รพ.เวชการุณย์รัศมิ์ จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 377 ราย รพ.ลาดกระบังกรุงเทพมหานคร จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 308 ราย รพ.ราชพิพัฒน์ จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 623 ราย รพ.สิรินธร จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 428 ราย รพ.บางขุนเทียน จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 301 ราย รวมจำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง เท่ากับ 3,731 ราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-รพ.กลาง จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 400 ราย รพ.ตากสิน จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 468 ราย รพ.เจริญกรุงประชารักษ์ จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 481 ราย รพ.หลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 345 ราย รพ.เวชการุณย์รัศมิ์ จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 377 ราย รพ.ลาดกระบังกรุงเทพมหานคร จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 308 ราย รพ.ราชพิพัฒน์ จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 623 ราย รพ.สิรินธร จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 428 ราย รพ.บางขุนเทียน จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 301 ราย รวมจำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง เท่ากับ 3,731 ราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-รพ.กลาง จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 627 ราย รพ.ตากสิน จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 760 ราย รพ.เจริญกรุงประชารักษ์ จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 633 ราย รพ.หลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 477 ราย รพ.เวชการุณย์รัศมิ์ จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 650 ราย รพ.ลาดกระบังกรุงเทพมหานคร จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 457 ราย รพ.ราชพิพัฒน์ จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 833 ราย รพ.สิรินธร จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 524 ราย รพ.บางขุนเทียน จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 241 ราย รวมจำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง เท่ากับ 5,202 ราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-สำนักการแพทย์ได้จัดทำโครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก รวมถึงส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และเป็นการเพิ่มการค้นพบโรคเรื้อรังในระยะเริ่มแรกของผู้สูงอายุ โดยการตรวจคัดกรองกลุ่มอาการที่เกิดในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome) จำนวน 5,000 รายเริ่มดำเนินการตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2562 – 30 กันยายน 2563 ณ โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร การตรวจคัดกรองกลุ่มอาการที่เกิดในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome) จำนวน 10 รายการ ดังนี้ 11. ซักประวัติและตรวจร่างกายโดยแพทย์ 12. คัดกรองความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันตามแบบประเมิน ADL 13. ประเมินภาวะซึมเศร้า 2 คำถาม (2Q) 14. คัดกรองความบกพร่องทางการมองเห็น: ตรวจสายตา (Visual Acuity Test) 15. ประเมินความเสี่ยงโรคกระดูกพรุนด้วย OSTA index 16. ประเมินสมรรถภาพสมอง (IQ CODE) 17. ประเมินภาวะโภชนาการ 18. คัดกรองภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ (Incontinence) 19. คัดกรองภาวะหกล้ม (Fall) 20. การให้คำปรึกษากับผู้สูงอายุ เฉพาะที่คลินิกผู้สูงอายุครบวงจร ได้แก่ ด้านยา ด้านทันตกรรม ด้านอาหาร ด้านกายภาพบำบัด โดยมีผลการดำเนินงาน ดังนี้ - โรงพยาบาลกลาง 755 ราย - โรงพยาบาลตากสิน 903 ราย - โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ 744 ราย - โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ 679 ราย - โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ 1,754 ราย - โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร474 ราย - โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ 2,135 ราย - โรงพยาบาลสิรินธร 634 ราย - โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน 643 ราย รวมทั้งสิ้น 8,721 ราย

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(37) จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุ (โครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๑.๒ มีระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส
จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองกลุ่มอาการที่มีในผู้สูงอายุ  (โครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก)

หน่วยนับ :ราย

เป้าหมาย :5,000.00

ผลงาน :8.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ราย)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
3.00

100 / 100
2
3.00

100 / 100
3
5.00

0 / 0
4
8.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รพ.กลาง จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 400 ราย รพ.ตากสิน จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 468 ราย รพ.เจริญกรุงประชารักษ์ จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 481 ราย รพ.หลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 345 ราย รพ.เวชการุณย์รัศมิ์ จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 377 ราย รพ.ลาดกระบังกรุงเทพมหานคร จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 308 ราย รพ.ราชพิพัฒน์ จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 623 ราย รพ.สิรินธร จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 428 ราย รพ.บางขุนเทียน จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 301 ราย รวมจำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง เท่ากับ 3,731 ราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-รพ.กลาง จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 400 ราย รพ.ตากสิน จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 468 ราย รพ.เจริญกรุงประชารักษ์ จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 481 ราย รพ.หลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 345 ราย รพ.เวชการุณย์รัศมิ์ จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 377 ราย รพ.ลาดกระบังกรุงเทพมหานคร จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 308 ราย รพ.ราชพิพัฒน์ จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 623 ราย รพ.สิรินธร จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 428 ราย รพ.บางขุนเทียน จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 301 ราย รวมจำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง เท่ากับ 3,731 ราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-รพ.กลาง จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 627 ราย รพ.ตากสิน จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 760 ราย รพ.เจริญกรุงประชารักษ์ จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 633 ราย รพ.หลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 477 ราย รพ.เวชการุณย์รัศมิ์ จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 650 ราย รพ.ลาดกระบังกรุงเทพมหานคร จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 457 ราย รพ.ราชพิพัฒน์ จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 833 ราย รพ.สิรินธร จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 524 ราย รพ.บางขุนเทียน จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง 241 ราย รวมจำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง เท่ากับ 5,202 ราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-สำนักการแพทย์ได้จัดทำโครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก รวมถึงส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และเป็นการเพิ่มการค้นพบโรคเรื้อรังในระยะเริ่มแรกของผู้สูงอายุ โดยการตรวจคัดกรองกลุ่มอาการที่เกิดในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome) จำนวน 5,000 รายเริ่มดำเนินการตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2562 – 30 กันยายน 2563 ณ โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร การตรวจคัดกรองกลุ่มอาการที่เกิดในผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome) จำนวน 10 รายการ ดังนี้ 11. ซักประวัติและตรวจร่างกายโดยแพทย์ 12. คัดกรองความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันตามแบบประเมิน ADL 13. ประเมินภาวะซึมเศร้า 2 คำถาม (2Q) 14. คัดกรองความบกพร่องทางการมองเห็น: ตรวจสายตา (Visual Acuity Test) 15. ประเมินความเสี่ยงโรคกระดูกพรุนด้วย OSTA index 16. ประเมินสมรรถภาพสมอง (IQ CODE) 17. ประเมินภาวะโภชนาการ 18. คัดกรองภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ (Incontinence) 19. คัดกรองภาวะหกล้ม (Fall) 20. การให้คำปรึกษากับผู้สูงอายุ เฉพาะที่คลินิกผู้สูงอายุครบวงจร ได้แก่ ด้านยา ด้านทันตกรรม ด้านอาหาร ด้านกายภาพบำบัด โดยมีผลการดำเนินงาน ดังนี้ - โรงพยาบาลกลาง 755 ราย - โรงพยาบาลตากสิน 903 ราย - โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ 744 ราย - โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ 679 ราย - โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ 1,754 ราย - โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร474 ราย - โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ 2,135 ราย - โรงพยาบาลสิรินธร 634 ราย - โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน 643 ราย รวมทั้งสิ้น 8,721 ราย

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๗.๓ - การบริหารทรัพยากรบุคคล

(38) ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

๗.๓.๑ บุคลากรกรุงเทพมหานครเป็นผู้ปฏิบัติงานแบบมืออาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม และเป็นที่เชื่
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :37.50

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
10.61

100 / 100
3
21.21

0 / 0
4
37.50

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

สำนักการแพทย์ดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดงานประจำทั้งหมด 66 โครงการ อยู่ระหว่างดำเนินการ จำนวน 53 โครงการ ชะลอโครงการ จำนวน 6 โครงการ แล้วเสร็จ จำนวน 7 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 10.61

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-สำนักการแพทย์ดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดงานประจำทั้งหมด 66 โครงการ อยู่ระหว่างดำเนินการ จำนวน 11 โครงการ ชะลอโครงการ จำนวน 7 โครงการ ยกเลิกโครงการ 34 จำนวน แล้วเสร็จ จำนวน 14 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 21.21

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-สำนักการแพทย์ดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดงานประจำทั้งหมด 64 โครงการ อยู่ระหว่างดำเนินการ จำนวน 1 โครงการ ยกเลิกโครงการ 39 จำนวน แล้วเสร็จ จำนวน 24 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 37.50

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๗.๕ - เทคโนโลยีสารสนเทศ

(39) ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล
[มิติที่ 1 : ]

๗.๕.๑ กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์
ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล

หน่วยนับ :ขั้นตอน

เป้าหมาย :5.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ขั้นตอน)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
3.00

100 / 100
3
5.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ขั้นตอนที่ 1 สำนักการแพทย์ทบทวนสถานะข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาเป็นฐานข้อม฿ล หรือฐานข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นข้อมูลสำคัญที่นำไปประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร โดยพิจารณาจากนโยบาย แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร มาตรฐานบริการสาธารณะของกรุงเทพมหานคร ขั้นตอนที่ 2 สำนักการแพทย์นำข้อมูลตามขั้นตอนที่ 1 ซึ่งเป็นข้อมูลจำเป็นตามภารกิจหลักมาจัดลำดับความสำคัญและพิจารณาคัดเลือกภารกิจหลัก ที่จะดำเนินการพัฒนาเป็นฐานข้อมูล จำนวน 1 ฐานข้อมูล ขั้นตอนที่ 3 สำนักการแพทย์ได้จัดทำแผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน และส่งให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ตามบันทึกที่ กท 0602/2463 ลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2563 เรื่อง ส่งแบบทบทวนสถานะข้อมูล และแผนพัฒนาฐานข้อมูลตามตัวชี้วัด 4.1 ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน สำนักกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ขั้นตอนที่ 4 สำนักการแพทย์ดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูล ซี่งสามารถเชื่อมโยงระบบสารสนเทศกรุงเทพมหานครที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลกำหนด จำนวน 20 ตัวชี้วัด และได้แจ้งผลการนำเข้าข้อมูลประกอบตัวชี้วัดฯ ไปยังสยป. ตามบันทึกที่ กท 0602/5817 ลงวันที่ 21 พ.ค.63 เรื่องแจ้งการดำเนินการนำเข้าข้อมูลประกอบตัวชี้วัดตามตัวชี้วัดที่ 4.1 ขั้นตอนที่5 สำนักการแพทย์ได้นำเข้าข้อมูลในฐานข้อมูลตามขั้นตอนที่ 4 โดยเริ่มนำเข้าข้อมูลครั้งแรกในเดือนมิถุนายน 2563 ขณะนี้อยู่ระหว่าง สยป ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-คำชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงาน : ตามที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ได้กำหนดแนวทางการดำเนินงานตัวชี้วัด 4.1 ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูล ไว้ในคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 และตามหนังสือสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ด่วนที่สุด ที่ กท 0502/230 ลงวันที่ 29 มกราคม 2563 โดยกำหนดขั้นตอนการดำเนินงานเป็น 5 ขั้นตอน ซึ่งสำนักการแพทย์ได้ดำเนินการตามแนวทางดังกล่าว ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 - 2 ทบทวนสถานะข้อมูลปัจจุบัน โดยพิจารณาจากบัญชีตัวชี้วัดระดับเมือง และจัดลำดับความสำคัญให้สอดคล้องกับภารกิจหลักของสำนักการแพทย์ ประกอบด้วย 21 ตัวชี้วัด ดังนี้ 1.1 ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง 1.2 ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ 1.3 ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ 1.4 อัตราการตายของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน Ischemic Heart, CKD, Stroke 1.5 อัตราการตายของผู้ป่วยโรคความความดันโลหิตสูงด้วย Intracerebral Hemorrhage หรือ Hemorrhagic Stroke 1.6 จำนวนคลินิกผู้สูงอายุที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน “คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ” 1.7 ร้อยละของความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิกผู้สูงอายุ 1.8 ร้อยละของผู้สูงอายุที่เป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่เป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุของศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย และสมาชิกชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ได้รับการคัดกรองสุขภาพหรือตรวจสุขภาพประจำปี 1.9 สตรีในช่วงอายุ 30 – 70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม 1.10 สตรีในช่วงอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 1.11 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15 - 19 ปี 1.12 อัตราป่วยโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ (ไข้หวัดใหญ่) 1.13 ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการอ้วนลงพุงมีรอบเอวหรือค่า BMI ลดลงจากเดิม 1.14 ร้อยละของความสำเร็จในการผ่านการตรวจประเมินมาตรฐานคุณภาพโรงพยาบาล (Re - Accreditaion) 1.15 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาศักยภาพโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิระดับสูง และระดับตติยภูมิระดับสูง 1.16 ความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อการให้บริการของโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร 1.17 ร้อยละของชาว กทม. มีดัชนีมวลกาย (BMI) อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน 1.18 ความสำเร็จในการส่งต่อระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ 1.19 ความสำเร็จในการส่งต่อระหว่างโรงพยาบาลกับศูนย์บริการสาธารณสุข 1.20 ร้อยละของผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินที่ขอรับบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินขั้นสูง (Advance) /ขั้นพื้นฐาน (Basic) สามารถรับบริการตามเวลาที่กำหนด (10 นาที และ 15 นาที ตามลำดับ) 1.21 ร้อยละผลงานวิจัย/Innovation/R2R ที่นำไปใช้ในการปฏิบัติงาน ขั้นตอนที่ 3 จัดทำแผนพัฒนาข้อมูล ตามแบบฟอร์ม สยป.4.1 (1) และแบบฟอร์ม สยป.4.1 (3) และส่งข้อมูลดังกล่าวให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ตามหนังสือสำนักการแพทย์ ด่วนที่สุด ที่ กท 0602/2463 ลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2563 ขั้นตอนที่ 4 พัฒนาฐานข้อมูลตามผลการพิจารณาของคณะกรรมการกำกับการพัฒนาฐานข้อมูลฯ ซึ่งสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้แจ้งตามหนังสือด่วนที่สุด ที่ กท 0502/787 ลงวันที่ 28 เมษายน 2563 โดยสำนักการแพทย์ได้ดำเนินการดังนี้ 4.1 จัดส่งเอกสารข้อมูลประกอบตัวชี้วัดฯ ไปยังสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ตามหนังสือสำนักการแพทย์ ด่วนที่สุด ที่ กท 0602/5147 ลงวันที่ 1 พฤษภาคม 2563 โดยสำนักการแพทย์ได้ตัดตัวชี้วัดข้อ 1.17 ร้อยละของชาว กทม. มีดัชนีมวลกาย (BMI) อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน เนื่องจากตัวชี้วัดดังกล่าวไม่ถือเป็นตัวชี้วัดของสำนักการแพทย์ เป็นเพียงผู้สนับสนุนข้อมูลแก่เจ้าภาพหลักเท่านั้น 4.2 ศึกษาวิธีการนำเข้าข้อมูลในระบบบันทึกฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัด 4.1 ทางเว็บไซต์ http://monitor.bangkok.go.th : 8080/bma4.1/index.php ร่วมกับเจ้าหน้าที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2563 เวลา 09.00 – 12.00 น. ผ่านโปรแกรม Microsoft Team 4.3 แจ้งผลการดำเนินการตามข้อ 4.1 โดยแนบเอกสารการบันทึกข้อมูลประกอบตัวชี้วัดเมืองทุกรายการ ไปยังสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ตามหนังสือสำนักการแพทย์ ด่วนที่สุด ที่ กท 0602/5817 ลงวันที่ 21 พฤษภาคม 2563 ขั้นตอนที่ 5 นำเข้าข้อมูลในระบบบันทึกฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัด 4.1 ดังนี้ 5.1 ข้อมูลที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงหรือเปลี่ยนแปลงเป็นรายปี ได้แก่ ตัวชี้วัดข้อ 1.1 – 1.18 และข้อ 1.20 ดำเนินการนำเข้าข้อมูลภายในวันที่ 15 มิถุนายน 2563 เป็นที่เรียบร้อยแล้ว 5.2 ข้อมูลที่การเปลี่ยนแปลงเป็นรายเดือน ได้แก่ ตัวชี้วัดข้อ 1.19 ดำเนินการนำเข้าข้อมูลตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงเดือนกันยายน 2563

** สรุปผลการดำเนินงาน **