ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
31/10/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอนศึกษาข้อมูลเตรียมขออนุมัติโครงการ 30/11/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอนปรับแก้รายละเอียดโครงการตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการฯ และสำนักงาน ก.ก. 29/12/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอนดำเนินการตามขั้นตอนของตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในโครงการ
31/1/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอนดำเนินการตามขั้นตอนของตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในโครงการ 29/2/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอนดำเนินการตามขั้นตอนของตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในโครงการ 31/3/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอนดำเนินการตามขั้นตอนของตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในโครงการ
30/4/2563 : ดำเนินการตามขั้นตอนของตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในโครงการ 29/5/2563 : ดำเนินการตามขั้นตอนของตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในโครงการ 30/6/2563 : ดำเนินการตามขั้นตอนของตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในโครงการ
31/7/2563 1. จัดเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ ติดตามประเด็นข่าวสารและความคิดเห็นของประชาชนที่กล่าวถึงกรุงเทพมหานครในสื่อสังคมออนไลน์และสื่อมวลชน 2. คณะทำงานกำหนดและพิจารณาประเด็นที่ส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของกรุงเทพมหานคร และจัดส่งประเด็นทางกลุ่ม Line BMA รับประเด็น ภายในเวลา 10.30 น. ของทุกวันโดยไม่มีวันหยุด หรือหากเป็นกรณีเร่งด่วน ต้องแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการทันที 3. จัดกิจกรรมเพื่อเพิ่มศักยภาพในการกำหนดและพิจารณาประเด็นฯ ให้เป็นไปตามมาตรฐานทันเวลา 10.30 น. ทุกวัน ดังนี้ 3.1 จัดเวรเจ้าหน้าที่ในการกำหนดและพิจารณาประเด็นฯ ในวันหยุด 3.2 ดำเนินการเพิ่มทักษะให้แก่เจ้าหน้าที่ของกลุ่มงานวิเคราะห์ข่าวทุกคน โดยวิธีเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติในงาน (On the Job Training) ให้สามารถทำงานทดแทนกันได้ 3.3 จัดให้มีการซักซ้อมความเข้าใจในการดำเนินงานสื่อสารประชาสัมพันธ์และชี้แจงประเด็นต่าง ๆ ระหว่างกลุ่มงานภายในหน่วยงาน 4. สำนักงานประชาสัมพันธ์นำข้อมูลจากการชี้แจงประเด็นในกลุ่ม Line BMA ตอบประเด็น มาจัดทำข่าวชี้แจงข้อร้องเรียนหรือข่าวประชาสัมพันธ์`เผยแพร่ทางสื่อมวลชนและสื่อสังคมออนไลน์ 5. จัดทำหลักเกณฑ์การชี้แจงและรายงานประเด็นที่ส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของกรุงเทพมหานคร เพื่อซักซ้อมความเข้าใจกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการตอบรับประเด็นทางกลุ่ม Line BMA รับประเด็น และชี้แจงประเด็นทางกลุ่ม Line BMA ตอบประเด็น ภายใน 24 ชั่วโมง นับตั้งแต่การแจ้งประเด็นในกลุ่ม ไลน์ BMA รับประเด็น พร้อมทั้งจัดให้มีการติดตามหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อเร่งรัดดำเนินการให้ทันภายในกำหนด 6. จัดทำสรุปรายงานผลการจัดส่งและชี้แจงประเด็นที่ส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของกรุงเทพมหานครผ่านแอปพลิเคชันไลน์ประจำเดือน เพื่อรายงานผู้บริหารกรุงเทพมหานครทราบ พร้อมเวียนแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ และนำเข้าวาระการประชุมหัวหน้าหน่วยงานเพื่อกำชับให้หน่วยงานตระหนักถึงความสำคัญในการชี้แจงประเด็นข่าวเพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องแก่ประชาชนให้ทันต่อเหตุการณ์ 7. จัดส่งและชี้แจงประเด็นสำคัญผ่านแอปพลิเคชั่นไลน์ในเดือนกรกฎาคม 2563 จำนวนประเด็น 48 เรื่อง มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 27 หน่วยงาน จัดทำ "กทม.ชี้แจงข่าวร้องเรียน" 47 เรื่อง / 31/8/2563 1. จัดเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ ติดตามประเด็นข่าวสารและความคิดเห็นของประชาชนที่กล่าวถึงกรุงเทพมหานครในสื่อสังคมออนไลน์และสื่อมวลชน 2. คณะทำงานกำหนดและพิจารณาประเด็นที่ส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของกรุงเทพมหานคร และจัดส่งประเด็นทางกลุ่ม Line BMA รับประเด็น ภายในเวลา 10.30 น. ของทุกวันโดยไม่มีวันหยุด หรือหากเป็นกรณีเร่งด่วน ต้องแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการทันที 3. จัดกิจกรรมเพื่อเพิ่มศักยภาพในการกำหนดและพิจารณาประเด็นฯ ให้เป็นไปตามมาตรฐานทันเวลา 10.30 น. ทุกวัน ดังนี้ 3.1 จัดเวรเจ้าหน้าที่ในการกำหนดและพิจารณาประเด็นฯ ในวันหยุด 3.2 ดำเนินการเพิ่มทักษะให้แก่เจ้าหน้าที่ของกลุ่มงานวิเคราะห์ข่าวทุกคน โดยวิธีเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติในงาน (On the Job Training) ให้สามารถทำงานทดแทนกันได้ 3.3 จัดให้มีการซักซ้อมความเข้าใจในการดำเนินงานสื่อสารประชาสัมพันธ์และชี้แจงประเด็นต่าง ๆ ระหว่างกลุ่มงานภายในหน่วยงาน 4. สำนักงานประชาสัมพันธ์นำข้อมูลจากการชี้แจงประเด็นในกลุ่ม Line BMA ตอบประเด็น มาจัดทำข่าวชี้แจงข้อร้องเรียนหรือข่าวประชาสัมพันธ์`เผยแพร่ทางสื่อมวลชนและสื่อสังคมออนไลน์ 5. จัดทำหลักเกณฑ์การชี้แจงและรายงานประเด็นที่ส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของกรุงเทพมหานคร เพื่อซักซ้อมความเข้าใจกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการตอบรับประเด็นทางกลุ่ม Line BMA รับประเด็น และชี้แจงประเด็นทางกลุ่ม Line BMA ตอบประเด็น ภายใน 24 ชั่วโมง นับตั้งแต่การแจ้งประเด็นในกลุ่ม ไลน์ BMA รับประเด็น พร้อมทั้งจัดให้มีการติดตามหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อเร่งรัดดำเนินการให้ทันภายในกำหนด 6. จัดทำสรุปรายงานผลการจัดส่งและชี้แจงประเด็นที่ส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของกรุงเทพมหานครผ่านแอปพลิเคชันไลน์ประจำเดือน เพื่อรายงานผู้บริหารกรุงเทพมหานครทราบ พร้อมเวียนแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ และนำเข้าวาระการประชุมหัวหน้าหน่วยงานเพื่อกำชับให้หน่วยงานตระหนักถึงความสำคัญในการชี้แจงประเด็นข่าวเพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องแก่ประชาชนให้ทันต่อเหตุการณ์ 7. จัดส่งและชี้แจงประเด็นสำคัญผ่านแอปพลิเคชั่นไลน์ในเดือนสิงหาคม 2563 จำนวนประเด็น 42 เรื่อง มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 22 หน่วยงาน จัดทำ "กทม.ชี้แจงข่าวร้องเรียน" 43 เรื่อง / 29/9/2563 1. จัดเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ ติดตามประเด็นข่าวสารและความคิดเห็นของประชาชนที่กล่าวถึงกรุงเทพมหานครในสื่อสังคมออนไลน์และสื่อมวลชน 2. คณะทำงานกำหนดและพิจารณาประเด็นที่ส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของกรุงเทพมหานคร และจัดส่งประเด็นทางกลุ่ม Line BMA รับประเด็น ภายในเวลา 10.30 น. ของทุกวันโดยไม่มีวันหยุด หรือหากเป็นกรณีเร่งด่วน ต้องแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการทันที 3. จัดกิจกรรมเพื่อเพิ่มศักยภาพในการกำหนดและพิจารณาประเด็นฯ ให้เป็นไปตามมาตรฐานทันเวลา 10.30 น. ทุกวัน ดังนี้ 3.1 จัดเวรเจ้าหน้าที่ในการกำหนดและพิจารณาประเด็นฯ ในวันหยุด 3.2 ดำเนินการเพิ่มทักษะให้แก่เจ้าหน้าที่ของกลุ่มงานวิเคราะห์ข่าวทุกคน โดยวิธีเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติในงาน (On the Job Training) ให้สามารถทำงานทดแทนกันได้ 3.3 จัดให้มีการซักซ้อมความเข้าใจในการดำเนินงานสื่อสารประชาสัมพันธ์และชี้แจงประเด็นต่าง ๆ ระหว่างกลุ่มงานภายในหน่วยงาน 4. สำนักงานประชาสัมพันธ์นำข้อมูลจากการชี้แจงประเด็นในกลุ่ม Line BMA ตอบประเด็น มาจัดทำข่าวชี้แจงข้อร้องเรียนหรือข่าวประชาสัมพันธ์`เผยแพร่ทางสื่อมวลชนและสื่อสังคมออนไลน์ 5. จัดทำหลักเกณฑ์การชี้แจงและรายงานประเด็นที่ส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของกรุงเทพมหานคร เพื่อซักซ้อมความเข้าใจกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการตอบรับประเด็นทางกลุ่ม Line BMA รับประเด็น และชี้แจงประเด็นทางกลุ่ม Line BMA ตอบประเด็น ภายใน 24 ชั่วโมง นับตั้งแต่การแจ้งประเด็นในกลุ่ม ไลน์ BMA รับประเด็น พร้อมทั้งจัดให้มีการติดตามหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อเร่งรัดดำเนินการให้ทันภายในกำหนด 6. จัดทำสรุปรายงานผลการจัดส่งและชี้แจงประเด็นที่ส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของกรุงเทพมหานครผ่านแอปพลิเคชันไลน์ประจำเดือน เพื่อรายงานผู้บริหารกรุงเทพมหานครทราบ พร้อมเวียนแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ และนำเข้าวาระการประชุมหัวหน้าหน่วยงานเพื่อกำชับให้หน่วยงานตระหนักถึงความสำคัญในการชี้แจงประเด็นข่าวเพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องแก่ประชาชนให้ทันต่อเหตุการณ์ 7. อยู่ระหว่างสรุปผลการจัดส่งและชี้แจงประเด็นสำคัญผ่านแอปพลิเคชั่นไลน์ในเดือนกันยายน 2563
การเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน หมายถึง การพัฒนา ปรับปรุง แก้ไข และหรือเพิ่มเติมความสามารถหรือทักษะในการปฏิบัติงานของหน่วยงานให้ดียิ่งขึ้น เพื่อให้ผลการปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพ เกิดความพึงพอใจแก่ผู้ปฏิบัติงานและผู้รับบริการ
พิจารณาจากผลสำเร็จในการดำเนินการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (100 คะแนน)
1. รายงานการวิเคราะห์องค์กร SWOT (แบบฟอร์ม 1) ของหน่วยงาน หนังสือเสนอผู้บริหารหน่วยงานเกี่ยวกับการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ฯ ฯลฯ 2. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (แบบฟอร์ม 2) 3. แบบฟอร์มนำเสนอโครงการเพื่อสรุปเนื้อหาโครงการที่จะดำเนินการ (แบบฟอร์ม 3) 4. เอกสาร/หลักฐานต่างๆ ที่แสดงให้เห็นถึงผลสำเร็จของการดำเนินโครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน เช่น รายงานการประชุม รายงานสรุปผลการดำเนินการฯ ภาพถ่าย ฯลฯ
:ด้านที่ ๕ - มหานครประชาธิปไตย : Bangkok as a Democratic City |
:๕.๔ - การเมืองสีขาว |
:๕.๔.๑ ประชาชนมีความเชื่อมั่นในข้าราชการและผู้ดำารงตำาแหน่งทางการเมืองของกรุงเทพมหานคร% |
:๕.๔.๑.๑ ประชาชนมีความเชื่อมั่นในหน่วยงานและผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง |