ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 30
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 30
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
อยู่ระหว่างการดำเนินการสัมภาษณ์ ผู้บริหารระดับสูง (Executive Interviews) และจัดการประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group) จำนวน 5 ครั้ง เชิญตัวแทนผู้บริหารในระดับรองผู้อำนวยการ- สำนัก ผู้อำนวยการกองและหัวหน้าฝ่ายเพื่อรวบรวม ข้อมูลประกอบการจัดทำร่างสมรรถนะประจำ ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร
อยู่ระหว่างขั้นตอนการจัดทำร่างสมรรถนะประจำ ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร และนำเสนอร่าง พจนานุกรมสมรรถนะประจำผู้บริหาร กรุงเทพมหานครต่อผู้บริหารสำนักงาน ก.ก.
ได้สมรรถนะประจำผู้บริหารกรุงเทพมหานคร จำนวน 7 สมรรถนะ ประกอบด้วย 1. เห็นคุณค่าในตัวคน (Value People) 2. สร้างสรรค์ความร่วมมือ (Collaboration) 3. คิดไปข้างหน้า (Forward Thinking) 4. กล้าตัดสินใจ (Making Decision) 5. เปลี่ยนแปลงทันการณ์ (Change) 6. ใช้นวัตกรรมทำงาน (Process Innovation) 7. คิดต่างอย่างสร้างสรรค์ (Promoting Innovative Thinking /Non-Technology)
ได้สมรรถนะประจำผู้บริหารกรุงเทพมหานคร จำนวน 7 สมรรถนะ ประกอบด้วย 1. เห็นคุณค่าในตัวคน (Value People) 2. สร้างสรรค์ความร่วมมือ (Collaboration) 3. คิดไปข้างหน้า (Forward Thinking) 4. กล้าตัดสินใจ (Making Decision) 5. เปลี่ยนแปลงทันการณ์ (Change) 6. ใช้นวัตกรรมทำงาน (Process Innovation) 7. คิดต่างอย่างสร้างสรรค์ (Promoting Innovative Thinking /Non-Technology)
ความสำเร็จในการพัฒนาบุคลากรตามหลักสมรรถนะ มีองค์ประกอบการดำเนินการ 2 องค์ประกอบ คือ 1. ทบทวนปรับปรุงหรือจัดทำสมรรถนะให้มีความเหมาะสม และ 2. การดำเนินการพัฒนาบุคลากรตามหลักสมรรถนะ ซึ่งสำนักงาน ก.ก. ได้ดำเนินการองค์ประกอบที่ 1 โดยจัดทำสมรรถนะ 1. ผู้อำนวยการเขตและ 2. ผู้ตรวจราชการไปแล้ว การดำเนินการในปีนี้ คือ การทบทวนสมรรถนะประจำผู้บริหารกรุงเทพมหานคร (Managerial Competency) ให้มีความเหมาะสมสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาบุคลากรตามหลักสมรรถนะสู่ความเป็นมืออาชีพ รวมทั้งสามารถใช้ประเมินคุณลักษณะและพฤติกรรมเพื่อประโยชน์ในการคัดเลือกและแต่งต้ัง โดยพิจารณาความสำเร็จขององค์ประกอบที่ 1 จากการที่สามารถดำเนินการทบทวนปรับปรุงสมรรถนะประจำผู้บริหารกรุงเทพมหานคร ได้แล้วเสร็จตามแผนงานและข้ันตอนที่กำหนด
คำนวณจากความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการที่กำหนด ได้แก่ 1. มีการจัดทำโครงการและกำหนดแผนงาน 2. ดำเนินการศึกษาทบทวนร่วมกับผู้เชี่ยวชาญและที่ปรึกษา ตามแผนงานที่กำหนด 3. สรุปผลการทบทวนสมรรถนะประจำผู้บริหารกรุงเทพมหานคร (Managerial Competency) พร้อมนิยามของสมรรถนะ 4. จัดทำสมรรถนะประจำผู้บริหารกรุงเทพมหานคร (Managerial Competency) แล้วเสร็จตามแผนงานที่กำหนด
1. โครงการศึกษาทบทวนปรับปรุงสมรรถนะของข้าราชการกรุงเทพมหานคร 2. หลักฐานการปฏิบัติงานร่วมกับผู้เชี่ยวชาญและที่ปรึกษา 3. มีสรุปผลการทบทวนสมรรถนะประจำผู้บริหารกรุงเทพมหานคร (Managerial Competency) พร้อมนิยามของสมรรถนะ 4. สมรรถนะประจำผู้บริหารกรุงเทพมหานคร (Managerial Competency) ที่ปรับปรุงแล้วเสร็จ 5. รายงานผลการศึกษาทบทวนการปรับปรุงสมรรถนะประจำผู้บริหารกรุงเทพมหานคร
:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
:๗.๓ - การบริหารทรัพยากรบุคคล |
:๗.๓.๑ บุคลากรกรุงเทพมหานครเป็นผู้ปฏิบัติงานแบบมืออาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม และเป็นที่เชื่% |
:๗.๓.๑.๑ การพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะ ความรู้ ความสามารถ มีความเป็นมืออาชีพ |