ผลการปฏิบัติราชการประจำปี : 2564 ของหน่วยงาน : 50290000

Home Home SED


**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****

(1) อัตราการป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตสาทร
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
อัตราการป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตสาทร

หน่วยนับ :ไม่เกินเปอร์เซ็นไทล์ที่ ๘๐ ของข้อมูล ๕ ปีย้อนหลัง

เป้าหมาย :0.00

ผลงาน :3.22

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ไม่เกินเปอร์เซ็นไทล์ที่ ๘๐ ของข้อมูล ๕ ปีย้อนหลัง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
78.43

100 / 100
2
9.00

0 / 0
3
0.43

0 / 0
4
3.22

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ข้อมูลอัตราป่วย 5 ปีย้อนหลัง เท่ากับ 233.55 ปีปัจจุบันเท่ากับ 78.43 เดือนตุลาคม - รอสำนักอนามัยแจ้งแนวทางการดำเนินโครงการ เดือน พฤศจิกายน - รอสำนักอนามัยแจ้งแนวทางการดำเนินโครงการ เดือน ธันวาคม - ประสานฝ่ายพัฒนาชุมชนฯ เพื่อทราบข้อมูลจำนวนชุมชนที่จะลงพื้นที่ทำกิจกรรม - จัดทำแผนปฏิบัติงานนอกเวลาราชกการ - จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เดือน มกราคม 2564 - รออนุมัติคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ - ประสานประธานชุมชนเรื่องกิจกรรมโครงการฯ เดือน กุมภาพันธ์ - ลงชุมชนครั้งที่ 1 แล้วจำนวน 6 ชุมชน (ข้อมูล ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2564) เดือน มีนาคม (รายงานผลตัวชี้วัดรายไตรมาสที่ 2 ด้วย) - ลงชุมชนครั้งที่ 1 แล้วจำนวน 20 ชุมชน (ข้อมูล ณ วันที่ 23 มีนาคม 2564) **อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่สาทร 5 ปีย้อนหลัง เท่ากับ 233.55 ต่อประชากรแสนคน ปี 2564 จำนวนผู้ป่วย 7 คน อัตราป่วย 9.00 ต่อประชากรแสนคน (ข้อมูล ตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม 2564 – 27 กุมภาพันธ์ 2564)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เดือน เมษายน - มิถุนายน - ลงชุมชนครั้งที่ 1 แล้วจำนวน 24 ชุมชน - ลงชุมชนครั้งที่ 2 แล้วจำนวน 3 ชุมชน - ลงชุมชนครั้งที่ 3 แล้วจำนวน 3 ชุมชน (ข้อมูล ณ วันที่ 19 พฤษภาคม 2564) เนื่องจากสถานการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้ต้องชะลอการลงชุมชน ปี 2564 จำนวนผู้ป่วย 10 คน อัตราป่วย 13.20 ต่อประชากรแสนคน (ข้อมูล ตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม 2564 – 8 พฤษภาคม 2564) ผลดำเนินงานรายไตรมาส เมย -มิย - อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตสาทร 5 ปี ย้อนหลังเท่ากับ 233.55 ต่อแสนประชากร มีรายงานช่วงไตรมาส 3 จำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.43 อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เดือน กรกฎาคม - กันยาน เนื่องจากสถานการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้ต้องชะลอการลงชุมชน ปี 2564 จำนวนผู้ป่วย 18 คน อัตราป่วย 23.77 ต่อประชากรแสนคน (ข้อมูล ตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม 2564 – 4 กันยายน 2564) ผลดำเนินงานรายไตรมาส ก.ค.64 - ก.ย.64 - อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตสาทร 5 ปี ย้อนหลังเท่ากับ 233.55 ต่อแสนประชากร มีรายงานช่วงไตรมาส 4 จำนวน 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.22 อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(2) อัตราการป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตสาทร
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
อัตราการป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตสาทร

หน่วยนับ :ไม่เกินเปอร์เซ็นไทล์ที่ ๘๐ ของข้อมูล ๕ ปีย้อนหลัง

เป้าหมาย :0.00

ผลงาน :3.22


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ไม่เกินเปอร์เซ็นไทล์ที่ ๘๐ ของข้อมูล ๕ ปีย้อนหลัง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
78.43

100 / 100
2
9.00

0 / 0
3
0.43

0 / 0
4
3.22

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ข้อมูลอัตราป่วย 5 ปีย้อนหลัง เท่ากับ 233.55 ปีปัจจุบันเท่ากับ 78.43 เดือนตุลาคม - รอสำนักอนามัยแจ้งแนวทางการดำเนินโครงการ เดือน พฤศจิกายน - รอสำนักอนามัยแจ้งแนวทางการดำเนินโครงการ เดือน ธันวาคม - ประสานฝ่ายพัฒนาชุมชนฯ เพื่อทราบข้อมูลจำนวนชุมชนที่จะลงพื้นที่ทำกิจกรรม - จัดทำแผนปฏิบัติงานนอกเวลาราชกการ - จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เดือน มกราคม 2564 - รออนุมัติคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ - ประสานประธานชุมชนเรื่องกิจกรรมโครงการฯ เดือน กุมภาพันธ์ - ลงชุมชนครั้งที่ 1 แล้วจำนวน 6 ชุมชน (ข้อมูล ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2564) เดือน มีนาคม (รายงานผลตัวชี้วัดรายไตรมาสที่ 2 ด้วย) - ลงชุมชนครั้งที่ 1 แล้วจำนวน 20 ชุมชน (ข้อมูล ณ วันที่ 23 มีนาคม 2564) **อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่สาทร 5 ปีย้อนหลัง เท่ากับ 233.55 ต่อประชากรแสนคน ปี 2564 จำนวนผู้ป่วย 7 คน อัตราป่วย 9.00 ต่อประชากรแสนคน (ข้อมูล ตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม 2564 – 27 กุมภาพันธ์ 2564)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เดือน เมษายน - มิถุนายน - ลงชุมชนครั้งที่ 1 แล้วจำนวน 24 ชุมชน - ลงชุมชนครั้งที่ 2 แล้วจำนวน 3 ชุมชน - ลงชุมชนครั้งที่ 3 แล้วจำนวน 3 ชุมชน (ข้อมูล ณ วันที่ 19 พฤษภาคม 2564) เนื่องจากสถานการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้ต้องชะลอการลงชุมชน ปี 2564 จำนวนผู้ป่วย 10 คน อัตราป่วย 13.20 ต่อประชากรแสนคน (ข้อมูล ตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม 2564 – 8 พฤษภาคม 2564) ผลดำเนินงานรายไตรมาส เมย -มิย - อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตสาทร 5 ปี ย้อนหลังเท่ากับ 233.55 ต่อแสนประชากร มีรายงานช่วงไตรมาส 3 จำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.43 อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เดือน กรกฎาคม - กันยาน เนื่องจากสถานการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้ต้องชะลอการลงชุมชน ปี 2564 จำนวนผู้ป่วย 18 คน อัตราป่วย 23.77 ต่อประชากรแสนคน (ข้อมูล ตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม 2564 – 4 กันยายน 2564) ผลดำเนินงานรายไตรมาส ก.ค.64 - ก.ย.64 - อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตสาทร 5 ปี ย้อนหลังเท่ากับ 233.55 ต่อแสนประชากร มีรายงานช่วงไตรมาส 4 จำนวน 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.22 อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(3) อัตราการป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตสาทร
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
อัตราการป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตสาทร

หน่วยนับ :ไม่เกินเปอร์เซ็นไทล์ที่ ๘๐ ของข้อมูล ๕ ปีย้อนหลัง

เป้าหมาย :0.00

ผลงาน :3.22


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ไม่เกินเปอร์เซ็นไทล์ที่ ๘๐ ของข้อมูล ๕ ปีย้อนหลัง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
78.43

100 / 100
2
9.00

0 / 0
3
0.43

0 / 0
4
3.22

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ข้อมูลอัตราป่วย 5 ปีย้อนหลัง เท่ากับ 233.55 ปีปัจจุบันเท่ากับ 78.43 เดือนตุลาคม - รอสำนักอนามัยแจ้งแนวทางการดำเนินโครงการ เดือน พฤศจิกายน - รอสำนักอนามัยแจ้งแนวทางการดำเนินโครงการ เดือน ธันวาคม - ประสานฝ่ายพัฒนาชุมชนฯ เพื่อทราบข้อมูลจำนวนชุมชนที่จะลงพื้นที่ทำกิจกรรม - จัดทำแผนปฏิบัติงานนอกเวลาราชกการ - จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เดือน มกราคม 2564 - รออนุมัติคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ - ประสานประธานชุมชนเรื่องกิจกรรมโครงการฯ เดือน กุมภาพันธ์ - ลงชุมชนครั้งที่ 1 แล้วจำนวน 6 ชุมชน (ข้อมูล ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2564) เดือน มีนาคม (รายงานผลตัวชี้วัดรายไตรมาสที่ 2 ด้วย) - ลงชุมชนครั้งที่ 1 แล้วจำนวน 20 ชุมชน (ข้อมูล ณ วันที่ 23 มีนาคม 2564) **อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่สาทร 5 ปีย้อนหลัง เท่ากับ 233.55 ต่อประชากรแสนคน ปี 2564 จำนวนผู้ป่วย 7 คน อัตราป่วย 9.00 ต่อประชากรแสนคน (ข้อมูล ตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม 2564 – 27 กุมภาพันธ์ 2564)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เดือน เมษายน - มิถุนายน - ลงชุมชนครั้งที่ 1 แล้วจำนวน 24 ชุมชน - ลงชุมชนครั้งที่ 2 แล้วจำนวน 3 ชุมชน - ลงชุมชนครั้งที่ 3 แล้วจำนวน 3 ชุมชน (ข้อมูล ณ วันที่ 19 พฤษภาคม 2564) เนื่องจากสถานการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้ต้องชะลอการลงชุมชน ปี 2564 จำนวนผู้ป่วย 10 คน อัตราป่วย 13.20 ต่อประชากรแสนคน (ข้อมูล ตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม 2564 – 8 พฤษภาคม 2564) ผลดำเนินงานรายไตรมาส เมย -มิย - อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตสาทร 5 ปี ย้อนหลังเท่ากับ 233.55 ต่อแสนประชากร มีรายงานช่วงไตรมาส 3 จำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.43 อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เดือน กรกฎาคม - กันยาน เนื่องจากสถานการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้ต้องชะลอการลงชุมชน ปี 2564 จำนวนผู้ป่วย 18 คน อัตราป่วย 23.77 ต่อประชากรแสนคน (ข้อมูล ตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม 2564 – 4 กันยายน 2564) ผลดำเนินงานรายไตรมาส ก.ค.64 - ก.ย.64 - อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตสาทร 5 ปี ย้อนหลังเท่ากับ 233.55 ต่อแสนประชากร มีรายงานช่วงไตรมาส 4 จำนวน 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.22 อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(4) อัตราการป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตสาทร
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
อัตราการป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตสาทร

หน่วยนับ :ไม่เกินเปอร์เซ็นไทล์ที่ ๘๐ ของข้อมูล ๕ ปีย้อนหลัง

เป้าหมาย :0.00

ผลงาน :3.22


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ไม่เกินเปอร์เซ็นไทล์ที่ ๘๐ ของข้อมูล ๕ ปีย้อนหลัง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
78.43

100 / 100
2
9.00

0 / 0
3
0.43

0 / 0
4
3.22

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ข้อมูลอัตราป่วย 5 ปีย้อนหลัง เท่ากับ 233.55 ปีปัจจุบันเท่ากับ 78.43 เดือนตุลาคม - รอสำนักอนามัยแจ้งแนวทางการดำเนินโครงการ เดือน พฤศจิกายน - รอสำนักอนามัยแจ้งแนวทางการดำเนินโครงการ เดือน ธันวาคม - ประสานฝ่ายพัฒนาชุมชนฯ เพื่อทราบข้อมูลจำนวนชุมชนที่จะลงพื้นที่ทำกิจกรรม - จัดทำแผนปฏิบัติงานนอกเวลาราชกการ - จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เดือน มกราคม 2564 - รออนุมัติคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ - ประสานประธานชุมชนเรื่องกิจกรรมโครงการฯ เดือน กุมภาพันธ์ - ลงชุมชนครั้งที่ 1 แล้วจำนวน 6 ชุมชน (ข้อมูล ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2564) เดือน มีนาคม (รายงานผลตัวชี้วัดรายไตรมาสที่ 2 ด้วย) - ลงชุมชนครั้งที่ 1 แล้วจำนวน 20 ชุมชน (ข้อมูล ณ วันที่ 23 มีนาคม 2564) **อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่สาทร 5 ปีย้อนหลัง เท่ากับ 233.55 ต่อประชากรแสนคน ปี 2564 จำนวนผู้ป่วย 7 คน อัตราป่วย 9.00 ต่อประชากรแสนคน (ข้อมูล ตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม 2564 – 27 กุมภาพันธ์ 2564)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เดือน เมษายน - มิถุนายน - ลงชุมชนครั้งที่ 1 แล้วจำนวน 24 ชุมชน - ลงชุมชนครั้งที่ 2 แล้วจำนวน 3 ชุมชน - ลงชุมชนครั้งที่ 3 แล้วจำนวน 3 ชุมชน (ข้อมูล ณ วันที่ 19 พฤษภาคม 2564) เนื่องจากสถานการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้ต้องชะลอการลงชุมชน ปี 2564 จำนวนผู้ป่วย 10 คน อัตราป่วย 13.20 ต่อประชากรแสนคน (ข้อมูล ตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม 2564 – 8 พฤษภาคม 2564) ผลดำเนินงานรายไตรมาส เมย -มิย - อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตสาทร 5 ปี ย้อนหลังเท่ากับ 233.55 ต่อแสนประชากร มีรายงานช่วงไตรมาส 3 จำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.43 อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เดือน กรกฎาคม - กันยาน เนื่องจากสถานการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้ต้องชะลอการลงชุมชน ปี 2564 จำนวนผู้ป่วย 18 คน อัตราป่วย 23.77 ต่อประชากรแสนคน (ข้อมูล ตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม 2564 – 4 กันยายน 2564) ผลดำเนินงานรายไตรมาส ก.ค.64 - ก.ย.64 - อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตสาทร 5 ปี ย้อนหลังเท่ากับ 233.55 ต่อแสนประชากร มีรายงานช่วงไตรมาส 4 จำนวน 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.22 อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(5) ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
15.55

100 / 100
2
59.20

0 / 0
3
77.56

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

เดือน ตุลาคม - สำรวจข้อมูลเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ เดือน พฤศจิกายน - จัดทำแผนการตรวจเฝ้าระวังด้านสุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการ - จัดทำแผนการตรวจสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา - จัดทำแผนการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล เดือน ธันวาคม - ตรวจสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา - ลงพื้นที่ตรวจสุขาภิบาลอาหารในตลาด - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - จัดประชุมผู้ประกอบการตลาด - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารเดือนพฤศจิกายน จำนวน 2,300 บาท - ตรวจเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการ - สถานประกอบด้านอาหารทั้งหมด 495 แห่ง รับป้าย มอป.แล้ว 77 แห่ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เดือน มกราคม 64 - ลงพื้นที่ตรวจสุขาภิบาลอาหารในตลาด - ตรวจเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการ - จัดทำฎีกาเบิกค่าดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารในตลาด - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำสถานประกอบการด้านอาหารตามประกาศกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 16 เรื่อง สั่งปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - สุ่มตรวจเฝ้าระวังโรคโควิด-19 ในผู้ปฏิบัติงาน/ผู้ค้าในตลาด เดือน กุมภาพันธ์ - จัดทำฎีกาเบิกค่าดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือนมกราคม - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำสถานประกอบการด้านอาหารตามประกาศกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 18 เรื่อง สั่งปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว - ตรวจเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการด้านอาหาร - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาลช่วงเทศกาลตรุษจีน เดือน มีนาคม - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือนกุมภาพันธ์และมีนาคม - จัดทำฎีกาเบิกค่าอาหารนอกเวลา - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำสถานประกอบการด้านอาหารและตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด - จัดประชุมคณะกรรมการเครือข่ายสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา วันที่ 24 มีนาคม 2564 - จัดกิจกรรมเครือข่ายงานสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา - จัดกิจกรรมพัฒนาตลาดสะอาดได้มาตรฐาน ** สถานประกอบการด้านอาหารพื้นที่เขตสาทร ทั้งหมด จำนวน 478 ราย ขอรับและต่ออายุป้ายมาตรฐานอาหารปลอดภัยแล้ว 283 ราย คิดเป็นร้อยละ 59.20 (จำนวนสถานประกอบการมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากมีรายใหม่และมีการแจ้งเลิกกิจการ)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เดือน เมษายน - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือน เมษายน - จัดทำฎีกาเบิกค่าตอบแทนบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุข - จัดทำฎีกาค่าอาหารว่างสำหรับผู้เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการเครือข่ายงานสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษาครั้งที่ 1/2564 - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาดร่วมกับรถโมบาย - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำสถานประกอบการด้านอาหารและตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด - สรุปผลการดำเนินงานการสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ เดือน พฤษภาคม - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือน พฤษภาคม - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำสถานประกอบการด้านอาหารและตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ร่วมกับกองสุขาภิบาลอาหาร - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ เดือน มิถุนายน - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือน มิถุนายน - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ - ลงพื้นที่ตรวจติดตามผลการปฏิบัติปรับปรุงตามมาตรการป้องกันโรควิด-19ในตลาดตามข้อเสนอแนะของสำนักอนามัย - สำรวจสถานประกอบการด้านอาหารที่ปิดชั่วคราว เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ** สถานประกอบการด้านอาหารพื้นที่เขตสาทร ทั้งหมด จำนวน 477 ราย ขอรับและต่ออายุป้ายมาตรฐานอาหารปลอดภัยแล้ว 370 ราย คิดเป็นร้อยละ 77.56 (จำนวนสถานประกอบการมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากมีรายใหม่และมีการแจ้งเลิกกิจการ) - ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ร้อยละ 77 - ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดีมีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green service) ร้อยละ 13 - ผลการดำเนินการตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบการอาหารที่ไม่มีใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองการแจ้งฯ ร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เดือน กรกฎาคม - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือน กรกฎาคม - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจติดตามมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด ตามข้อสั่งการของสำนักอนามัย - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ - สำรวจสถานประกอบการด้านอาหารที่ปิดชั่วคราว เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 เดือน สิงหาคม - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือน สิงหาคม - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจติดตามมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด ตามข้อสั่งการของสำนักอนามัย - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ - สำรวจสถานประกอบการด้านอาหารที่ปิดชั่วคราว เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 - ตรวจติดตามเฝ้าระวังคุณภาพอาหารร้านอาหารในพื้นที่เขตสาทร เดือน กันยายน - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจติดตามมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด ตามข้อสั่งการของสำนักอนามัย - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ - สำรวจสถานประกอบการด้านอาหารที่ปิดชั่วคราว เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 - สรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร ไตรมาสที่ 4 ให้สำนักอนามัยตามหนังสือที่ กท 6804/3845 ลงวันที่ 24 สิงหาคม 2564 เรียบร้อยแล้ว ** สถานประกอบการด้านอาหารพื้นที่เขตสาทร ทั้งหมด จำนวน 469 ราย ขอรับและต่ออายุป้ายมาตรฐานอาหารปลอดภัยแล้ว 469 ราย คิดเป็นร้อยละ 100.00 (จำนวนสถานประกอบการมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากมีรายใหม่และมีการแจ้งเลิกกิจการ)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(6) ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
15.55

100 / 100
2
59.20

0 / 0
3
77.56

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

เดือน ตุลาคม - สำรวจข้อมูลเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ เดือน พฤศจิกายน - จัดทำแผนการตรวจเฝ้าระวังด้านสุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการ - จัดทำแผนการตรวจสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา - จัดทำแผนการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล เดือน ธันวาคม - ตรวจสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา - ลงพื้นที่ตรวจสุขาภิบาลอาหารในตลาด - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - จัดประชุมผู้ประกอบการตลาด - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารเดือนพฤศจิกายน จำนวน 2,300 บาท - ตรวจเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการ - สถานประกอบด้านอาหารทั้งหมด 495 แห่ง รับป้าย มอป.แล้ว 77 แห่ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เดือน มกราคม 64 - ลงพื้นที่ตรวจสุขาภิบาลอาหารในตลาด - ตรวจเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการ - จัดทำฎีกาเบิกค่าดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารในตลาด - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำสถานประกอบการด้านอาหารตามประกาศกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 16 เรื่อง สั่งปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - สุ่มตรวจเฝ้าระวังโรคโควิด-19 ในผู้ปฏิบัติงาน/ผู้ค้าในตลาด เดือน กุมภาพันธ์ - จัดทำฎีกาเบิกค่าดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือนมกราคม - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำสถานประกอบการด้านอาหารตามประกาศกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 18 เรื่อง สั่งปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว - ตรวจเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการด้านอาหาร - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาลช่วงเทศกาลตรุษจีน เดือน มีนาคม - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือนกุมภาพันธ์และมีนาคม - จัดทำฎีกาเบิกค่าอาหารนอกเวลา - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำสถานประกอบการด้านอาหารและตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด - จัดประชุมคณะกรรมการเครือข่ายสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา วันที่ 24 มีนาคม 2564 - จัดกิจกรรมเครือข่ายงานสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา - จัดกิจกรรมพัฒนาตลาดสะอาดได้มาตรฐาน ** สถานประกอบการด้านอาหารพื้นที่เขตสาทร ทั้งหมด จำนวน 478 ราย ขอรับและต่ออายุป้ายมาตรฐานอาหารปลอดภัยแล้ว 283 ราย คิดเป็นร้อยละ 59.20 (จำนวนสถานประกอบการมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากมีรายใหม่และมีการแจ้งเลิกกิจการ)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เดือน เมษายน - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือน เมษายน - จัดทำฎีกาเบิกค่าตอบแทนบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุข - จัดทำฎีกาค่าอาหารว่างสำหรับผู้เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการเครือข่ายงานสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษาครั้งที่ 1/2564 - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาดร่วมกับรถโมบาย - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำสถานประกอบการด้านอาหารและตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด - สรุปผลการดำเนินงานการสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ เดือน พฤษภาคม - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือน พฤษภาคม - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำสถานประกอบการด้านอาหารและตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ร่วมกับกองสุขาภิบาลอาหาร - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ เดือน มิถุนายน - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือน มิถุนายน - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ - ลงพื้นที่ตรวจติดตามผลการปฏิบัติปรับปรุงตามมาตรการป้องกันโรควิด-19ในตลาดตามข้อเสนอแนะของสำนักอนามัย - สำรวจสถานประกอบการด้านอาหารที่ปิดชั่วคราว เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ** สถานประกอบการด้านอาหารพื้นที่เขตสาทร ทั้งหมด จำนวน 477 ราย ขอรับและต่ออายุป้ายมาตรฐานอาหารปลอดภัยแล้ว 370 ราย คิดเป็นร้อยละ 77.56 (จำนวนสถานประกอบการมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากมีรายใหม่และมีการแจ้งเลิกกิจการ) - ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ร้อยละ 77 - ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดีมีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green service) ร้อยละ 13 - ผลการดำเนินการตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบการอาหารที่ไม่มีใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองการแจ้งฯ ร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เดือน กรกฎาคม - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือน กรกฎาคม - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจติดตามมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด ตามข้อสั่งการของสำนักอนามัย - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ - สำรวจสถานประกอบการด้านอาหารที่ปิดชั่วคราว เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 เดือน สิงหาคม - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือน สิงหาคม - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจติดตามมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด ตามข้อสั่งการของสำนักอนามัย - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ - สำรวจสถานประกอบการด้านอาหารที่ปิดชั่วคราว เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 - ตรวจติดตามเฝ้าระวังคุณภาพอาหารร้านอาหารในพื้นที่เขตสาทร เดือน กันยายน - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจติดตามมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด ตามข้อสั่งการของสำนักอนามัย - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ - สำรวจสถานประกอบการด้านอาหารที่ปิดชั่วคราว เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 - สรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร ไตรมาสที่ 4 ให้สำนักอนามัยตามหนังสือที่ กท 6804/3845 ลงวันที่ 24 สิงหาคม 2564 เรียบร้อยแล้ว ** สถานประกอบการด้านอาหารพื้นที่เขตสาทร ทั้งหมด จำนวน 469 ราย ขอรับและต่ออายุป้ายมาตรฐานอาหารปลอดภัยแล้ว 469 ราย คิดเป็นร้อยละ 100.00 (จำนวนสถานประกอบการมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากมีรายใหม่และมีการแจ้งเลิกกิจการ)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(7) ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
15.55

100 / 100
2
59.20

0 / 0
3
77.56

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

เดือน ตุลาคม - สำรวจข้อมูลเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ เดือน พฤศจิกายน - จัดทำแผนการตรวจเฝ้าระวังด้านสุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการ - จัดทำแผนการตรวจสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา - จัดทำแผนการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล เดือน ธันวาคม - ตรวจสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา - ลงพื้นที่ตรวจสุขาภิบาลอาหารในตลาด - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - จัดประชุมผู้ประกอบการตลาด - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารเดือนพฤศจิกายน จำนวน 2,300 บาท - ตรวจเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการ - สถานประกอบด้านอาหารทั้งหมด 495 แห่ง รับป้าย มอป.แล้ว 77 แห่ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เดือน มกราคม 64 - ลงพื้นที่ตรวจสุขาภิบาลอาหารในตลาด - ตรวจเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการ - จัดทำฎีกาเบิกค่าดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารในตลาด - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำสถานประกอบการด้านอาหารตามประกาศกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 16 เรื่อง สั่งปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - สุ่มตรวจเฝ้าระวังโรคโควิด-19 ในผู้ปฏิบัติงาน/ผู้ค้าในตลาด เดือน กุมภาพันธ์ - จัดทำฎีกาเบิกค่าดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือนมกราคม - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำสถานประกอบการด้านอาหารตามประกาศกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 18 เรื่อง สั่งปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว - ตรวจเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการด้านอาหาร - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาลช่วงเทศกาลตรุษจีน เดือน มีนาคม - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือนกุมภาพันธ์และมีนาคม - จัดทำฎีกาเบิกค่าอาหารนอกเวลา - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำสถานประกอบการด้านอาหารและตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด - จัดประชุมคณะกรรมการเครือข่ายสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา วันที่ 24 มีนาคม 2564 - จัดกิจกรรมเครือข่ายงานสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา - จัดกิจกรรมพัฒนาตลาดสะอาดได้มาตรฐาน ** สถานประกอบการด้านอาหารพื้นที่เขตสาทร ทั้งหมด จำนวน 478 ราย ขอรับและต่ออายุป้ายมาตรฐานอาหารปลอดภัยแล้ว 283 ราย คิดเป็นร้อยละ 59.20 (จำนวนสถานประกอบการมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากมีรายใหม่และมีการแจ้งเลิกกิจการ)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เดือน เมษายน - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือน เมษายน - จัดทำฎีกาเบิกค่าตอบแทนบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุข - จัดทำฎีกาค่าอาหารว่างสำหรับผู้เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการเครือข่ายงานสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษาครั้งที่ 1/2564 - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาดร่วมกับรถโมบาย - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำสถานประกอบการด้านอาหารและตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด - สรุปผลการดำเนินงานการสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ เดือน พฤษภาคม - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือน พฤษภาคม - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำสถานประกอบการด้านอาหารและตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ร่วมกับกองสุขาภิบาลอาหาร - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ เดือน มิถุนายน - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือน มิถุนายน - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ - ลงพื้นที่ตรวจติดตามผลการปฏิบัติปรับปรุงตามมาตรการป้องกันโรควิด-19ในตลาดตามข้อเสนอแนะของสำนักอนามัย - สำรวจสถานประกอบการด้านอาหารที่ปิดชั่วคราว เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ** สถานประกอบการด้านอาหารพื้นที่เขตสาทร ทั้งหมด จำนวน 477 ราย ขอรับและต่ออายุป้ายมาตรฐานอาหารปลอดภัยแล้ว 370 ราย คิดเป็นร้อยละ 77.56 (จำนวนสถานประกอบการมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากมีรายใหม่และมีการแจ้งเลิกกิจการ) - ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ร้อยละ 77 - ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดีมีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green service) ร้อยละ 13 - ผลการดำเนินการตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบการอาหารที่ไม่มีใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองการแจ้งฯ ร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เดือน กรกฎาคม - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือน กรกฎาคม - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจติดตามมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด ตามข้อสั่งการของสำนักอนามัย - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ - สำรวจสถานประกอบการด้านอาหารที่ปิดชั่วคราว เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 เดือน สิงหาคม - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือน สิงหาคม - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจติดตามมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด ตามข้อสั่งการของสำนักอนามัย - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ - สำรวจสถานประกอบการด้านอาหารที่ปิดชั่วคราว เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 - ตรวจติดตามเฝ้าระวังคุณภาพอาหารร้านอาหารในพื้นที่เขตสาทร เดือน กันยายน - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจติดตามมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด ตามข้อสั่งการของสำนักอนามัย - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ - สำรวจสถานประกอบการด้านอาหารที่ปิดชั่วคราว เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 - สรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร ไตรมาสที่ 4 ให้สำนักอนามัยตามหนังสือที่ กท 6804/3845 ลงวันที่ 24 สิงหาคม 2564 เรียบร้อยแล้ว ** สถานประกอบการด้านอาหารพื้นที่เขตสาทร ทั้งหมด จำนวน 469 ราย ขอรับและต่ออายุป้ายมาตรฐานอาหารปลอดภัยแล้ว 469 ราย คิดเป็นร้อยละ 100.00 (จำนวนสถานประกอบการมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากมีรายใหม่และมีการแจ้งเลิกกิจการ)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(8) ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
15.55

100 / 100
2
59.20

0 / 0
3
77.56

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

เดือน ตุลาคม - สำรวจข้อมูลเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ เดือน พฤศจิกายน - จัดทำแผนการตรวจเฝ้าระวังด้านสุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการ - จัดทำแผนการตรวจสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา - จัดทำแผนการล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล เดือน ธันวาคม - ตรวจสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา - ลงพื้นที่ตรวจสุขาภิบาลอาหารในตลาด - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - จัดประชุมผู้ประกอบการตลาด - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารเดือนพฤศจิกายน จำนวน 2,300 บาท - ตรวจเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการ - สถานประกอบด้านอาหารทั้งหมด 495 แห่ง รับป้าย มอป.แล้ว 77 แห่ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เดือน มกราคม 64 - ลงพื้นที่ตรวจสุขาภิบาลอาหารในตลาด - ตรวจเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการ - จัดทำฎีกาเบิกค่าดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารในตลาด - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำสถานประกอบการด้านอาหารตามประกาศกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 16 เรื่อง สั่งปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - สุ่มตรวจเฝ้าระวังโรคโควิด-19 ในผู้ปฏิบัติงาน/ผู้ค้าในตลาด เดือน กุมภาพันธ์ - จัดทำฎีกาเบิกค่าดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือนมกราคม - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำสถานประกอบการด้านอาหารตามประกาศกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 18 เรื่อง สั่งปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว - ตรวจเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการด้านอาหาร - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาลช่วงเทศกาลตรุษจีน เดือน มีนาคม - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือนกุมภาพันธ์และมีนาคม - จัดทำฎีกาเบิกค่าอาหารนอกเวลา - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำสถานประกอบการด้านอาหารและตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด - จัดประชุมคณะกรรมการเครือข่ายสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา วันที่ 24 มีนาคม 2564 - จัดกิจกรรมเครือข่ายงานสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา - จัดกิจกรรมพัฒนาตลาดสะอาดได้มาตรฐาน ** สถานประกอบการด้านอาหารพื้นที่เขตสาทร ทั้งหมด จำนวน 478 ราย ขอรับและต่ออายุป้ายมาตรฐานอาหารปลอดภัยแล้ว 283 ราย คิดเป็นร้อยละ 59.20 (จำนวนสถานประกอบการมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากมีรายใหม่และมีการแจ้งเลิกกิจการ)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เดือน เมษายน - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือน เมษายน - จัดทำฎีกาเบิกค่าตอบแทนบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุข - จัดทำฎีกาค่าอาหารว่างสำหรับผู้เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการเครือข่ายงานสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษาครั้งที่ 1/2564 - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาดร่วมกับรถโมบาย - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำสถานประกอบการด้านอาหารและตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด - สรุปผลการดำเนินงานการสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ เดือน พฤษภาคม - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือน พฤษภาคม - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำสถานประกอบการด้านอาหารและตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ร่วมกับกองสุขาภิบาลอาหาร - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ เดือน มิถุนายน - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือน มิถุนายน - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจแนะนำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ - ลงพื้นที่ตรวจติดตามผลการปฏิบัติปรับปรุงตามมาตรการป้องกันโรควิด-19ในตลาดตามข้อเสนอแนะของสำนักอนามัย - สำรวจสถานประกอบการด้านอาหารที่ปิดชั่วคราว เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ** สถานประกอบการด้านอาหารพื้นที่เขตสาทร ทั้งหมด จำนวน 477 ราย ขอรับและต่ออายุป้ายมาตรฐานอาหารปลอดภัยแล้ว 370 ราย คิดเป็นร้อยละ 77.56 (จำนวนสถานประกอบการมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากมีรายใหม่และมีการแจ้งเลิกกิจการ) - ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ร้อยละ 77 - ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดีมีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green service) ร้อยละ 13 - ผลการดำเนินการตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบการอาหารที่ไม่มีใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองการแจ้งฯ ร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เดือน กรกฎาคม - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือน กรกฎาคม - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจติดตามมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด ตามข้อสั่งการของสำนักอนามัย - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ - สำรวจสถานประกอบการด้านอาหารที่ปิดชั่วคราว เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 เดือน สิงหาคม - จัดทำฎีกาเบิกค่าตัวอย่างอาหารประจำเดือน สิงหาคม - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจติดตามมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด ตามข้อสั่งการของสำนักอนามัย - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ - สำรวจสถานประกอบการด้านอาหารที่ปิดชั่วคราว เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 - ตรวจติดตามเฝ้าระวังคุณภาพอาหารร้านอาหารในพื้นที่เขตสาทร เดือน กันยายน - ลงพื้นที่ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในตลาด - ล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล - ลงพื้นที่ตรวจติดตามมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในตลาด ตามข้อสั่งการของสำนักอนามัย - ตรวจสอบสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งฯ - สำรวจสถานประกอบการด้านอาหารที่ปิดชั่วคราว เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 - สรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร ไตรมาสที่ 4 ให้สำนักอนามัยตามหนังสือที่ กท 6804/3845 ลงวันที่ 24 สิงหาคม 2564 เรียบร้อยแล้ว ** สถานประกอบการด้านอาหารพื้นที่เขตสาทร ทั้งหมด จำนวน 469 ราย ขอรับและต่ออายุป้ายมาตรฐานอาหารปลอดภัยแล้ว 469 ราย คิดเป็นร้อยละ 100.00 (จำนวนสถานประกอบการมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากมีรายใหม่และมีการแจ้งเลิกกิจการ)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(9) องค์ฯ 2 ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
องค์ฯ 2 ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่

หน่วยนับ :ระดับความสำเร็จ

เป้าหมาย :5.00

ผลงาน :5.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับความสำเร็จ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
2.00

0 / 0
3
3.00

0 / 0
4
5.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินงานจัดทำโครงการแผนปฏิบัติงานและแบบสำรวจโครงการเสร็จเรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เดือน มกราคม 2564 ดำเนินการตามแผน เดือน กุมภาพันธ์ 2564 ดำเนินการจัดทำโครงการแผนปฏิบัติงานและแบบสำรวจ เพิ่มอีก 1 คลอง เดือน มีนาคม 2564 ดำเนินการตามแผน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เดือน เมษายน 2564 ดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ การติดตั้งถังดักไขมันและดูแลรักษาแหล่งน้ำบริเวณคลองช่องนนทรี และคลองวัดยานนาวา ครั้งที่ 1 -ดำเนินสำรวจไฟฟ้าส่องสว่างริมคลองวัดยานนาวา -ดำเนินการสำรวยไฟฟ้าส่องสว่างคลองช่องนนทรี -ดำเนินการสำรวจติดตั้งและซ่อมแซมกล้องวงจรปิด 28/05/2564 -ดำเนินการตามแผน 26/06/2564 : -เดือนมิถุนายน 2564 (ครั้งที่ 2) -ดำเนินการกิจกรรมรณรงค์ เชิญชวนและประชาสัมพันธ์สถานประกอบการ ให้ติดตั้งถังดักไขมันเพื่อลดปัญหาน้ำเน่าเสีย -รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้สถานประกอบการและประชาชนดูแลรักษาแหล่งน้ำ ไม่ให้ทิ้งขยะ -รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้สถานประกอบการและชาชนมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง -สำรวจออกแบบ จุดเช็คอิน (Check in) จุดติดตั้งป้ายต่างๆ ให้มีความสวยงานและเป็นอัตลักษณ์ของพื้นที่ - เจ้าหน้าที่จากสำนักการระบายน้ำ สำนักเทศกิจ สำนักการโยธา สำนักงานเขตบางรัก และสำนักจราจรและขนส่ง สำนักงานเขตสาทร สำนักงานเขตยานนาวา ร่วมลงพิ้นที่ตรวจสภาพคลองช่องนนทรี ในการดำเนินตามโครงการ/กิจกรรมตามแผนภารกิจของแต่ละหน่วยงานในการปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง (ตามตัวชี้วัดกำหนด)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-เดือนกันยายน 2564 ดำเนินการจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์เชิงรุกให้ประชาชนในย่านคลองวัดยานนาวาและคลองช่องนนทรีตระหนักในการอนุรักษ์ทรัพยากรน์ำ และเข้าร่วมกิจกรรมของโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองช่องนนทรีและคลองวัดยานนาวา -ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์โดยการจัดสวนเพื่อใช้เป็นจุดเช็คอิน ในงานท่องเที่ยววิถีชุมชน ชื่นชมงานศิลปะ สไตล์ New Normal บริเวณคลองวัดยานนาวา

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(10) องค์ฯ 2 ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
องค์ฯ 2 ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่

หน่วยนับ :ระดับความสำเร็จ

เป้าหมาย :5.00

ผลงาน :5.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับความสำเร็จ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
2.00

0 / 0
3
3.00

0 / 0
4
5.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินงานจัดทำโครงการแผนปฏิบัติงานและแบบสำรวจโครงการเสร็จเรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เดือน มกราคม 2564 ดำเนินการตามแผน เดือน กุมภาพันธ์ 2564 ดำเนินการจัดทำโครงการแผนปฏิบัติงานและแบบสำรวจ เพิ่มอีก 1 คลอง เดือน มีนาคม 2564 ดำเนินการตามแผน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เดือน เมษายน 2564 ดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ การติดตั้งถังดักไขมันและดูแลรักษาแหล่งน้ำบริเวณคลองช่องนนทรี และคลองวัดยานนาวา ครั้งที่ 1 -ดำเนินสำรวจไฟฟ้าส่องสว่างริมคลองวัดยานนาวา -ดำเนินการสำรวยไฟฟ้าส่องสว่างคลองช่องนนทรี -ดำเนินการสำรวจติดตั้งและซ่อมแซมกล้องวงจรปิด 28/05/2564 -ดำเนินการตามแผน 26/06/2564 : -เดือนมิถุนายน 2564 (ครั้งที่ 2) -ดำเนินการกิจกรรมรณรงค์ เชิญชวนและประชาสัมพันธ์สถานประกอบการ ให้ติดตั้งถังดักไขมันเพื่อลดปัญหาน้ำเน่าเสีย -รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้สถานประกอบการและประชาชนดูแลรักษาแหล่งน้ำ ไม่ให้ทิ้งขยะ -รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้สถานประกอบการและชาชนมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง -สำรวจออกแบบ จุดเช็คอิน (Check in) จุดติดตั้งป้ายต่างๆ ให้มีความสวยงานและเป็นอัตลักษณ์ของพื้นที่ - เจ้าหน้าที่จากสำนักการระบายน้ำ สำนักเทศกิจ สำนักการโยธา สำนักงานเขตบางรัก และสำนักจราจรและขนส่ง สำนักงานเขตสาทร สำนักงานเขตยานนาวา ร่วมลงพิ้นที่ตรวจสภาพคลองช่องนนทรี ในการดำเนินตามโครงการ/กิจกรรมตามแผนภารกิจของแต่ละหน่วยงานในการปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง (ตามตัวชี้วัดกำหนด)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-เดือนกันยายน 2564 ดำเนินการจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์เชิงรุกให้ประชาชนในย่านคลองวัดยานนาวาและคลองช่องนนทรีตระหนักในการอนุรักษ์ทรัพยากรน์ำ และเข้าร่วมกิจกรรมของโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองช่องนนทรีและคลองวัดยานนาวา -ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์โดยการจัดสวนเพื่อใช้เป็นจุดเช็คอิน ในงานท่องเที่ยววิถีชุมชน ชื่นชมงานศิลปะ สไตล์ New Normal บริเวณคลองวัดยานนาวา

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(11) องค์ฯ 2 ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
องค์ฯ 2 ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่

หน่วยนับ :ระดับความสำเร็จ

เป้าหมาย :5.00

ผลงาน :5.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับความสำเร็จ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
2.00

0 / 0
3
3.00

0 / 0
4
5.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินงานจัดทำโครงการแผนปฏิบัติงานและแบบสำรวจโครงการเสร็จเรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เดือน มกราคม 2564 ดำเนินการตามแผน เดือน กุมภาพันธ์ 2564 ดำเนินการจัดทำโครงการแผนปฏิบัติงานและแบบสำรวจ เพิ่มอีก 1 คลอง เดือน มีนาคม 2564 ดำเนินการตามแผน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เดือน เมษายน 2564 ดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ การติดตั้งถังดักไขมันและดูแลรักษาแหล่งน้ำบริเวณคลองช่องนนทรี และคลองวัดยานนาวา ครั้งที่ 1 -ดำเนินสำรวจไฟฟ้าส่องสว่างริมคลองวัดยานนาวา -ดำเนินการสำรวยไฟฟ้าส่องสว่างคลองช่องนนทรี -ดำเนินการสำรวจติดตั้งและซ่อมแซมกล้องวงจรปิด 28/05/2564 -ดำเนินการตามแผน 26/06/2564 : -เดือนมิถุนายน 2564 (ครั้งที่ 2) -ดำเนินการกิจกรรมรณรงค์ เชิญชวนและประชาสัมพันธ์สถานประกอบการ ให้ติดตั้งถังดักไขมันเพื่อลดปัญหาน้ำเน่าเสีย -รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้สถานประกอบการและประชาชนดูแลรักษาแหล่งน้ำ ไม่ให้ทิ้งขยะ -รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้สถานประกอบการและชาชนมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง -สำรวจออกแบบ จุดเช็คอิน (Check in) จุดติดตั้งป้ายต่างๆ ให้มีความสวยงานและเป็นอัตลักษณ์ของพื้นที่ - เจ้าหน้าที่จากสำนักการระบายน้ำ สำนักเทศกิจ สำนักการโยธา สำนักงานเขตบางรัก และสำนักจราจรและขนส่ง สำนักงานเขตสาทร สำนักงานเขตยานนาวา ร่วมลงพิ้นที่ตรวจสภาพคลองช่องนนทรี ในการดำเนินตามโครงการ/กิจกรรมตามแผนภารกิจของแต่ละหน่วยงานในการปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง (ตามตัวชี้วัดกำหนด)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-เดือนกันยายน 2564 ดำเนินการจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์เชิงรุกให้ประชาชนในย่านคลองวัดยานนาวาและคลองช่องนนทรีตระหนักในการอนุรักษ์ทรัพยากรน์ำ และเข้าร่วมกิจกรรมของโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองช่องนนทรีและคลองวัดยานนาวา -ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์โดยการจัดสวนเพื่อใช้เป็นจุดเช็คอิน ในงานท่องเที่ยววิถีชุมชน ชื่นชมงานศิลปะ สไตล์ New Normal บริเวณคลองวัดยานนาวา

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(12) องค์ฯ 2 ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
องค์ฯ 2 ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่

หน่วยนับ :ระดับความสำเร็จ

เป้าหมาย :5.00

ผลงาน :5.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับความสำเร็จ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
2.00

0 / 0
3
3.00

0 / 0
4
5.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินงานจัดทำโครงการแผนปฏิบัติงานและแบบสำรวจโครงการเสร็จเรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เดือน มกราคม 2564 ดำเนินการตามแผน เดือน กุมภาพันธ์ 2564 ดำเนินการจัดทำโครงการแผนปฏิบัติงานและแบบสำรวจ เพิ่มอีก 1 คลอง เดือน มีนาคม 2564 ดำเนินการตามแผน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เดือน เมษายน 2564 ดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ การติดตั้งถังดักไขมันและดูแลรักษาแหล่งน้ำบริเวณคลองช่องนนทรี และคลองวัดยานนาวา ครั้งที่ 1 -ดำเนินสำรวจไฟฟ้าส่องสว่างริมคลองวัดยานนาวา -ดำเนินการสำรวยไฟฟ้าส่องสว่างคลองช่องนนทรี -ดำเนินการสำรวจติดตั้งและซ่อมแซมกล้องวงจรปิด 28/05/2564 -ดำเนินการตามแผน 26/06/2564 : -เดือนมิถุนายน 2564 (ครั้งที่ 2) -ดำเนินการกิจกรรมรณรงค์ เชิญชวนและประชาสัมพันธ์สถานประกอบการ ให้ติดตั้งถังดักไขมันเพื่อลดปัญหาน้ำเน่าเสีย -รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้สถานประกอบการและประชาชนดูแลรักษาแหล่งน้ำ ไม่ให้ทิ้งขยะ -รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้สถานประกอบการและชาชนมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง -สำรวจออกแบบ จุดเช็คอิน (Check in) จุดติดตั้งป้ายต่างๆ ให้มีความสวยงานและเป็นอัตลักษณ์ของพื้นที่ - เจ้าหน้าที่จากสำนักการระบายน้ำ สำนักเทศกิจ สำนักการโยธา สำนักงานเขตบางรัก และสำนักจราจรและขนส่ง สำนักงานเขตสาทร สำนักงานเขตยานนาวา ร่วมลงพิ้นที่ตรวจสภาพคลองช่องนนทรี ในการดำเนินตามโครงการ/กิจกรรมตามแผนภารกิจของแต่ละหน่วยงานในการปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง (ตามตัวชี้วัดกำหนด)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-เดือนกันยายน 2564 ดำเนินการจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์เชิงรุกให้ประชาชนในย่านคลองวัดยานนาวาและคลองช่องนนทรีตระหนักในการอนุรักษ์ทรัพยากรน์ำ และเข้าร่วมกิจกรรมของโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองช่องนนทรีและคลองวัดยานนาวา -ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์โดยการจัดสวนเพื่อใช้เป็นจุดเช็คอิน ในงานท่องเที่ยววิถีชุมชน ชื่นชมงานศิลปะ สไตล์ New Normal บริเวณคลองวัดยานนาวา

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(13) (/) ร้อยละความสำเร็จของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
(/) ร้อยละความสำเร็จของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
50.00

0 / 0
3
75.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการตามแผนโครงการที่กำหนดไว้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการตามแผนโครงการที่กำหนดไว้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการตามแผนโครงการที่กำหนดไว้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการตามแผนโครงการที่กำหนดไว้

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(14) (/) ร้อยละความสำเร็จของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
(/) ร้อยละความสำเร็จของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
50.00

0 / 0
3
75.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการตามแผนโครงการที่กำหนดไว้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการตามแผนโครงการที่กำหนดไว้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการตามแผนโครงการที่กำหนดไว้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการตามแผนโครงการที่กำหนดไว้

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(15) (/) ร้อยละความสำเร็จของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
(/) ร้อยละความสำเร็จของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
50.00

0 / 0
3
75.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการตามแผนโครงการที่กำหนดไว้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการตามแผนโครงการที่กำหนดไว้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการตามแผนโครงการที่กำหนดไว้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการตามแผนโครงการที่กำหนดไว้

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(16) (/) ร้อยละความสำเร็จของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
(/) ร้อยละความสำเร็จของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
50.00

0 / 0
3
75.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการตามแผนโครงการที่กำหนดไว้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการตามแผนโครงการที่กำหนดไว้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการตามแผนโครงการที่กำหนดไว้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการตามแผนโครงการที่กำหนดไว้

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๑ - ปลอดมลพิษ

(17) ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูลระบบสารสนเทศผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ]

๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ
ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูลระบบสารสนเทศผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ : ฐานข้อมูล(ระบบสารสนเทศ)

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :1.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
( ฐานข้อมูล(ระบบสารสนเทศ))
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
1.00

0 / 0
3
1.00

0 / 0
4
1.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

เดือนตุลาคม - เขียนโครงการและขออนุมัติโครงการ เดือน พฤศจิกายน - รอสำนักการระบายน้ำแจ้งแนวทางการดำเนินโครงการ เดือน ธันวาคม - รอสำนักการระบายน้ำแจ้งแนวทางการดำเนินโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เดือน มกราคม 2564 - จัดทำโครงการสำรวจและจัดทำฐานข้อมูลระบบสารสนเทศผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานครตามแนวทางที่ได้รับ เดือน กุมภาพันธ์ 2564 - ตรวจสอบความถูกต้องของฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดน้ำเสียของพื้นที่เขตสาทร เดือน มีนาคม 2564 - ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันและเพิ่มเติมข้อมูลบางประเภทลงในฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เดือน เมษายน - มิถุนายน - ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันและเพิ่มเติมข้อมูลบางประเภทลงในฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เดือน กรกฎาคม - กันยายน - ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันและเพิ่มเติมข้อมูลบางประเภทลงในฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร - ได้ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน และเพิ่มเติมข้อมูลรหัสประจำบ้าน รวมทั้งประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร และรายงานผลการดำเนินการให้สำนักการระบายน้ำทราบ ตามหนังสือสำนักงานเขตสาทร ที่ กท 6804/3854 ลงวันที่ 25 สิงหาคม 2564 เรียบร้อยแล้ว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(18) องค์ฯ 2 ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย1
องค์ฯ 2 ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :30.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
5.00

100 / 100
2
10.00

0 / 0
3
67.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ไตรมาสที่ 1 (5%) 1.เป้าหมายขยะมูลฝอยอินทรีย์ ปี 64 ของสำนักงานเขตสาทร 13,870.55 ตัน/ปี ดำเนินการจัดเก็บขยะมูลฝอยอินทรีย์ ประจำเดือน ต.ค. - พ.ย. 63 จำนวน 2,539.77 ตัน ประจำเดือน ธ.ค. 63 อยธู่ระหว่างดำเนินการจัดเก็บและรวบรวม 2.เป้าหมายขยะมูลฝอยอินทรีย์ ปี 64 ของสำนักงานเขตสาทร 4,623.52 ตัน/ปี ดำเนินการจัดเก็บขยะมูลฝอยอินทรีย์ ประจำเดือน ต.ค. - พ.ย. 63 จำนวน 842.81 ตัน ประจำเดือน ธ.ค. 63 อยธู่ระหว่างดำเนินการจัดเก็บและรวบรวม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ไตรมาสที่ 2 (10%) 1.เป้าหมายขยะมูลฝอยรีไซเคิล ปี 64 ของสำนักงานเขตสาทร 13,870.55 ตัน/ปี ดำเนินการจัดเก็บขยะมูลฝอยรีไซเคิล ประจำเดือน ต.ค. - เม.ย. 64 จำนวน 7,938.8 ตัน 2.เป้าหมายขยะมูลฝอยอินทรีย์ ปี 64 ของสำนักงานเขตสาทร 4,623.52 ตัน/ปี ดำเนินการจัดเก็บขยะมูลฝอยอินทรีย์ ประจำเดือน ต.ค. 63 - เม.ย. 64 รวมทั้งสิ้น 2,435.75 ตัน รวมทั้งสิ้น 10,374.55 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

รายงานไตรมาส ครั้งที่ 3 1. ดำเนินการคัดแยกมูลฝอยได้ตามเป้าหมายที่กำหนด และรายงานผลการตามแบบรายงาน SWM ภายในวันที่ 10 เดือนถัดไป (ร้อยละ 10) ผลการดำเนินการรายงานผลก่อนวันที่ 10 ของเดือนถัดไป (ร้อยละ 6) 2.ดำเนินการจัดการมูลฝอยและของเสียภายในสำนักงานเขต (ร้อยละ 10) ผลการดำเนินการ มีการจัดตั้งถังขยะคัดแยกประเภทตามแต่ละชั้นของฝ่ายนั้นๆ (ร้อยละ 5) 3.ดำเนินกิจกรรมส่งเสริมการคัดแยกขยะมูลฝอยรีไซเคิล มูลฝอยอินทรีย์ (เป้าหมายร้อยละ 20 รวม 18,49406 ตัน/ปี) -เป้าหมายขยะรีไซเคิล 13,870.55 ตัน/ปี เฉลี่ย 38 ตัน/วัน -เป้าหมายขยะอินทรีย์ 4,623.52 ตัน/ปี เฉลี่ย 12.67 ตัน/วัน ผลการดำเนินการ ขยะรีไซเคิล ตั้งแต่เดือน ต.ค. 63 – พ.ค. 64 รวม 9,1744.29 ตัน ขยะอินทรีย์ ตั้งแต่เดือน ต.ค. 63 – พ.ค. 64 รวม 3,279.94 ตัน รวมตั้งแต่เดือน เดือน ต.ค. 63 – พ.ค. 64 รวม 12,456.78 ตัน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ = 67.36 คิดเป็นร้อยละ 13.47 4.ดำเนินกิจกรรมส่งเสริมการคัดแยกมูลฝอยอันตราย เป้าหมาย 12.92 ตัน/ปี ผลการดำเนินการ ตั้งแต่ ต.ค. 63 – มิ.ย. 64 รวม 10.69 ตัน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ 82.74 คิดเป็นร้อยละ 14.89 5. ดำเนินการกระตุ้นติดตามชุมชน CBM ตามกลุ่มเปาหมายปี 2563 (เป้าหมาย 7 แห่ง เพิ่ม 1 แห่ง รวม 8 แห่ง ร้อยละ 15) ผลการดำเนินการดำเนินการติดตามกลุ่มเป้าหมาย อยู่ระหว่างดำเนินการติดตามกลุ่มเป้าหมาย 6.ดำเนินการส่งเสริมชุมชนประกวดโครงการ ZERO Waste อย่างน้อย 1 แห่ง (ร้อยละ 25) ผลการดำเนินการดำเนินการ อยู่ระหว่างจัดหาชุมชน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

รายงานไตรมาส ครั้งที่ 4 - มูลฝอยรีไซเคิล จำนวน 14,058.89 ตัน - มูลฝอยอินทรีย์ จำนวน 5,044.92 ตัน 1. ดำเนินการคัดแยกมูลฝอยได้ตามเป้าหมายที่กำหนด และรายงานผลการตามแบบรายงาน SWM ภายในวันที่ 10 เดือนถัดไป 2.ดำเนินการจัดการมูลฝอยและของเสียอันตรายภายในสำนักงานเขต ดังนี้ 2.1 วางแผนการดำเนินการจัดการมูลฝอยภายในสำนักงานเขต โดยหัวหน้าส่วนราชการ หัวหน้าฝ่าย ติดตามการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง 2.2 จัดให้มีภาชนะใส่ขยะแยกประเภท 2 ประเภท ได้แก่ ขยะทั่วไป และขยะรีไซเคิล 1 จุด ต่อ 1 ฝ่าย พร้อมบันทึกน้ำหนักเพื่อส่งรายงาน 2.3 ตั้งจุดรับขยะอันตราย และประชาสัมพันธ์ให้ทุกคนทราบจุดทิ้งขยะอันตราย และมอบหมายเจ้าหน้าที่รวบรวมส่งตามวันเวลาที่กำหนด "ขยะอันตรายชิ้นเล็ก" เช่น ถ่านๆฟฉาย กระดาษคาร์บอน ปากกา ฯ ส่วนราชการละ 1 จุด "ขยะอันตรายชิ้นใหญ่" เช่น กระป้องสเปรย์ หลอดไฟ หมึกพิมพ์ ฯ นำทิ้งที่จุดรวมขยะอันตรายของสำนักงานเขต 2.4 ตั้งภาชนะใส่กระดาษใช้แล้ว 1 หน้า ไว้ใช้หน้าถัดไป และตั้งภาชนะใส่กระดาษใช้แล้ว 2 หน้า แยกไว้เป็นขยะรีไซเคิล จัดจุด "ถุงผ้าให้ยืม" 2.5 รณรงค์ประชาสัมพันธ์ "คิดก่อนทิ้ง ทิ้งขยะให้ถูกถัง" ปฏิเสธการใช้กล่องโฟม ถุงพลาสติก ขวดพลาสติก "ใช้กล่องข้าว กระบอกน้ำ แก้วน้ำส่วนตัว" แก่บุคลากรและผู้มาติดต่อ 3. ดำเนินกิจกรรมส่งเสริมกรคัดแยกมูลฝอยริไซเคิล มูลฝอยอินทรีย์ 3.1 วางแผนเส้นทางหรือแนวทางการจัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท และแผนการรณรงค์ส่งเสริมความรู้การคัดแยกมูลฝอยรีไซเคิล มูลฝอยอินทรีย์ 3.2 ประชาสัมพันธ์นัดทิ้งนัดเก็บ ขยะทั่วไป ขยะชิ้นใหญ่ ขยะรึไซเคิล ตั้งจุดรับขยะแยกประเภท ในชุมชน สถานศึกษา ศาสนสถาน ตลาด สถานประกอบการ ห้างสรรพสินค้า ฯลฯ 3.3 จัดกิจกรรมจัดเก็บขยะชิ้นใหญ่ ขยะรีไซเคิล ตลาดนัดรีไซเคิล ผ้าป่ารีไซเคิล ตลาดนัดมือสอง ฯลฯ 3.4 ส่งเสริมการคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์นำไปใช้ประโยชน์ สิ่งประดิษฐ์จากของเหลือใช้ รณรงค์ปลอดโฟม ลดการใช้ถุงพลาสติก ฯลฯ 4. ดำเนินกิจกรรมส่งเสริมการคัดแยกมูลฝอยอันตราย 4.1 การวางแผนการดำเนินงาน 4.2 การสื่อสารและการประชาสัมพันธ์ 4.3 การเก็บรวบรวมและขนส่งมูลฝอยอันตราย 4.4 การติดตามและประเมินผล 5. ดำเนินการกระตุ้นติดตามชุมชน CBM ตามรายชื่อกลุ่มเป้าหมายปี 2563 และส่งเสริมให้มีการจัดการขยะโดยชุมชนเพิ่มอย่างน้อย 1 แห่ง 6. ดำเนินการส่งเสริมชุมชนเข้าประกวดโครงการชุมชน/องค์กรปลอดขยะ (ชุมชน ZERO Waste) อย่างน้อย 1 แห่ง หมายเหตุ - หากได้รับรางวัลรอบที่ 1 (รอบ 100 ชุมชน) บวกเพิ่มชุมชนละ 3 คะแนน จากคะแนนที่ได้รับ - หากได้รับรางวัลรอบที่ 2 บวกเพิ่มชุมชนละ 4 คะแนน จากคะแนนที่ได้รับ - หากได้รับรางวัลรอบระดับประเทศ บวกเพิ่มชุมชนละ 5 คะแนน จากคะแนนที่ได้รับ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๑ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(19) องค์ฯ 2 ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย
องค์ฯ 2 ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :30.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
5.00

100 / 100
2
10.00

0 / 0
3
67.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ไตรมาสที่ 1 (5%) 1.เป้าหมายขยะมูลฝอยอินทรีย์ ปี 64 ของสำนักงานเขตสาทร 13,870.55 ตัน/ปี ดำเนินการจัดเก็บขยะมูลฝอยอินทรีย์ ประจำเดือน ต.ค. - พ.ย. 63 จำนวน 2,539.77 ตัน ประจำเดือน ธ.ค. 63 อยธู่ระหว่างดำเนินการจัดเก็บและรวบรวม 2.เป้าหมายขยะมูลฝอยอินทรีย์ ปี 64 ของสำนักงานเขตสาทร 4,623.52 ตัน/ปี ดำเนินการจัดเก็บขยะมูลฝอยอินทรีย์ ประจำเดือน ต.ค. - พ.ย. 63 จำนวน 842.81 ตัน ประจำเดือน ธ.ค. 63 อยธู่ระหว่างดำเนินการจัดเก็บและรวบรวม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ไตรมาสที่ 2 (10%) 1.เป้าหมายขยะมูลฝอยรีไซเคิล ปี 64 ของสำนักงานเขตสาทร 13,870.55 ตัน/ปี ดำเนินการจัดเก็บขยะมูลฝอยรีไซเคิล ประจำเดือน ต.ค. - เม.ย. 64 จำนวน 7,938.8 ตัน 2.เป้าหมายขยะมูลฝอยอินทรีย์ ปี 64 ของสำนักงานเขตสาทร 4,623.52 ตัน/ปี ดำเนินการจัดเก็บขยะมูลฝอยอินทรีย์ ประจำเดือน ต.ค. 63 - เม.ย. 64 รวมทั้งสิ้น 2,435.75 ตัน รวมทั้งสิ้น 10,374.55 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

รายงานไตรมาส ครั้งที่ 3 1. ดำเนินการคัดแยกมูลฝอยได้ตามเป้าหมายที่กำหนด และรายงานผลการตามแบบรายงาน SWM ภายในวันที่ 10 เดือนถัดไป (ร้อยละ 10) ผลการดำเนินการรายงานผลก่อนวันที่ 10 ของเดือนถัดไป (ร้อยละ 6) 2.ดำเนินการจัดการมูลฝอยและของเสียภายในสำนักงานเขต (ร้อยละ 10) ผลการดำเนินการ มีการจัดตั้งถังขยะคัดแยกประเภทตามแต่ละชั้นของฝ่ายนั้นๆ (ร้อยละ 5) 3.ดำเนินกิจกรรมส่งเสริมการคัดแยกขยะมูลฝอยรีไซเคิล มูลฝอยอินทรีย์ (เป้าหมายร้อยละ 20 รวม 18,49406 ตัน/ปี) -เป้าหมายขยะรีไซเคิล 13,870.55 ตัน/ปี เฉลี่ย 38 ตัน/วัน -เป้าหมายขยะอินทรีย์ 4,623.52 ตัน/ปี เฉลี่ย 12.67 ตัน/วัน ผลการดำเนินการ ขยะรีไซเคิล ตั้งแต่เดือน ต.ค. 63 – พ.ค. 64 รวม 9,1744.29 ตัน ขยะอินทรีย์ ตั้งแต่เดือน ต.ค. 63 – พ.ค. 64 รวม 3,279.94 ตัน รวมตั้งแต่เดือน เดือน ต.ค. 63 – พ.ค. 64 รวม 12,456.78 ตัน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ = 67.36 คิดเป็นร้อยละ 13.47 4.ดำเนินกิจกรรมส่งเสริมการคัดแยกมูลฝอยอันตราย เป้าหมาย 12.92 ตัน/ปี ผลการดำเนินการ ตั้งแต่ ต.ค. 63 – มิ.ย. 64 รวม 10.69 ตัน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ 82.74 คิดเป็นร้อยละ 14.89 5. ดำเนินการกระตุ้นติดตามชุมชน CBM ตามกลุ่มเปาหมายปี 2563 (เป้าหมาย 7 แห่ง เพิ่ม 1 แห่ง รวม 8 แห่ง ร้อยละ 15) ผลการดำเนินการดำเนินการติดตามกลุ่มเป้าหมาย อยู่ระหว่างดำเนินการติดตามกลุ่มเป้าหมาย 6.ดำเนินการส่งเสริมชุมชนประกวดโครงการ ZERO Waste อย่างน้อย 1 แห่ง (ร้อยละ 25) ผลการดำเนินการดำเนินการ อยู่ระหว่างจัดหาชุมชน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

รายงานไตรมาส ครั้งที่ 4 - มูลฝอยรีไซเคิล จำนวน 14,058.89 ตัน - มูลฝอยอินทรีย์ จำนวน 5,044.92 ตัน 1. ดำเนินการคัดแยกมูลฝอยได้ตามเป้าหมายที่กำหนด และรายงานผลการตามแบบรายงาน SWM ภายในวันที่ 10 เดือนถัดไป 2.ดำเนินการจัดการมูลฝอยและของเสียอันตรายภายในสำนักงานเขต ดังนี้ 2.1 วางแผนการดำเนินการจัดการมูลฝอยภายในสำนักงานเขต โดยหัวหน้าส่วนราชการ หัวหน้าฝ่าย ติดตามการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง 2.2 จัดให้มีภาชนะใส่ขยะแยกประเภท 2 ประเภท ได้แก่ ขยะทั่วไป และขยะรีไซเคิล 1 จุด ต่อ 1 ฝ่าย พร้อมบันทึกน้ำหนักเพื่อส่งรายงาน 2.3 ตั้งจุดรับขยะอันตราย และประชาสัมพันธ์ให้ทุกคนทราบจุดทิ้งขยะอันตราย และมอบหมายเจ้าหน้าที่รวบรวมส่งตามวันเวลาที่กำหนด "ขยะอันตรายชิ้นเล็ก" เช่น ถ่านๆฟฉาย กระดาษคาร์บอน ปากกา ฯ ส่วนราชการละ 1 จุด "ขยะอันตรายชิ้นใหญ่" เช่น กระป้องสเปรย์ หลอดไฟ หมึกพิมพ์ ฯ นำทิ้งที่จุดรวมขยะอันตรายของสำนักงานเขต 2.4 ตั้งภาชนะใส่กระดาษใช้แล้ว 1 หน้า ไว้ใช้หน้าถัดไป และตั้งภาชนะใส่กระดาษใช้แล้ว 2 หน้า แยกไว้เป็นขยะรีไซเคิล จัดจุด "ถุงผ้าให้ยืม" 2.5 รณรงค์ประชาสัมพันธ์ "คิดก่อนทิ้ง ทิ้งขยะให้ถูกถัง" ปฏิเสธการใช้กล่องโฟม ถุงพลาสติก ขวดพลาสติก "ใช้กล่องข้าว กระบอกน้ำ แก้วน้ำส่วนตัว" แก่บุคลากรและผู้มาติดต่อ 3. ดำเนินกิจกรรมส่งเสริมกรคัดแยกมูลฝอยริไซเคิล มูลฝอยอินทรีย์ 3.1 วางแผนเส้นทางหรือแนวทางการจัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท และแผนการรณรงค์ส่งเสริมความรู้การคัดแยกมูลฝอยรีไซเคิล มูลฝอยอินทรีย์ 3.2 ประชาสัมพันธ์นัดทิ้งนัดเก็บ ขยะทั่วไป ขยะชิ้นใหญ่ ขยะรึไซเคิล ตั้งจุดรับขยะแยกประเภท ในชุมชน สถานศึกษา ศาสนสถาน ตลาด สถานประกอบการ ห้างสรรพสินค้า ฯลฯ 3.3 จัดกิจกรรมจัดเก็บขยะชิ้นใหญ่ ขยะรีไซเคิล ตลาดนัดรีไซเคิล ผ้าป่ารีไซเคิล ตลาดนัดมือสอง ฯลฯ 3.4 ส่งเสริมการคัดแยกมูลฝอยอินทรีย์นำไปใช้ประโยชน์ สิ่งประดิษฐ์จากของเหลือใช้ รณรงค์ปลอดโฟม ลดการใช้ถุงพลาสติก ฯลฯ 4. ดำเนินกิจกรรมส่งเสริมการคัดแยกมูลฝอยอันตราย 4.1 การวางแผนการดำเนินงาน 4.2 การสื่อสารและการประชาสัมพันธ์ 4.3 การเก็บรวบรวมและขนส่งมูลฝอยอันตราย 4.4 การติดตามและประเมินผล 5. ดำเนินการกระตุ้นติดตามชุมชน CBM ตามรายชื่อกลุ่มเป้าหมายปี 2563 และส่งเสริมให้มีการจัดการขยะโดยชุมชนเพิ่มอย่างน้อย 1 แห่ง 6. ดำเนินการส่งเสริมชุมชนเข้าประกวดโครงการชุมชน/องค์กรปลอดขยะ (ชุมชน ZERO Waste) อย่างน้อย 1 แห่ง หมายเหตุ - หากได้รับรางวัลรอบที่ 1 (รอบ 100 ชุมชน) บวกเพิ่มชุมชนละ 3 คะแนน จากคะแนนที่ได้รับ - หากได้รับรางวัลรอบที่ 2 บวกเพิ่มชุมชนละ 4 คะแนน จากคะแนนที่ได้รับ - หากได้รับรางวัลรอบระดับประเทศ บวกเพิ่มชุมชนละ 5 คะแนน จากคะแนนที่ได้รับ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(20) ร้อยละของพื้นที่เสี่ยงภัยที่ได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการก่ออาชญากรรม
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ร้อยละของพื้นที่เสี่ยงภัยที่ได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการก่ออาชญากรรม

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :0.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

95 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
0.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(21) ร้อยละของชุมชนที่มีความสามารถในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา
ร้อยละของชุมชนที่มีความสามารถในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :65.00

ผลงาน :0.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
0.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

การประชุม เพื่อทำขออนุมัติโครงการในการจัดกิจกรรม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างรอดำเนินการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่างรอดำเนินการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ไม่สามารถดำเนินการตามที่วางแผนไว้ เนื่องจากสถานการณ์โควิด19 ทำให้ไม่สามารถจัดกิจกรรมในลักษณะการรวมกลุ่มได้

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอุบัติเหตุ

(22) ร้อยละของชุมชนที่มีความสามารถในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์)
ร้อยละของชุมชนที่มีความสามารถในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :65.00

ผลงาน :0.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
0.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

การประชุม เพื่อทำขออนุมัติโครงการในการจัดกิจกรรม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างรอดำเนินการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่างรอดำเนินการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ไม่สามารถดำเนินการตามที่วางแผนไว้ เนื่องจากสถานการณ์โควิด19 ทำให้ไม่สามารถจัดกิจกรรมในลักษณะการรวมกลุ่มได้

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(23) ร้อยละของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เกี่ยวกับโทษ พิษภัยและผลกระทบที่เกิดจากการสูบบุหรี่เพิ่มขึ้น
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา
ร้อยละของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เกี่ยวกับโทษ พิษภัยและผลกระทบที่เกิดจากการสูบบุหรี่เพิ่มขึ้น

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :0.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 0
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
0.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

เดือนตุลาคม - สำรวจข้อมูลและเขียนโครงการ เดือนพฤศจิกายน - จัดทำแผนปฏิบัติการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ ไตรมาสที่ 1 เดือนธันวาคม - รอแนวทางการดำเนินงานจากสำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด สำนักอนามัย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เดือน มกราคม - รอแนวทางการดำเนินงานจากสำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด สำนักอนามัย เดือน กุมภาพันธ์ - เขียนโครงการและเสนอโครงการตามแนวทางการดำเนินงานของสำนักงานป้องกันและบำบัดยาเสพติด สำนักอนามัย เดือน มีนาคม - อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนงานโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เดือน เมษายน - อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนงานโครงการ เดือน พฤษภาคม - เดือน มิถุนายน - อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนงานโครงการแต่ไม่สามารถดำเนินการได้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ยังไม่คลี่คลาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เดือน กรกฎาคม - กันยายน โครงการไม่สามารถดำเนินการได้ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ยังไม่คลี่คลาย คืนงบประมาณ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอุบัติเหตุ

(24) ร้อยละของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เกี่ยวกับโทษ พิษภัยและผลกระทบที่เกิดจากการสูบบุหรี่เพิ่มขึ้น
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์)
ร้อยละของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เกี่ยวกับโทษ พิษภัยและผลกระทบที่เกิดจากการสูบบุหรี่เพิ่มขึ้น

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :0.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 0
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
0.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

เดือนตุลาคม - สำรวจข้อมูลและเขียนโครงการ เดือนพฤศจิกายน - จัดทำแผนปฏิบัติการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ ไตรมาสที่ 1 เดือนธันวาคม - รอแนวทางการดำเนินงานจากสำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด สำนักอนามัย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เดือน มกราคม - รอแนวทางการดำเนินงานจากสำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด สำนักอนามัย เดือน กุมภาพันธ์ - เขียนโครงการและเสนอโครงการตามแนวทางการดำเนินงานของสำนักงานป้องกันและบำบัดยาเสพติด สำนักอนามัย เดือน มีนาคม - อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนงานโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เดือน เมษายน - อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนงานโครงการ เดือน พฤษภาคม - เดือน มิถุนายน - อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนงานโครงการแต่ไม่สามารถดำเนินการได้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ยังไม่คลี่คลาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เดือน กรกฎาคม - กันยายน โครงการไม่สามารถดำเนินการได้ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ยังไม่คลี่คลาย คืนงบประมาณ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๔ - สังคมพหุวัฒนธรรม

(25) จำนวนกิจกรรมการอนุรักษ์ส่งเสริมด้านพหุวัฒนธรรมของประชาชนในพื้นที่เขตสาทร
[มิติที่ 1 : ]

๓.๔.๑ คนกรุงเทพฯที่มีความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขและ
จำนวนกิจกรรมการอนุรักษ์ส่งเสริมด้านพหุวัฒนธรรมของประชาชนในพื้นที่เขตสาทร

หน่วยนับ :จำนวนกิจกรรม

เป้าหมาย :5.00

ผลงาน :2.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(จำนวนกิจกรรม)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
2.00

0 / 0
3
2.00

0 / 0
4
2.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินกิจกรรมที่ 1 กิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ เรียบร้อย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินกิจกรรมที่ 2 กิจกรรมพิธีถวายราชสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหาเจษฎาราชเจ้า จัดกิจกรรม ณ บริเวณพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายในบริเวณวัดยานนาวา ในวันที่ 31 มีนาคม 2564 เพื่อเป็นการแสดงความกตัญญูกตเวที น้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณและแสดงความจงรักภักดีถวายเป็นราชสักการะ โดยข้าราชการและลูกจ้างสำนักงาน เขตสาทร หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนในพื้นที่เขตสาทร เข้าร่วมงานประมาณ 300 คน เรียบร้อย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ได้ยกเลิกโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ได้ยกเลิกโครงการ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด