รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

3.1 (ข) การเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน : 0416-0996

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
15.00
100
100 / 100
2
40.00
100
100 / 100
3
60.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างการศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างขั้นตอนการหารือกับหน่วยงานภายนอก เกี่ยวกับการดำนเนินโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการสรุปข้อมูลองค์ความรู้ผ่านช่องทางออนไลน์จากกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์แล้ว ขณะนี้อยู่ระหว่างการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานกรุงเทพมหานครที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ผลิตภัณฑ์ชุมชน และการพัฒนาระบบเศรษฐกิจชุมชนในระดับเขต และสืบค้นข้อมูลองค์ความรู้ผ่านช่องทางออนไลน์จากหน่วยงานเป้าหมายตามตัวชี้วัดอื่น ๆ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เผยแพร่องค์ความรู้ฯ ในรูปแบบเอกสารและแบบ online ทดสอบความรู้หลังการเผยแพร่ฯ รวมถึงรายงานผลการดำเนินการต่อผู้อำนวยการสำนักงานการต่างประเทศ และจัดส่งเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหมดให้แก่สำนักงาน ก.ก. เพื่อพิจารณาเรียบร้อยแล้ว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

การเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน หมายถึง การพัฒนา ปรับปรุง แก้ไข และหรือเพิ่มเติมความสามารถหรือทักษะในการปฏิบัติงานของหน่วยงานให้ดียิ่งขึ้น เพื่อให้ผลการปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพ เกิดความพึงพอใจแก่ผู้ปฏิบัติงานและผู้รับบริการ การเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานเป็น วิธีการหนึ่งที่จะผลักดันให้หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครเกิดการพัฒนาองค์การของตัวเองอย่างต่อเนื่อง โดยให้หน่วยงานพิจารณางานที่ต้องการจะเพิ่มประสิทธิภาพ โดยการ พิจารณาจากโอกาสในการพัฒนาของงานด้านนั้น ๆ หรือความต้องการขจัดอุปสรรคในการปฏิบัติงานด้วยเทคนิคการวิเคราะห์องค์การง่าย ๆ เช่น SWOT Analysis แล้วเสนอ แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพนั้น ๆ อย่างเป็นรูปธรรม ด้วยการคิดสร้างสรรค์/พัฒนาจากผู้บริหารหน่วยงาน หรือผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมจากผู้มีส่วนได้เสีย และนำแนวทางการ เพิ่มประสิทธิภาพเหล่านั้นมาจัดทำเป็นโครงการ กำหนดวัตถุประสงค์ ผลลัพธ์ และผลสำเร็จที่ต้องการ และดำเนินการให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ ทั้งนี้ เพื่อให้ภารกิจของ หน่วยงานเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพิ่มมากขึ้น

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

การประเมินการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานพิจารณาจากผลสำเร็จในการดำเนินการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (100 คะแนน) โดยประเมินจาก ผลสำเร็จของโครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัดที่กำหนด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณาประเมินผล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
:๗.๑ - กฎหมาย
:๗.๑.๑ ระบบกฎหมายที่รองรับความเป็นอิสระและให้อำานาจในการบริหารจัดการและจัดบริการสาธารณะตา%
:๗.๑.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีกฎหมายระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานครใหม่ที่

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง