ผลการปฏิบัติราชการประจำปี : 2564 ของหน่วยงาน : 50430000

Home Home SED


๑.๑ - ปลอดมลพิษ

(1) ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
30.00

100 / 100
2
33.00

100 / 100
3
60.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

โครงการสนับสนุนตัวชี้วัดงานประจำสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

โครงการสนับสนุนตัวชี้วัดงานประจำสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

โครงการสนับสนุนตัวชี้วัดงานประจำสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

โครงการสนับสนุนตัวชี้วัดงานประจำสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(2) ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตันต่อวัน)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย1
ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตันต่อวัน)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :30.00

ผลงาน :60.23


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
7.40

100 / 100
2
18.89

100 / 100
3
28.04

0 / 0
4
60.23

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- ปริมาณมูลฝอยคัดแยก(เดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2563) จำนวน 4,225.1 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- ปริมาณมูลฝอยคัดแยก(เดือนตุลาคม 63- กุมภาพันธ์ 64) จำนวน 10,689.50 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- ปริมาณมูลฝอยคัดแยก(เดือนตุลาคม 63- พฤษภาคม 64) จำนวน 15,865.33 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- ปริมาณมูลฝอยคัดแยก ตั้งแต่เดือน ต.ค.63 - สค.64 รวมมีน้ำหนักจำนวนทั้งสิ้น 19,877.12 ตัน ดังนี้ 1. ขยะอินทรีย์ที่คัดแยกนำมาใช้ประโยชน์ จำนวน 4,992.18 ตัน 2. ขยะรีไซเคิลจากรถเก็บขนมูลฝอย ,ร้านรับซื้อของเก่า ในพื้นที่เขต,ชุมชน และขยะจากอาสาสมัครชักลากมูลฝอย ในชุมชน จำนวน 14,884.93 ตัน - ค่าเป้าหมาย 16,971.21 ตัน/ปี ดำเนินการได้ 19,877.12 ตัน (ข้อมูลตั้งแต่เดือน ต.ค.- ส.ค.64) ผลสำเร็จ ร้อยละ 117.12 (60.233 ตัน/วัน)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๑ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(3) ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตันต่อวัน)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย
ร้อยละมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตันต่อวัน)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :30.00

ผลงาน :60.23

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
7.40

100 / 100
2
18.89

100 / 100
3
28.04

0 / 0
4
60.23

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- ปริมาณมูลฝอยคัดแยก(เดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2563) จำนวน 4,225.1 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- ปริมาณมูลฝอยคัดแยก(เดือนตุลาคม 63- กุมภาพันธ์ 64) จำนวน 10,689.50 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- ปริมาณมูลฝอยคัดแยก(เดือนตุลาคม 63- พฤษภาคม 64) จำนวน 15,865.33 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- ปริมาณมูลฝอยคัดแยก ตั้งแต่เดือน ต.ค.63 - สค.64 รวมมีน้ำหนักจำนวนทั้งสิ้น 19,877.12 ตัน ดังนี้ 1. ขยะอินทรีย์ที่คัดแยกนำมาใช้ประโยชน์ จำนวน 4,992.18 ตัน 2. ขยะรีไซเคิลจากรถเก็บขนมูลฝอย ,ร้านรับซื้อของเก่า ในพื้นที่เขต,ชุมชน และขยะจากอาสาสมัครชักลากมูลฝอย ในชุมชน จำนวน 14,884.93 ตัน - ค่าเป้าหมาย 16,971.21 ตัน/ปี ดำเนินการได้ 19,877.12 ตัน (ข้อมูลตั้งแต่เดือน ต.ค.- ส.ค.64) ผลสำเร็จ ร้อยละ 117.12 (60.233 ตัน/วัน)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(4) ร้อยละ 60 ของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยา เสพติดเข้าร่วมกิจกรรมต่อต้านยาเสพติด
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา
ร้อยละ 60 ของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยา เสพติดเข้าร่วมกิจกรรมต่อต้านยาเสพติด

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :60.00

ผลงาน :32.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00

100 / 100
2
30.00

100 / 100
3
31.00

0 / 0
4
32.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ขออนุมัติแผนการดำเนินงาน/โครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- ได้รับเงินงวดในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ โดยกำหนดจัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพฯ ในช่วงเดือนพฤษภาคม 2564 (อาจมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่สถานการณ์โควิด)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ Covid-19 ระลอกใหม่เพิ่มมากขึ้น เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงจึงเลี่อนการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเขตคันนายาว ออกไปก่อนจนกว่าสถานการณ์จะคลี่คลาย - ยกเลิกการจัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่เขตคันนายาว เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ Covid-19

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ยกเลิกโครงการฯ เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอุบัติเหตุ

(5) ร้อยละ 60 ของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยา เสพติดเข้าร่วมกิจกรรมต่อต้านยาเสพติด
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์)
ร้อยละ 60 ของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยา เสพติดเข้าร่วมกิจกรรมต่อต้านยาเสพติด

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :60.00

ผลงาน :32.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00

100 / 100
2
30.00

100 / 100
3
31.00

0 / 0
4
32.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ขออนุมัติแผนการดำเนินงาน/โครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- ได้รับเงินงวดในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ โดยกำหนดจัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพฯ ในช่วงเดือนพฤษภาคม 2564 (อาจมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่สถานการณ์โควิด)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ Covid-19 ระลอกใหม่เพิ่มมากขึ้น เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงจึงเลี่อนการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเขตคันนายาว ออกไปก่อนจนกว่าสถานการณ์จะคลี่คลาย - ยกเลิกการจัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่เขตคันนายาว เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ Covid-19

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ยกเลิกโครงการฯ เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย

(6) ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน
ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
86.74

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- ดำเนินการตรวจประเมินสถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ในพื้นที่เขตคันนายาวในรายที่ได้รับใบอนุญาต และตรวจประเมินร้านอาหารที่ไม่ได้รับใบอนุญาตในพื้นที่เขตคันนายาว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- จำนวนสถานประกอบการอาหารในพื้นที่เขตคันนายาว ทั้งหมด 150 แห่ง มีผู้สัมผัสอาหารได้รับการอมรมหรือการเรียนรู้ด้วยตนเองด้านการสุขาภิบาลอาหารตามหลักสูตรที่กรุงเทพมหานครกำหนด และผ่านการทดสอบความรู้ โดยได้รับหนังสือรับรองและบัตรประจำตัวผู้สัมผัสอาหารทุกแห่ง (คิดเป็นร้อยละ 100)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- จำนวนสถานประกอบการอาหารในพื้นที่เขตคันนายาว ทั้งหมด 347 แห่ง ดำเนินการตรวจตามแผนแล้วจำนวน 301 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 86.74 โดยผ่านเกณฑ์สุขลักษณะ ด้านอาคารสถานที่ , ความปลอดภัยของอาหาร และบุคลากรผู้สัมผัสอาหารในสถานประกอบการอาหาร ได้รับการอบรมหรือการเรียนรู้ด้วยตนเองด้านการสุขาภิบาลอาหารตามหลักสูตรที่กรุงเทพมหานครกำหนดและผ่านการทดสอบความรู้โดยได้รับหนังสือรับรองและบัตรประจำตัวผู้สัมผัสอาหาร ครบทุกแห่ง คิดเป็นร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- ในพื้นที่เขตคันนายาวมีสถานประกอบการอาหารจำนวน 350 แห่ง ดำเนินการตรวจตามแผนแล้ว จำนวน 350 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ผ่านเกณฑ์ด้านสุขลักษณะ จำนวน 350 แห่ง (คิดเป็นร้อยละ 100) มีผู้สัมผัสอาหารที่ได้รับการอบรมหรือการเรียนรู้ด้วยตนเอง ด้านการสุขาภิบาลอาหารตามหลักสูตรที่กรุงเทพมหานครกำหนด และผ่านการทดสอบความรู้ โดยได้รับหนังสือรับรองและบัตรประจำตัวผู้สัมผัสอาหาร ครบทุกแห่ง (คิดเป็นร้อยละ 100) - การตรวจวิเคราะห์หาสารเคมีปนเปื้อนในอาหารโดยการใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น (Test kit) จำนวน 1,096 ตัวอย่าง ไม่พบสารเคมีปนเปื้อน จำนวน 1,096 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) - ดำเนินการตรวจตามแผนแล้วมีสถานประกอบการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จำนวน 350 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม

(7) ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า
ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
40.00

100 / 100
3
70.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- ลงตรวจพื้นที่สภาพคลองร่วมกับ สนน. สสล. และ สจส. - เข้าร่วมประชุมตัวชีัวัดกับ สยย. ในวันที่ 4 ธันวาคม 2563 - เข้าร่วมประชุมกลุ่มย่อย กับ สนน. วันที่ 16 ธันวาคม 2563 - ส่งโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ฯ , แผนปฏิบัติการพัฒนาพื้นที่ตลอดแนวทางเดินริมคลองแสนแสบพื้นที่เขตคันนายาวตั้งแต่คลองกุ่มถึงคลองหลอแหลระยะทาง 2,645 เมตร และแบบสำรวจฯ ให้สยป. (ตามหนังสือที่ กท 8003/8518 ลว. 24 ธันวาตม 2563)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- สำรวจพื้นที่ และทำเอกสารเพื่อประสานฝ่ายต่างๆ - จัดประชุมคณะทำงาน - ดำเนินการปรับภูมิทัศน์และปรับปรุงสถานที่บริเวณรอบ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- อยู่ระหว่างดำเนินการจัดทำจุดเช็คอิน - ปลูกต้นไม้ริมคลอง - ทาสีสะพานข้ามคลองแยกย่อย - ทำความสะอาดทางเดินริมคลอง - เก็บขยะและผักตบชวาในคลองแยกย่อย - รณรงค์การคัดแยกขยะ และบำบัดน้ำเสียภายในครัวเรือนก่อนปล่อยลงสู่คลอง - ตรวจตราความปลอดภัยทางเดินริมคลอง - ประสานหน่วยงาน (สนน. สจส. กฟน) ดำเนินการปรับปรุงไฟฟ้าส่องสว่าง ท่าเรือ ราวกันตก เสาไฟฟ้าที่อยู่ริมคลอง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- ประชาสัมพันธ์รณรงค์ให้ประชาชนดูแลรักษาแหล่งน้ำไม่ให้ทิ้งขยะและของเสียลงคลองโดยการเดินเข้าชุมชนทั้ง 4 ชุมชน พร้อมให้ความรู้การคัดแยกขยะ การบำบัดน้ำเสียก่อนทิ้ง พร้อมแจกเอกสาร จำนวน 3 ครั้ง ประชาสัมพันธ์ผ่าน FACEBOOK สำนักงานเขต 1 ครั้ง และผู้ประกอบการในพื้นที่เขตจำนวน 2 ครั้ง - ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ประชาชนในพื้นที่ ภาคเอกชน เข้ามามีส่วนร่วมในการปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง 4 ชุมชน ชุมชนละ 1 ครั้ง (ชุมชนริมคลองรหัส ชุมชนร่มไทร ชุมชนสุเหร่าแดง ชุมชนริมคลองหลอแหล และผู้ประกอบการในพื้นที่เขตคันนายาว) - ปรับปรุงจุดเช็คอินจำนวน 1 จุด บริเวณท่าเรือชุมชนริมคลองระหัส ปรับปรุงสถานที่พักผ่อนจำนวน 1 จุดบริเวณที่ว่างริมคลองแสนแสบ ตรงข้ามชุมชนริมคลองระหัส ติดตั้งป้ายอำนวยความสะดวกบริเวณท่าเรือชุมชนริมคลองระหัส(ป้ายข้อมูลการเดินทาง สถานที่สำคัญ การท่องเที่ยวริมคลองแสนแสบและบริเวณโดยรอบ) จำนวน 1 จุด ติดตั้งป้ายบอกทางบริเวณท่าเรือชุมชนริมคลองระหัส (สถานที่สำคัญทางศาสนา) จำนวน 1 จุด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่

(8) พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ
พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :114.63

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
8.74

100 / 100
2
101.00

100 / 100
3
107.05

0 / 0
4
114.63

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. สวนหย่อมบริเวณบ้านเลขที่ 181/5 ถนนเลียบขนานทางด่วนกาญจนาภิเษกฝั่งตะวันออก (2 งาน 36 ตร.วา) 2. สวนหย่อมหน้าหมู่บ้านนวธานี (5 ไร่) 3. สวนหย่อมหน้าอาคารพิพิธภัณฑ์มูลนิธิสุขุโม (1 ไร่ 3งาน 46 ตร.วา) รวมดำเนินการได้ 7 ไร่ 1 งาน 82 ตารางวา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

4. สวนหย่อมบริเวณหมู่บ้านใหม่กลางเมือง ถนนเลียบขนานทางด่วนกาญจนาภิเษกฝั่งตะวันตก หลังซอยรามอินทรา 83 (13 ไร่ 2 งาน) 5. สวนหย่อมบริเวณหมู่บ้านชลลดา ถนนเลียบขนานทางด่วนกาญจนาภิเษกฝั่งตะวันออก (36 ไร่ 1 งาน 56 ตารางวา) 6. สวนหย่อมบริเวณศูนย์การค้าชิค รีพับลิค ถนนรามอินทรา กม.11 - 12 ฝั่งขาออก (2 งาน 47.50 ตารางวา) รวมดำเนินการได้ 86 ไร่ 3 งาน 85.5 ตารางวา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

7.สวนหย่อมบริเวณหมู่บ้านเลโก้ สโนวีทองแกลเลอรี ซ.เสรีไทย 38 แยก 6 (3 ไร่ 2 งาน 92.50 ตารางวา ) 8.สวนหย่อมหน้าโรงพยาบาลอินทรารัคน์ ถ.รามอินทรา กม.9 ฝั่งขาออก (1 งาน 66.25 ตารางวา) 9.สวนหย่อมหน้าคลินิกทำฟันบางกอกรีโวลูชั่น แอลดีซี ไลฟ์ (45 ตารางวา) รวมดำเนินการได้ 91 ไร่ 89.25 ตารางวา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

10.สวนหย่อมหมู่บ้านใหม่ กลางเมือง ซอยเสรีไทย 52 ถนนเสรีไทย ขนาดพื้นที่ (4 ไร่ 3 งาน 46 ตร.วา) 11.สวนหย่อมบริเวณสวนน้ำคันนายาวภิรมย์ ซอยเสรีไทย 50 ถนนเสรีไทย โซนฝั่งทิศเหนือ (1 ไร่ 2 งาน 19.50 ตร.วา) 12.สวนหย่อมริมกำแพงบ้าน บ้านเลขที่ 52/14 ซอยรามอินทรา 97 ถนนรามอินทรา กม.10 ฝั่งขาออก ขนาดพื้นที่ (46 ตร.วา) รวมดำเนินการได้ 97 ไร่ 3 งาน 0.75 ตร.วา

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(9) พัฒนาการของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร - ร้อยละของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีพัฒนาการสมวัย - ร้อยละของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้เข้าสู่กระบวนการพัฒนา
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี
พัฒนาการของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร
- ร้อยละของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีพัฒนาการสมวัย
- ร้อยละของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้เข้าสู่กระบวนการพัฒนา

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :85.00

ผลงาน :94.85

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
94.85

0 / 0
4
94.85

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- จ้ดทำโครงการขออนุมัติ - เตรียมเอกสารประกอบการประเมินเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- จัดกิจกรรมให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องการประเมินพัฒนาการเด็ก และเรื่องการประเมินพัฒนาการเด็กสงสัยล่าช้า จำนวน 2 ครั้ง ดังนี้ : ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2564 ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 28 คน ณ ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วัดบุญศรีมุณีกรณ์ : ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2564 ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 15 คน ณ ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนบ้านนาซารีน - ประกอบด้วยอาสาสมัครผู้ดูแลเด็ก 5 ศูนย์ 1. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนบ้านนาซารีน 2. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนเกาะจวน 3. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนบ้านเกาะ 4. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนหมู่ 5 5. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนอิลมุน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- เจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาชุมชนฯประเมินพัฒนาการเด็ก ครั้งที่ 1 ศูนย์พัฒนาการเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน 6 ศูนย์ ประเมินโดยอาสาสมัครผู้ดูแลเด็ก ดังนี้ + ครั้งที่ 1 ณ ศูนย์พัฒนาการเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน 6 ศูนย์ มีจำนวนเด็ก รวมทั้งสิ้น 531 ราย โดยมีพัฒนาการสมวัย จำนวน 505 ราย และพัฒนาการสงสัยล่าช้า จำนวน 26 ราย - ได้จัดทำหนังสือถึงศูนย์บริการสาธารณสุข 69 คันนายาว เพื่อจัดส่งรายชื่อเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า เข้าสู่กระบวนการพัฒนา จำนวน 26 ราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สรุปผลการประเมิน - จำนวนเด็กที่รับการประเมิน จำนวน 505 คน - มีพัฒนาการสมวัย 479 คน คิดเป็น ร้อยละ 94.85 - มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า จำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 5.14 - ส่งรายชื่อเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า จำนวน 26 คน แก่เจ้าหน้าที่ของศูนย์บริการสาธารณสุข 69 คันนายาว ดำเนินการสู่กระบวนการพัฒนา เดือน เมษายน 2564

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(10) พัฒนาการของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร - ร้อยละของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีพัฒนาการสมวัย - ร้อยละของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้เข้าสู่กระบวนการพัฒนา
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๑.๑ มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสอย่างครบวงจร
พัฒนาการของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร
- ร้อยละของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีพัฒนาการสมวัย
- ร้อยละของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้เข้าสู่กระบวนการพัฒนา

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :85.00

ผลงาน :94.85

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
94.85

0 / 0
4
94.85

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- จ้ดทำโครงการขออนุมัติ - เตรียมเอกสารประกอบการประเมินเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- จัดกิจกรรมให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องการประเมินพัฒนาการเด็ก และเรื่องการประเมินพัฒนาการเด็กสงสัยล่าช้า จำนวน 2 ครั้ง ดังนี้ : ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2564 ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 28 คน ณ ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วัดบุญศรีมุณีกรณ์ : ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2564 ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 15 คน ณ ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนบ้านนาซารีน - ประกอบด้วยอาสาสมัครผู้ดูแลเด็ก 5 ศูนย์ 1. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนบ้านนาซารีน 2. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนเกาะจวน 3. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนบ้านเกาะ 4. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนหมู่ 5 5. ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนอิลมุน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- เจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาชุมชนฯประเมินพัฒนาการเด็ก ครั้งที่ 1 ศูนย์พัฒนาการเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน 6 ศูนย์ ประเมินโดยอาสาสมัครผู้ดูแลเด็ก ดังนี้ + ครั้งที่ 1 ณ ศูนย์พัฒนาการเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน 6 ศูนย์ มีจำนวนเด็ก รวมทั้งสิ้น 531 ราย โดยมีพัฒนาการสมวัย จำนวน 505 ราย และพัฒนาการสงสัยล่าช้า จำนวน 26 ราย - ได้จัดทำหนังสือถึงศูนย์บริการสาธารณสุข 69 คันนายาว เพื่อจัดส่งรายชื่อเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า เข้าสู่กระบวนการพัฒนา จำนวน 26 ราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สรุปผลการประเมิน - จำนวนเด็กที่รับการประเมิน จำนวน 505 คน - มีพัฒนาการสมวัย 479 คน คิดเป็น ร้อยละ 94.85 - มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า จำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 5.14 - ส่งรายชื่อเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า จำนวน 26 คน แก่เจ้าหน้าที่ของศูนย์บริการสาธารณสุข 69 คันนายาว ดำเนินการสู่กระบวนการพัฒนา เดือน เมษายน 2564

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๓ - การศึกษาสำหรับทุกคน

(11) ร้อยละของนักเรียนระดับปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๓.๒ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ร้อยละของนักเรียนระดับปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :90.00

ผลงาน :97.21

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
97.21

0 / 0
4
97.21

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- จัดทำโครงการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัย พร้อมเสนออนุมัติโครงการ - สำรวจนักเรียนอนุบาล ในสังกัด จำนวน 317 คน - แจ้งโรงเรียนในสังกัดทราบ และอยู่ระหว่างจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ผ่าน 6 กิจกรรมหลักตามหลักปฐมวัย พ.ศ. 2560 และ การนิเทศติดตามการจัดประสบการณ์ของครู ผู้สอน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- สำรวจนักเรียนอนุบาลในสังกัด จำนวน 317 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 5 ก.ค. 63 โรงเรียนคันนายาว จำนวน 176 คน โรงเรียนจินดาบำรุง จำนวน 141 คน - แจ้งโรงเรียนในสังกัดทราบ โดยการประชุมผู้บริหารสถานศึกษา และอยู่ระหว่างจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ผ่าน 6 กิจกรรมหลัก ตามหลักปฐมวัย พ.ศ. 2560 และนิเทศติดตามการจัดประสบการณ์ของครูผู้สอน - เนื่องจากการแพร่ระบาด Covid-19 สำนักการศึกษาจึงได้มีประกาศปิดสถานศึกษาชั่วคราว ตั้งแต่ 24 ธ.ค. 63-31 ม.ค. 64 ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการจัดกิจกรรมดังกล่าว โดยเฉพาะด้านอารมณ์จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- ประชุมเพื่อหารือแนวทางในการดำเนินงานร่วมกับโรงเรียนในสังกัด เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2563 - โรงเรียนจัดกิจกรรม เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ผ่าน 6 กิจกรรมหลัก ตามหลักปฐมวัย พ.ศ. 2560 ตลอดปีการศึกษา 2563 (ตุลาคม 2563 - มีนาคม 2564) - ร่วมนิเทศติดตามการจัดประสบการณ์ของครูผู้สอน และนำผลการนิเทศติดตามไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย ตลอดปีการศึกษา 2563 (ตุลาคม 2563 - มีนาคม 2564) - สรุปนักเรียนระดับปฐมวัยรวมทั้งสิ้น 323 คน ผ่านการประเมินระดับ 2 ขึ้นไป จำนวน 314 คน คิดเป็นร้อยละ 97.21

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- การประเมินพัฒนาการเด็ก โดยครูผู้สอน และสรุปผลการประเมิน ดังนี้ 1. โรงเรียนคันนายาว (ธารินเจริญสงเคราะห์) จำนวน 174 คน (ไม่มีนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ) ผ่านการประเมินระดับ 2 ขึ้นไป จำนวน 174 คน คิดเป็นร้อยละ 100 2. โรงเรียนจินดาบำรุง จำนวน 149 คน (ไม่นับรวมนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ) ผ่านการประเมินระดับ 2 ขึ้นไป จำนวน 140 คน คิดเป็นร้อยละ 93.96 - สรุปนักเรียนระดับปฐมวัยรวมทั้งสิ้น 323 คน ผ่านการประเมินระดับ 2 ขึ้นไป จำนวน 314 คน คิดเป็นร้อยละ 97.21

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(12) ร้อยละของนักเรียนระดับปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๓.๑ เด็กที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครทุกคนจะต้องได้รับการศึกษาตามความต้องการ
ร้อยละของนักเรียนระดับปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :90.00

ผลงาน :97.21


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
97.21

0 / 0
4
97.21

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- จัดทำโครงการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัย พร้อมเสนออนุมัติโครงการ - สำรวจนักเรียนอนุบาล ในสังกัด จำนวน 317 คน - แจ้งโรงเรียนในสังกัดทราบ และอยู่ระหว่างจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ผ่าน 6 กิจกรรมหลักตามหลักปฐมวัย พ.ศ. 2560 และ การนิเทศติดตามการจัดประสบการณ์ของครู ผู้สอน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- สำรวจนักเรียนอนุบาลในสังกัด จำนวน 317 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 5 ก.ค. 63 โรงเรียนคันนายาว จำนวน 176 คน โรงเรียนจินดาบำรุง จำนวน 141 คน - แจ้งโรงเรียนในสังกัดทราบ โดยการประชุมผู้บริหารสถานศึกษา และอยู่ระหว่างจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ผ่าน 6 กิจกรรมหลัก ตามหลักปฐมวัย พ.ศ. 2560 และนิเทศติดตามการจัดประสบการณ์ของครูผู้สอน - เนื่องจากการแพร่ระบาด Covid-19 สำนักการศึกษาจึงได้มีประกาศปิดสถานศึกษาชั่วคราว ตั้งแต่ 24 ธ.ค. 63-31 ม.ค. 64 ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการจัดกิจกรรมดังกล่าว โดยเฉพาะด้านอารมณ์จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- ประชุมเพื่อหารือแนวทางในการดำเนินงานร่วมกับโรงเรียนในสังกัด เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2563 - โรงเรียนจัดกิจกรรม เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ผ่าน 6 กิจกรรมหลัก ตามหลักปฐมวัย พ.ศ. 2560 ตลอดปีการศึกษา 2563 (ตุลาคม 2563 - มีนาคม 2564) - ร่วมนิเทศติดตามการจัดประสบการณ์ของครูผู้สอน และนำผลการนิเทศติดตามไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย ตลอดปีการศึกษา 2563 (ตุลาคม 2563 - มีนาคม 2564) - สรุปนักเรียนระดับปฐมวัยรวมทั้งสิ้น 323 คน ผ่านการประเมินระดับ 2 ขึ้นไป จำนวน 314 คน คิดเป็นร้อยละ 97.21

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- การประเมินพัฒนาการเด็ก โดยครูผู้สอน และสรุปผลการประเมิน ดังนี้ 1. โรงเรียนคันนายาว (ธารินเจริญสงเคราะห์) จำนวน 174 คน (ไม่มีนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ) ผ่านการประเมินระดับ 2 ขึ้นไป จำนวน 174 คน คิดเป็นร้อยละ 100 2. โรงเรียนจินดาบำรุง จำนวน 149 คน (ไม่นับรวมนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ) ผ่านการประเมินระดับ 2 ขึ้นไป จำนวน 140 คน คิดเป็นร้อยละ 93.96 - สรุปนักเรียนระดับปฐมวัยรวมทั้งสิ้น 323 คน ผ่านการประเมินระดับ 2 ขึ้นไป จำนวน 314 คน คิดเป็นร้อยละ 97.21

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๕.๒ - เมืองธรรมาภิบาล

(13) จำนวนกิจกรรมที่สภาเด็กและเยาวชนที่จัดขึ้นตามโครงการส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ]

๕.๒.๑ ประชาชนมีส่วนร่วมในการเสนอนโยบายและตรวจสอบการทำางานของกรุงเทพมหานคร โดยการใช้ระบบง
จำนวนกิจกรรมที่สภาเด็กและเยาวชนที่จัดขึ้นตามโครงการส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :กิจกรรม

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :3.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(กิจกรรม)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
2.00

100 / 100
3
3.00

0 / 0
4
3.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จัดประชุมสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนเขต ในวันที่ 26 พฤศจิกายน 2563 จำนวน 1 ครั้ง ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 68 คน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- จัดประชุมสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนเขต ในวันที่ 28 มกราคม 2564 จำนวน 1 ครั้ง ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 21 คน - วิทยากรจากศูนย์บริการสาธารณสุข 69 คันนายาว ให้ความรู้เรื่องการป้องกันเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- จัดประชุมสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนเขต ในวันที่ 26 พฤศจิกายน 2563 จำนวน 1 ครั้ง ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 21 คน โดยมีนายชูชาติ พุ่มน้อย ผู้อำนวยการเขตคันนายาว เป็นประธานการประชุม และเชิญเจ้าหน้าที่บริหารเงินออม ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเก็บออม และวางแผนการใช้จ่ายเงิน ของตนเองและครอบครัว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จัดกิจกรรมที่สภาเด็ก และเยาวชนที่จัดขึ้นตามโครงการส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร ตามโครงการส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร จำนวน 3 กิจกรรม

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๖.๑ - เมืองแห่งโอกาสทางธุรกิจและการลงทุน

(14) กรุงเทพมหานครมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว และจัดจำหน่ายสินค้าชุมชนของผู้ประกอบการชุมชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๖.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ
กรุงเทพมหานครมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว และจัดจำหน่ายสินค้าชุมชนของผู้ประกอบการชุมชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :ครั้ง

เป้าหมาย :2.00

ผลงาน :2.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ครั้ง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
2.00

100 / 100
2
2.00

100 / 100
3
2.00

0 / 0
4
2.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- จัดกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2563 ณ บริเวณด้านหน้าสำนักงานเขตคันนายาว กิจกรรมประกอบด้วย การตักบาตรข้าวสารอาหารแห้ง, นิทรรศการน้อมรำลึกพระมหากรุณาธิคุณในหลวงรัชกาลที่ 9 , นิทรรศการพ่อตัวอย่างเขตคันนายาว ประจำปี 2563, จัดจำหน่ายสินค้าชุมชนของผู้ประกอบการชุมชนในพื้นที่เขตคันนายาว และผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาผู้สูงอายุเขตคันนายาว จำนวน 10 ร้าน, จัดแสดงผลงานภูมิปัญญาผู้สูงอายุเขตคันนายาว จำนวน 2 ภูมิปัญญา, จัดแสดงนิทรรศการจากโรงเรียน คุณตาคุณยายหมู่บ้านเก้าแสนเจ็ด - จัดกิจกรรมการจำหน่ายสินค้าชุมชนของผู้ประกอบการชุมชนในพื้นที่เขตคันนายาว“วันประชุมกรรมการชุมชนประจำเดือน ครั้งที่ 4/2563” เมื่อวันที่ 4 ธ.ค.2563 ณ ห้องประชุม ชั้น 5 สำนักงานเขตคันนายาว โดยเชิญผู้ประกอบการชุมชน ในพื้นที่เขตคันนายาว ดำเนินการจำหน่าย ตั้งแต่เวลา 06.00 น.เป็นต้นไป ซึ่งมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 100 คน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

สรุปการจัดกิจกรรม : ครั้งที่ 1 - จัดกิจกรรมการจำหน่ายสินค้าชุมชนของผู้ประกอบการชุมชนในพื้นที่เขตคันนายาว “วันพ่อแห่งชาติ” เมื่อวันที่ 2 ธ.ค.2563 ณ บริเวณด้านหน้าสำนักงานเขตคันนายาว ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 500 คน : ครั้งที่ 2 - จัดกิจกรรมการจำหน่ายสินค้าชุมชนของผู้ประกอบการชุมชนในพื้นที่เขตคันนายาว“วันประชุมกรรมการชุมชนประจำเดือน ครั้งที่ 4/2563” เมื่อวันที่ 4 ธ.ค.2563 ณ ห้องประชุม ชั้น 5 สำนักงานเขตคันนายาว โดยเชิญผู้ประกอบการชุมชน ในพื้นที่เขตคันนายาว ดำเนินการจำหน่าย ตั้งแต่เวลา 06.00 น.เป็นต้นไป ซึ่งมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 100 คน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- ดำเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและจัดจำหน่ายสินค้าชุมชนฯ จำนวน 2 ครั้ง (สรุป ครั้งที่ 1 : มีผู้เข้าร่วมจำนวน 500 ราย และผู้เข้าร่วมกิจกรรมฯ มีความพึงพอใจฯ ร้อยละ 100 , ครั้งที่ 2 : มีผู้เข้าร่วมจำนวน 100 ราย และผู้เข้าร่วมกิจกรรมฯ มีความพึงพอใจฯ ร้อยละ 100 )

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- ดำเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและจัดจำหน่ายสินค้าชุมชนฯ จำนวน 2 ครั้ง (สรุป ครั้งที่ 1 : มีผู้เข้าร่วมจำนวน 500 ราย และผู้เข้าร่วมกิจกรรมฯ มีความพึงพอใจฯ ร้อยละ 100 , ครั้งที่ 2 : มีผู้เข้าร่วมจำนวน 100 ราย และผู้เข้าร่วมกิจกรรมฯ มีความพึงพอใจฯ ร้อยละ 100 )

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด