รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

รายงานผล Best Practice ที่จะนำมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของกรุงเทพมหานคร : 0300-0766

ค่าเป้าหมาย จำนวน (ฉบับ) : 1

ผลงานที่ทำได้ จำนวน (ฉบับ) : 1

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(จำนวน (ฉบับ))
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
0.00
100
100 / 100
3
1.00
100
100 / 100
4
1.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ศึกษารายละเอียดของ Best Practice ที่จะนำมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับกรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ศึกษาดูงานหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่ประสบความสำเร็จและเป็นที่ยอมรับในแต่ละด้านเพื่อเป็นต้นแบบ Best Practice ที่จะนำมาปรับใช้ให้เหมาะสม กับบริบทของกรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการตามตัวชี้วัดของโครงการเสร็จเรียบร้อย แล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการตามตัวชี้วัดของโครงการเสร็จเรียบร้อย แล้ว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

รายงานผล Best Practice ที่จะนำมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของกรุงเทพมหานคร สอดคล้องกับแนวทางการบริหารประเทศ แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร 20 ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561 - 2565) นโยบายผู้บริหารกรุงเทพมหานคร และการเปลี่ยนแปลงใหม่ ๆ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลอย่างเป็นรูปธรรม และเสนอผู้บริหารกรุงเทพมหานครภายในเดือนสิงหาคม 2564

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

รายงานผล Best Practice ที่จะนำมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ดูงาน สัมมนาเชิงปฏิบัติการ และรวบรวมข้อมูล เพื่อนำมาวิเคราะห์รายงานผล/แฟ้มเอกสาร

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
:๗.๓ - การบริหารทรัพยากรบุคคล
:๗.๓.๒ กรุงเทพมหานครมีระบบบริหารทรัพยากรบุคคลเข้มแข็งเอื้อต่อความเป็นธรรมสามารถสร้างสมดุล%
:๗.๓.๒.๒ การพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลและระบบราชการให้มีประสิทธิภาพ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง