ผลการปฏิบัติราชการประจำปี : 2564 ของหน่วยงาน : 09000000

Home Home SED


๓.๓ - การศึกษาสำหรับทุกคน

(1) ร้อยละของนักเรียนระดับปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๓.๒ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ร้อยละของนักเรียนระดับปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :90.00

ผลงาน :99.25

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

0 / 0
4
99.25

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. ดำเนินการชี้แจงแนวทางการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยให้แก่หัวหน้าฝ่ายการศึกษาทุกเขตเรียบร้อยแล้ว 2. จัดอบรมทักษะการจัดประสบการณ์และการดำเนินงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยให้กับครูผู้สอนระดับปฐมวัยจำนวน 3 รุ่น รวม 500 คน เพื่อนำไปใช้ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบสืบเสาะสำหรับเด็กปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. ติดตามการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ของครูปฐมวัยที่ผ่านการอบรมทั้ง 3 รุ่น ผ่านระบบออนไลน์ 2. นิเทศการจัดการเรียนรู้ของผู้สอนระดับปฐมวัยโดยศึกษานิเทศก์ประจำโรงเรียน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. ติดตามการประเมินพัฒนาการของครูผู้สอนในระดับปฐมวัยปลายปีการศึกษา 2563 โดยศึกษานิเทศก์ประจำโรงเรียน 2. อยู่ระหว่างการรวบรวมผลการประเมินพัฒนาการของนักเรียน จากโรงเรียนทั้ง 429 โรงเรียน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สรุปผลการประเมินพัฒนาการ และรายงานในส่วนที่เกี่ยวข้อง เรียบร้อย

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(2) ร้อยละของนักเรียนระดับปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๓.๑ เด็กที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครทุกคนจะต้องได้รับการศึกษาตามความต้องการ
ร้อยละของนักเรียนระดับปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :90.00

ผลงาน :99.25


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

0 / 0
4
99.25

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. ดำเนินการชี้แจงแนวทางการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยให้แก่หัวหน้าฝ่ายการศึกษาทุกเขตเรียบร้อยแล้ว 2. จัดอบรมทักษะการจัดประสบการณ์และการดำเนินงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยให้กับครูผู้สอนระดับปฐมวัยจำนวน 3 รุ่น รวม 500 คน เพื่อนำไปใช้ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบสืบเสาะสำหรับเด็กปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. ติดตามการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ของครูปฐมวัยที่ผ่านการอบรมทั้ง 3 รุ่น ผ่านระบบออนไลน์ 2. นิเทศการจัดการเรียนรู้ของผู้สอนระดับปฐมวัยโดยศึกษานิเทศก์ประจำโรงเรียน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. ติดตามการประเมินพัฒนาการของครูผู้สอนในระดับปฐมวัยปลายปีการศึกษา 2563 โดยศึกษานิเทศก์ประจำโรงเรียน 2. อยู่ระหว่างการรวบรวมผลการประเมินพัฒนาการของนักเรียน จากโรงเรียนทั้ง 429 โรงเรียน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สรุปผลการประเมินพัฒนาการ และรายงานในส่วนที่เกี่ยวข้อง เรียบร้อย

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(3) จำนวนอัตรากำลังที่ว่างและการโอนกลับภูมิลำเนาของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครลดลง
[มิติที่ 1 : ]

๓.๓.๒ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
จำนวนอัตรากำลังที่ว่างและการโอนกลับภูมิลำเนาของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครลดลง

หน่วยนับ :ลดลงร้อยละ

เป้าหมาย :10.00

ผลงาน :80.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ลดลงร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00

100 / 100
2
20.00

100 / 100
3
80.00

0 / 0
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างการรวบรวมข้อมูลในแต่ละโครงการที่สนับสนุนตัวชี้วัด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างการศึกษาวิธีการดำเนินการโครงการ สำหรับโครงการทุนเอราวัณ อยู่ระหว่างรับสมัครผู้มีคุณสมบัติเข้ารับการคัดเลือกเป็นนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีทางการศึกษา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

การดำเนินการตามตัวชี้วัดนี้ โครงการที่สนับสนุนโครงการ มีโครงการงานประจำร่วมด้วยและเป็นโครงการสำคัญในการลดอัตราว่างของครู คือ โครงการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ซึ่งในขณะนี้ ได้มีการเรียกผู้ที่สอบแข่งขันได้เข้ารับการบรรจุและแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งครูผู้ช่วย เพื่อลดอัตราว่างของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(4) จำนวนอัตรากำลังที่ว่างและการโอนกลับภูมิลำเนาของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครลดลง
[มิติที่ 1 : ]

๓.๓.๑ เด็กที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครทุกคนจะต้องได้รับการศึกษาตามความต้องการ
จำนวนอัตรากำลังที่ว่างและการโอนกลับภูมิลำเนาของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครลดลง

หน่วยนับ :ลดลงร้อยละ

เป้าหมาย :10.00

ผลงาน :80.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ลดลงร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00

100 / 100
2
20.00

100 / 100
3
80.00

0 / 0
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างการรวบรวมข้อมูลในแต่ละโครงการที่สนับสนุนตัวชี้วัด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างการศึกษาวิธีการดำเนินการโครงการ สำหรับโครงการทุนเอราวัณ อยู่ระหว่างรับสมัครผู้มีคุณสมบัติเข้ารับการคัดเลือกเป็นนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีทางการศึกษา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

การดำเนินการตามตัวชี้วัดนี้ โครงการที่สนับสนุนโครงการ มีโครงการงานประจำร่วมด้วยและเป็นโครงการสำคัญในการลดอัตราว่างของครู คือ โครงการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ซึ่งในขณะนี้ ได้มีการเรียกผู้ที่สอบแข่งขันได้เข้ารับการบรรจุและแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งครูผู้ช่วย เพื่อลดอัตราว่างของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(5) ร้อยละของโรงเรียนที่ดำเนินการประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยผ่านระดับดีขึ้นไป
[มิติที่ 1 : ]

๓.๓.๒ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ร้อยละของโรงเรียนที่ดำเนินการประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยผ่านระดับดีขึ้นไป

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :93.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

0 / 0
4
93.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. จัดทำเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินคุณภาพการดำเนินงานการประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย 2. จัดส่งแนวทางและเกณฑ์การประเมินไปยังสถานศึกษา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. นิเทศการวัดและประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ในรูปแบบออนไลน์ ผ่านการตรวจสอบแผนการจัดประสบการณ์ของหน่วยการเรียนรู้ 2. นิเทศการจัดการเรียนรู้และการประเมินกระบวนการประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้ โดยศึกษานิเทศก์ประจำโรงเรียน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกิจกรรมประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย คำสั่งสำนักการศึกษาเลขที่ 53/2564 2. นัดหมายเพื่อประชุมแนวทางการประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยผ่านระบบออนไลน์ในวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 ประกอบด้วย หัวหน้าฝ่ายการศึกษา สาธารณสุขประจำโรงเรียน และศึกษานิเทศก์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

คณะกรรมการออกประเมินกระบวนการประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้ของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหาครระหว่างเดือน พฤษภาคม - สิงหาคม 2564 รวบรวมและนำข้อมูลมาวิเคราะห์และสรุปผลการประเมินเรียบร้อย

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(6) ร้อยละของโรงเรียนที่ดำเนินการประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยผ่านระดับดีขึ้นไป
[มิติที่ 1 : ]

๓.๓.๑ เด็กที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครทุกคนจะต้องได้รับการศึกษาตามความต้องการ
ร้อยละของโรงเรียนที่ดำเนินการประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยผ่านระดับดีขึ้นไป

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :93.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

0 / 0
4
93.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. จัดทำเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินคุณภาพการดำเนินงานการประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย 2. จัดส่งแนวทางและเกณฑ์การประเมินไปยังสถานศึกษา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. นิเทศการวัดและประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ในรูปแบบออนไลน์ ผ่านการตรวจสอบแผนการจัดประสบการณ์ของหน่วยการเรียนรู้ 2. นิเทศการจัดการเรียนรู้และการประเมินกระบวนการประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้ โดยศึกษานิเทศก์ประจำโรงเรียน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกิจกรรมประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย คำสั่งสำนักการศึกษาเลขที่ 53/2564 2. นัดหมายเพื่อประชุมแนวทางการประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยผ่านระบบออนไลน์ในวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 ประกอบด้วย หัวหน้าฝ่ายการศึกษา สาธารณสุขประจำโรงเรียน และศึกษานิเทศก์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

คณะกรรมการออกประเมินกระบวนการประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้ของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหาครระหว่างเดือน พฤษภาคม - สิงหาคม 2564 รวบรวมและนำข้อมูลมาวิเคราะห์และสรุปผลการประเมินเรียบร้อย

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(7) จำนวนโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครที่ทบทวนและปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาไปสู่หลักสูตรที่เน้นสมรรถนะผู้เรียน
[มิติที่ 1 : ]

๓.๓.๒ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
จำนวนโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครที่ทบทวนและปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาไปสู่หลักสูตรที่เน้นสมรรถนะผู้เรียน

หน่วยนับ :จำนวน

เป้าหมาย :0.00

ผลงาน :0.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(จำนวน)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

0 / 0
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(8) จำนวนโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครที่ทบทวนและปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาไปสู่หลักสูตรที่เน้นสมรรถนะผู้เรียน
[มิติที่ 1 : ]

๓.๓.๑ เด็กที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครทุกคนจะต้องได้รับการศึกษาตามความต้องการ
จำนวนโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครที่ทบทวนและปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาไปสู่หลักสูตรที่เน้นสมรรถนะผู้เรียน

หน่วยนับ :จำนวน

เป้าหมาย :0.00

ผลงาน :0.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(จำนวน)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

0 / 0
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(9) ร้อยละของนักเรียนระดับประถมศึกษาที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ ๕๐ ขึ้นไป
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๓.๒ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ร้อยละของนักเรียนระดับประถมศึกษาที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ ๕๐ ขึ้นไป

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :34.00

ผลงาน :33.41


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
33.41

0 / 0
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ศูนย์สอบกรุงเทพมหานครได้ดำเนินการจัดการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในวันที่ 13 มีนาคม 2564 โดยให้เป็นสิทธิส่วนบุคคลของนักเรียนที่จะเข้ารับการทดสอบตามความสมัครใจ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 แล้ว เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2564 มีนักเรียนยืนยันความสมัครใจเข้าสอบจาก 204 โรงเรียน จำนวน 21,011 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67 จากนักเรียนที่มีสิทธิสอบ และมีกำหนดประกาศผลการทดสอบในวันที่ 21 เมษายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ประกาศผลสอบเสร็จสิ้นเมื่อวันที่ 21 เมษายน 2564 พบว่า ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของตัวชี้วัดร้อยละของนักเรียนระดับประถมศึกษาที่มีคะแนนผลการทดสอบ O-NET แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป ในปีการศึกษา 2563 คือ ร้อยละ 33.41 เป็นไปตามเป้าหมายที่ร้อยละ 30

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(10) ร้อยละของนักเรียนระดับประถมศึกษาที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ ๕๐ ขึ้นไป
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๓.๑ เด็กที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครทุกคนจะต้องได้รับการศึกษาตามความต้องการ
ร้อยละของนักเรียนระดับประถมศึกษาที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ ๕๐ ขึ้นไป

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :34.00

ผลงาน :33.41


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
33.41

0 / 0
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ศูนย์สอบกรุงเทพมหานครได้ดำเนินการจัดการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในวันที่ 13 มีนาคม 2564 โดยให้เป็นสิทธิส่วนบุคคลของนักเรียนที่จะเข้ารับการทดสอบตามความสมัครใจ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 แล้ว เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2564 มีนักเรียนยืนยันความสมัครใจเข้าสอบจาก 204 โรงเรียน จำนวน 21,011 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67 จากนักเรียนที่มีสิทธิสอบ และมีกำหนดประกาศผลการทดสอบในวันที่ 21 เมษายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ประกาศผลสอบเสร็จสิ้นเมื่อวันที่ 21 เมษายน 2564 พบว่า ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของตัวชี้วัดร้อยละของนักเรียนระดับประถมศึกษาที่มีคะแนนผลการทดสอบ O-NET แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป ในปีการศึกษา 2563 คือ ร้อยละ 33.41 เป็นไปตามเป้าหมายที่ร้อยละ 30

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(11) ร้อยละคะแนนเฉลี่ยของผลการประเมินความสามารถพื้นฐานของนักเรียนที่ได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๓.๒ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ร้อยละคะแนนเฉลี่ยของผลการประเมินความสามารถพื้นฐานของนักเรียนที่ได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :50.00

ผลงาน :42.04


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
42.04

0 / 0
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ผู้แทนจากสำนักการศึกษาร่วมประชุมชี้แจงศูนย์สอบในการจัดทำแผนและสื่อสารสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินคุณภาพผู้เรียน จัดโดย สพฐ. พร้อมผู้แทนจาก 50 สำนักงานเขต และอยู่ระหว่างจัดประชุมขยายผลแนวทางการดำเนินการจัดสอบ การใช้ระบบ NT Access โครงสร้างแบบทดสอบ (Test Blueprint) และตัวอย่างข้อสอบ โดยผู้แทนสำนักงานเขต

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

สำนักการศึกษาได้ประสานงานการจัดสอบ โดยจัดสอบ NT ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครและตรวจข้อสอบแล้วเสร็จ เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2564 โดยมีผู้บริหารสำนักการศึกษาและสำนักงานเขตร่วมตรวจเยี่ยมการจัดสอบและการตรวจข้อสอบให้เป็นไปตามมาตรฐานการทดสอบ ซึ่งผลการดำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ซึ่งจะมีการประกาศผลโดย สพฐ. ในวันที่ 5 พฤษภาคม 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ระดับกรุงเทพมหานครรวมทั้ง 2 ด้าน คือ 42.04 เมื่อนำมาคิดคะแนนตามเกณฑ์การให้คะแนนของตัวชี้วัดร้อยละคะแนนเฉลี่ยของผลการประเมินความสามารถพื้นฐานของนักเรียนที่ได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 คะแนนที่ได้รับ คือ 6 คะแนน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(12) ร้อยละคะแนนเฉลี่ยของผลการประเมินความสามารถพื้นฐานของนักเรียนที่ได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๓.๑ เด็กที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครทุกคนจะต้องได้รับการศึกษาตามความต้องการ
ร้อยละคะแนนเฉลี่ยของผลการประเมินความสามารถพื้นฐานของนักเรียนที่ได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :50.00

ผลงาน :42.04


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
42.04

0 / 0
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ผู้แทนจากสำนักการศึกษาร่วมประชุมชี้แจงศูนย์สอบในการจัดทำแผนและสื่อสารสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินคุณภาพผู้เรียน จัดโดย สพฐ. พร้อมผู้แทนจาก 50 สำนักงานเขต และอยู่ระหว่างจัดประชุมขยายผลแนวทางการดำเนินการจัดสอบ การใช้ระบบ NT Access โครงสร้างแบบทดสอบ (Test Blueprint) และตัวอย่างข้อสอบ โดยผู้แทนสำนักงานเขต

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

สำนักการศึกษาได้ประสานงานการจัดสอบ โดยจัดสอบ NT ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครและตรวจข้อสอบแล้วเสร็จ เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2564 โดยมีผู้บริหารสำนักการศึกษาและสำนักงานเขตร่วมตรวจเยี่ยมการจัดสอบและการตรวจข้อสอบให้เป็นไปตามมาตรฐานการทดสอบ ซึ่งผลการดำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ซึ่งจะมีการประกาศผลโดย สพฐ. ในวันที่ 5 พฤษภาคม 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ระดับกรุงเทพมหานครรวมทั้ง 2 ด้าน คือ 42.04 เมื่อนำมาคิดคะแนนตามเกณฑ์การให้คะแนนของตัวชี้วัดร้อยละคะแนนเฉลี่ยของผลการประเมินความสามารถพื้นฐานของนักเรียนที่ได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 คะแนนที่ได้รับ คือ 6 คะแนน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(13) ร้อยละของนักเรียนรระดับประถมศึกษาที่มีผลคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แตะละวิชาผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๓.๒ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ร้อยละของนักเรียนรระดับประถมศึกษาที่มีผลคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แตะละวิชาผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :0.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

0 / 0
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(14) ร้อยละของนักเรียนรระดับประถมศึกษาที่มีผลคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แตะละวิชาผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๓.๑ เด็กที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครทุกคนจะต้องได้รับการศึกษาตามความต้องการ
ร้อยละของนักเรียนรระดับประถมศึกษาที่มีผลคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แตะละวิชาผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :0.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

0 / 0
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(15) ร้อยละของโรงเรียนที่เข้ารับการประเมินคุณภาพภายนอก มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีมากขึ้นไป
[มิติที่ 1 : ]

๓.๓.๒ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ร้อยละของโรงเรียนที่เข้ารับการประเมินคุณภาพภายนอก มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีมากขึ้นไป

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :60.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00

100 / 100
2
30.00

100 / 100
3
100.00

0 / 0
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ติดตามข่าวสารการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ. และประชาสัมพันธ์ให้กับโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครทราบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สี่เป็นระยะ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จัดส่งรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครที่พร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สี่ ในระยะที่สอง และระยะที่สาม ให้กับ สมศ. เพื่อส่งให้คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอกดำเนินการ โดยระยะที่สองทั้ง 191 โรงเรียนได้รับการประเมินในระยะที่ 1 แล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครเข้ารับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่จากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. แล้ว ในปี 2564 พบว่า ผลการประเมินระดับปฐมวัย มีโรงเรียนที่มีผลการประเมินระดับดีมากขึ้นไปทุกมาตรฐาน จำนวน 7 โรงเรียน จาก 306 โรงเรียน และผลการประเมินระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีโรงเรียนที่มีผลการประเมินระดับดีมากขึ้นไปทุกมาตรฐาน จำนวน 3 โรงเรียนจาก 311 โรงเรียน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(16) ร้อยละของโรงเรียนที่เข้ารับการประเมินคุณภาพภายนอก มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีมากขึ้นไป
[มิติที่ 1 : ]

๓.๓.๑ เด็กที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครทุกคนจะต้องได้รับการศึกษาตามความต้องการ
ร้อยละของโรงเรียนที่เข้ารับการประเมินคุณภาพภายนอก มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีมากขึ้นไป

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :60.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00

100 / 100
2
30.00

100 / 100
3
100.00

0 / 0
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ติดตามข่าวสารการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ. และประชาสัมพันธ์ให้กับโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครทราบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สี่เป็นระยะ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จัดส่งรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครที่พร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สี่ ในระยะที่สอง และระยะที่สาม ให้กับ สมศ. เพื่อส่งให้คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอกดำเนินการ โดยระยะที่สองทั้ง 191 โรงเรียนได้รับการประเมินในระยะที่ 1 แล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครเข้ารับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่จากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. แล้ว ในปี 2564 พบว่า ผลการประเมินระดับปฐมวัย มีโรงเรียนที่มีผลการประเมินระดับดีมากขึ้นไปทุกมาตรฐาน จำนวน 7 โรงเรียน จาก 306 โรงเรียน และผลการประเมินระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีโรงเรียนที่มีผลการประเมินระดับดีมากขึ้นไปทุกมาตรฐาน จำนวน 3 โรงเรียนจาก 311 โรงเรียน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(17) ร้อยละความสำเร็จของโครงการประจำพื้นฐานของสำนักการศึกษา
[มิติที่ 1 : ]

๓.๓.๒ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ร้อยละความสำเร็จของโครงการประจำพื้นฐานของสำนักการศึกษา

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :0.00

ผลงาน :0.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

0 / 0
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ผลการดำเนินงานตัวชี้วัดร้อยละความสำเร็จของโครงการประจำพื้นฐานของสำนักการศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประจำไตรมาสที่ 1 ณ เดือนธันวาคม 2563 มีโครงการที่สนับสนุน จำนวน 65 โครงการ อยู่ระหว่างกำลังดำเนินการ 40 โครงการ และยังไม่ได้รับงบประมาณให้ดำเนินการ จำนวน 25 โครงการ รวมทั้งสิ้น 65 โครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ผลการดำเนินงานตัวชี้วัดร้อยละความสำเร็จของโครงการประจำพื้นฐานของสำนักการศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประจำไตรมาสที่ 2 ณ เดือนมีนาคม 2563 มีโครงการที่สนับสนุน จำนวน 65 โครงการ แบ่งเป็น - อยู่ระหว่างดำเนินการ จำนวน 30 โครงการ - ยังไม่ได้รับงบประมาณให้ดำเนินการ จำนวน 25 โครงการ - ยกเลิกโครงการ จำนวน 3 โครงการ - ชะลอโครงการ จำนวน 2 โครงการ รวมทั้งสิ้น 65 โครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(18) ร้อยละความสำเร็จของโครงการประจำพื้นฐานของสำนักการศึกษา
[มิติที่ 1 : ]

๓.๓.๑ เด็กที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครทุกคนจะต้องได้รับการศึกษาตามความต้องการ
ร้อยละความสำเร็จของโครงการประจำพื้นฐานของสำนักการศึกษา

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :0.00

ผลงาน :0.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

0 / 0
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ผลการดำเนินงานตัวชี้วัดร้อยละความสำเร็จของโครงการประจำพื้นฐานของสำนักการศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประจำไตรมาสที่ 1 ณ เดือนธันวาคม 2563 มีโครงการที่สนับสนุน จำนวน 65 โครงการ อยู่ระหว่างกำลังดำเนินการ 40 โครงการ และยังไม่ได้รับงบประมาณให้ดำเนินการ จำนวน 25 โครงการ รวมทั้งสิ้น 65 โครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ผลการดำเนินงานตัวชี้วัดร้อยละความสำเร็จของโครงการประจำพื้นฐานของสำนักการศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประจำไตรมาสที่ 2 ณ เดือนมีนาคม 2563 มีโครงการที่สนับสนุน จำนวน 65 โครงการ แบ่งเป็น - อยู่ระหว่างดำเนินการ จำนวน 30 โครงการ - ยังไม่ได้รับงบประมาณให้ดำเนินการ จำนวน 25 โครงการ - ยกเลิกโครงการ จำนวน 3 โครงการ - ชะลอโครงการ จำนวน 2 โครงการ รวมทั้งสิ้น 65 โครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(19) จำนวนหลักสูตรครูและผู้บริหารสถานศึกษาที่ได้รับการพัฒนา
[มิติที่ 1 : ]

๓.๓.๒ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
จำนวนหลักสูตรครูและผู้บริหารสถานศึกษาที่ได้รับการพัฒนา

หน่วยนับ :หลักสูตร/สายงาน

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :1.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(หลักสูตร/สายงาน)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

0 / 0
4
1.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างแต่งตั้งผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับร่างแผนที่เส้นทางการพัฒนาสมรรถนะฯ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับร่างแผนที่เส้นทางการพัฒนาสมรรถนะฯ เพื่อกำหนดหลักสูตรที่เกี่ยวข้อง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่างปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเพื่อพัฒนาหลักสูตรที่เกี่ยวข้อง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการจัดทำหลักสูตรและแนวทางการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากทม. จำนวน 2 สายงาน ได้แก่ สานงานการสอนและสายงานการบริหารสถานศึกษาเรียบร้อยแล้ว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(20) จำนวนหลักสูตรครูและผู้บริหารสถานศึกษาที่ได้รับการพัฒนา
[มิติที่ 1 : ]

๓.๓.๑ เด็กที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครทุกคนจะต้องได้รับการศึกษาตามความต้องการ
จำนวนหลักสูตรครูและผู้บริหารสถานศึกษาที่ได้รับการพัฒนา

หน่วยนับ :หลักสูตร/สายงาน

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :1.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(หลักสูตร/สายงาน)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

0 / 0
4
1.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างแต่งตั้งผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับร่างแผนที่เส้นทางการพัฒนาสมรรถนะฯ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับร่างแผนที่เส้นทางการพัฒนาสมรรถนะฯ เพื่อกำหนดหลักสูตรที่เกี่ยวข้อง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่างปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเพื่อพัฒนาหลักสูตรที่เกี่ยวข้อง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการจัดทำหลักสูตรและแนวทางการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากทม. จำนวน 2 สายงาน ได้แก่ สานงานการสอนและสายงานการบริหารสถานศึกษาเรียบร้อยแล้ว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(21) ร้อยละของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาของกรุงเทพมหานครผ่านมาตรฐานวิชาชีพ
[มิติที่ 1 : ]

๓.๓.๒ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ร้อยละของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาของกรุงเทพมหานครผ่านมาตรฐานวิชาชีพ

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :95.00

ผลงาน :97.05


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

0 / 0
4
97.05

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างการประสานงานด้านหลักสูตร วิทยากร และสถานที่การจัดฝึกอบรม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างการจัดทำคำสั่งให้ข้าราชการครูฯ เข้ารับการฝึกอบรม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ชะลอหลักสูตรที่ 4 เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการ 4 หลักสูตร ได้แก่ 1. หลักสูตรที่ 1 หลักสูตรการใช้งาน Google for Education สำหรับครูเพื่อการเรียนการสอนแบบ Active Learning จัดอบรมระหว่างวันที่ 24 – 26 มีนาคม 2564 จำนวน 79 คน ผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 79 คน มีสมรรถนะการจัดการเรียนรู้และการบริหารจัดการชั้นเรียน จำนวน 77 คน คิดเป็นร้อยละ 97.47 2. หลักสูตรที่ 2 หลักสูตรเทคนิคการจัดการเรียนรู้ของครู สำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ จัดอบรมระหว่างวันที่ 31 มีนาคม – 2 เมษายน 2564 จำนวน 50 คน ผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 50 คน มีสมรรถนะการจัดการเรียนรู้และการบริหารจัดการชั้นเรียน จำนวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 96 3. หลักสูตรที่ 3 หลักสูตรการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง แบบ ๓๖๐ องศา จัดอบรมระหว่างวันที่ 7 – 9 เมษายน 2564 จำนวน 78 คน ผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 78 คน มีสมรรถนะการจัดการเรียนรู้และการบริหารจัดการชั้นเรียน จำนวน 77 คน คิดเป็นร้อยละ 98.72 4. หลักสูตรเทคนิคจิตวิทยาสำหรับครูยุคใหม่ เพื่อพัฒนาพฤติกรรมเด็ก Gen Z ระหว่างวันที่ 19 – 21 กรกฎาคม 2564 จำนวน 80 คน ผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 75 คน มีสมรรถนะการจัดการเรียนรู้และการบริหารจัดการชั้นเรียน จำนวน 72 คน คิดเป็นร้อยละ 96 ค่าเฉลี่ยของร้อยละผู้ผ่านการฝึกอบรมที่มีสมรรถนะการจัดการเรียนรู้และการบริหารจัดการชั้นเรียน คือ ร้อยละ 97.05 [(97.42 + 96 + 98.72 + 96)/4]

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(22) ร้อยละของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาของกรุงเทพมหานครผ่านมาตรฐานวิชาชีพ
[มิติที่ 1 : ]

๓.๓.๑ เด็กที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครทุกคนจะต้องได้รับการศึกษาตามความต้องการ
ร้อยละของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาของกรุงเทพมหานครผ่านมาตรฐานวิชาชีพ

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :95.00

ผลงาน :97.05


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

0 / 0
4
97.05

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างการประสานงานด้านหลักสูตร วิทยากร และสถานที่การจัดฝึกอบรม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างการจัดทำคำสั่งให้ข้าราชการครูฯ เข้ารับการฝึกอบรม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ชะลอหลักสูตรที่ 4 เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการ 4 หลักสูตร ได้แก่ 1. หลักสูตรที่ 1 หลักสูตรการใช้งาน Google for Education สำหรับครูเพื่อการเรียนการสอนแบบ Active Learning จัดอบรมระหว่างวันที่ 24 – 26 มีนาคม 2564 จำนวน 79 คน ผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 79 คน มีสมรรถนะการจัดการเรียนรู้และการบริหารจัดการชั้นเรียน จำนวน 77 คน คิดเป็นร้อยละ 97.47 2. หลักสูตรที่ 2 หลักสูตรเทคนิคการจัดการเรียนรู้ของครู สำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ จัดอบรมระหว่างวันที่ 31 มีนาคม – 2 เมษายน 2564 จำนวน 50 คน ผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 50 คน มีสมรรถนะการจัดการเรียนรู้และการบริหารจัดการชั้นเรียน จำนวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 96 3. หลักสูตรที่ 3 หลักสูตรการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง แบบ ๓๖๐ องศา จัดอบรมระหว่างวันที่ 7 – 9 เมษายน 2564 จำนวน 78 คน ผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 78 คน มีสมรรถนะการจัดการเรียนรู้และการบริหารจัดการชั้นเรียน จำนวน 77 คน คิดเป็นร้อยละ 98.72 4. หลักสูตรเทคนิคจิตวิทยาสำหรับครูยุคใหม่ เพื่อพัฒนาพฤติกรรมเด็ก Gen Z ระหว่างวันที่ 19 – 21 กรกฎาคม 2564 จำนวน 80 คน ผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 75 คน มีสมรรถนะการจัดการเรียนรู้และการบริหารจัดการชั้นเรียน จำนวน 72 คน คิดเป็นร้อยละ 96 ค่าเฉลี่ยของร้อยละผู้ผ่านการฝึกอบรมที่มีสมรรถนะการจัดการเรียนรู้และการบริหารจัดการชั้นเรียน คือ ร้อยละ 97.05 [(97.42 + 96 + 98.72 + 96)/4]

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(23) จำนวนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาของกรุงเทพมหานครมีสมรรถนะตามสายงานที่โดดเด่น
[มิติที่ 1 : ]

๓.๓.๒ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
จำนวนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาของกรุงเทพมหานครมีสมรรถนะตามสายงานที่โดดเด่น

หน่วยนับ :จำนวน

เป้าหมาย :300.00

ผลงาน :287.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(จำนวน)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
127.00

100 / 100
3
127.00

0 / 0
4
287.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

โครงการพัฒนาครูสู่การเป็นครูมหานคร ดำเนินการฝึกอบรมหลักสูตรที่ 1 หลักสูตรการใช้งาน Google for Education สำหรับครูเพื่อการเรียนการสอนแบบ Active Learning และหลักสูตรที่ 2 หลักสูตรเทคนิคการจัดการเรียนรู้ของครู สำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างดำเนินการฝึกอบรม หลักสูตรที่ 3 หลักสูตรการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง แบบ ๓๖๐ องศา ระหว่างวันที่ 7 - 9 เมษายน 2564 และหลักสูตรเทคนิคจิตวิทยาสำหรับครูยุคใหม่ เพื่อพัฒนาพฤติกรรมเด็ก Gen Z ระหว่างวันที่ 21 - 23 เมษายน 2564 โครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครด้านการวิจัยทางการศึกษากำหนดดำเนินการจำนวน ๕ รุ่นๆ 100 คน ระหว่างวันที่ 19 เมษายน – 27 พฤษภาคม ๒๕๖๔ เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนของครูผู้สอน หรือในระดับผู้บริหารโรงเรียนทำวิจัย เพื่อพัฒนาการบริหารหรือพัฒนาองค์ความรู้ทางการบริหารการศึกษา เพื่อให้สามารถค้นหาปัญหา สามารถแก้ไขปัญหาและพัฒนาการบริหารให้มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่างชะลอโครงการพัฒนาครูสู่การเป็นครูมหานคร หลักสูตรที่ 4 หลักสูตรเทคนิคจิตวิทยาสำหรับครูยุคใหม่ เพื่อพัฒนาพฤติกรรมเด็ก Gen Z และโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครด้านการวิจัยทางการศึกษา เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

โครงการพัฒนาครูสู่การเป็นครูมหานครได้ดำเนินการ 4 หลักสูตร ได้แก่ 1. หลักสูตรที่ 1 หลักสูตรการใช้งาน Google for Education สำหรับครูเพื่อการเรียนการสอนแบบ Active Learning จัดอบรมระหว่างวันที่ 24 – 26 มีนาคม 2564 จำนวน 79 คน 2. หลักสูตรที่ 2 หลักสูตรเทคนิคการจัดการเรียนรู้ของครู สำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ จัดอบรมระหว่างวันที่ 31 มีนาคม – 2 เมษายน 2564 จำนวน 50 คน 3. หลักสูตรที่ 3 หลักสูตรการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง แบบ 360 องศา จัดอบรมระหว่างวันที่ 7 – 9 เมษายน 2564 จำนวน 78 คน 4. หลักสูตรเทคนิคจิตวิทยาสำหรับครูยุคใหม่ เพื่อพัฒนาพฤติกรรมเด็ก Gen Z ระหว่างวันที่ 19 – 21 กรกฎาคม 2564 จำนวน 80 คน รวมผู้เข้าอบรม 4 หลักสูตร จำนวน 287 คน และยกเลิกโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครด้านการวิจัยทางการศึกษา เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19) ระลอกใหม่ กลุ่มเป้าหมายโครงการ จำนวน 500 คน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(24) จำนวนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาของกรุงเทพมหานครมีสมรรถนะตามสายงานที่โดดเด่น
[มิติที่ 1 : ]

๓.๓.๑ เด็กที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครทุกคนจะต้องได้รับการศึกษาตามความต้องการ
จำนวนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาของกรุงเทพมหานครมีสมรรถนะตามสายงานที่โดดเด่น

หน่วยนับ :จำนวน

เป้าหมาย :300.00

ผลงาน :287.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(จำนวน)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
127.00

100 / 100
3
127.00

0 / 0
4
287.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

โครงการพัฒนาครูสู่การเป็นครูมหานคร ดำเนินการฝึกอบรมหลักสูตรที่ 1 หลักสูตรการใช้งาน Google for Education สำหรับครูเพื่อการเรียนการสอนแบบ Active Learning และหลักสูตรที่ 2 หลักสูตรเทคนิคการจัดการเรียนรู้ของครู สำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างดำเนินการฝึกอบรม หลักสูตรที่ 3 หลักสูตรการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง แบบ ๓๖๐ องศา ระหว่างวันที่ 7 - 9 เมษายน 2564 และหลักสูตรเทคนิคจิตวิทยาสำหรับครูยุคใหม่ เพื่อพัฒนาพฤติกรรมเด็ก Gen Z ระหว่างวันที่ 21 - 23 เมษายน 2564 โครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครด้านการวิจัยทางการศึกษากำหนดดำเนินการจำนวน ๕ รุ่นๆ 100 คน ระหว่างวันที่ 19 เมษายน – 27 พฤษภาคม ๒๕๖๔ เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนของครูผู้สอน หรือในระดับผู้บริหารโรงเรียนทำวิจัย เพื่อพัฒนาการบริหารหรือพัฒนาองค์ความรู้ทางการบริหารการศึกษา เพื่อให้สามารถค้นหาปัญหา สามารถแก้ไขปัญหาและพัฒนาการบริหารให้มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่างชะลอโครงการพัฒนาครูสู่การเป็นครูมหานคร หลักสูตรที่ 4 หลักสูตรเทคนิคจิตวิทยาสำหรับครูยุคใหม่ เพื่อพัฒนาพฤติกรรมเด็ก Gen Z และโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครด้านการวิจัยทางการศึกษา เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

โครงการพัฒนาครูสู่การเป็นครูมหานครได้ดำเนินการ 4 หลักสูตร ได้แก่ 1. หลักสูตรที่ 1 หลักสูตรการใช้งาน Google for Education สำหรับครูเพื่อการเรียนการสอนแบบ Active Learning จัดอบรมระหว่างวันที่ 24 – 26 มีนาคม 2564 จำนวน 79 คน 2. หลักสูตรที่ 2 หลักสูตรเทคนิคการจัดการเรียนรู้ของครู สำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ จัดอบรมระหว่างวันที่ 31 มีนาคม – 2 เมษายน 2564 จำนวน 50 คน 3. หลักสูตรที่ 3 หลักสูตรการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง แบบ 360 องศา จัดอบรมระหว่างวันที่ 7 – 9 เมษายน 2564 จำนวน 78 คน 4. หลักสูตรเทคนิคจิตวิทยาสำหรับครูยุคใหม่ เพื่อพัฒนาพฤติกรรมเด็ก Gen Z ระหว่างวันที่ 19 – 21 กรกฎาคม 2564 จำนวน 80 คน รวมผู้เข้าอบรม 4 หลักสูตร จำนวน 287 คน และยกเลิกโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครด้านการวิจัยทางการศึกษา เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19) ระลอกใหม่ กลุ่มเป้าหมายโครงการ จำนวน 500 คน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๗.๕ - เทคโนโลยีสารสนเทศ

(25) ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่สนับสนุนการ ปฏิบัติราชการและมีฐานข้อมูล เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของ ผู้บริหารระดับหน่วยงานและระดับกรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ]

๗.๕.๑ กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่สนับสนุนการ ปฏิบัติราชการและมีฐานข้อมูล เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของ ผู้บริหารระดับหน่วยงานและระดับกรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00

100 / 100
2
20.00

100 / 100
3
50.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ลงนามในสัญญาเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2563 และอยู่ระหว่างการดำเนินการตามสัญญา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างการดำเนินการตามสัญญา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เบิกจ่ายเงินงวดที่ 1 เสร็จเรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

อยู่ระหว่างเบิกจ่ายเงินงวดที่ 2

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด