ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 90
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 0
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
อยู่ระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ดำเนินการเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน โดยจัดโครงการ/กิจกรรมต่างๆเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนและบุคลากรที่มีภาวะอ้วนลงพุงเสี่ยงต่อการเกิดโรค
-อยู่ระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ดำเนินการเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน โดยจัดโครงการ/กิจกรรมต่างๆเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนและบุคลากรที่มีภาวะอ้วนลงพุงเสี่ยงต่อการเกิดโรค
-ขอยกเลิกโครงการเนื่องจาก 1. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน ลักษณะของการจัดกิจกรรม เป็นการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการสร้างแรงจูงใจ เสริมพลัง และฝึกทักษะ รวมถึงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จึงจำเป็นต้องมีการพบปะระหว่างเจ้าหน้าที่และผู้เข้าร่วมโครงการฯดังนั้น เมื่อเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในวงกว้าง จึงทำให้ไม่สามารถคาดคะเนความรุนแรงของการระบาดในช่วงการจัดกิจกรรมได้อย่างแน่นอน 2. มีความจำเป็นต้องถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดตามหนังสือของสำนักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครที่ได้แจ้งเวียนให้หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานครทราบ และดำเนินการตามหนังสือที่ กท 0200/926 ลงวันที่ 11 มีนาคม 2563 เรื่อง ขอส่งสำเนาสรุปการประชุมเพื่อหารือ เรื่อง การจัดกิจกรรมวันสงกรานต์ในสถานการณ์ที่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ซึ่งมีข้อสั่งการให้เลื่อนการฝึกอบรม สัมมนา ศึกษาดูงานในประเทศและต่างประเทศ จนกว่าสถานการณ์ไวรัสโคโรนา 2019 จะปลอดภัย
ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลต่อการดำเนินงานของสำนักการแพทย์ ซึ่งสำนักการแพทย์มีภารกิจด้านการบริหารจัดการการแพทย์และสาธารณสุขในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยทำหน้าที่บริหารจัดการเตียงและทรัพยากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ตลอดจนร่วมบริหาร สั่งการ และประสานงานการส่งต่อทั้งผู้ป่วยยืนยันโรค ติดเชื้อ COVID – 19 ผู้ป่วยที่เข้าข่ายสงสัยติดเชื้อ (PUI) รวมไปถึงการดูแลรักษาผู้ป่วยจากโรคดังกล่าว จากสถานการณ์ดังกล่าวส่งผลต่อการดำเนินงานใน ตัวชี้วัด ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการอ้วนลงพุงมีรอบเอวหรือ BMI ลดลงจากเดิม ซึ่งการดำเนินงานตัวชี้วัดดังกล่าวต้องมีการจัดโครงการหรือกิจกรรมลักษณะของการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการสร้างแรงจูงใจ เสริมพลังและ ฝึกทักษะ และ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีความจำเป็นต้องมีการพบปะระหว่างเจ้าหน้าที่และผู้เข้าร่วมโครงการฯอย่างต่อเนื่อง จึงทำให้การดำเนินการดังกล่าวไม่สามารถทำได้ ประกอบกับมีการเวียนแจ้ง ตามหนังสือที่ กธ 0200/926 ลงวันที่ 11 มีนาคม 2563 เรื่อง ขอส่งสำเนาสรุปการประชุมเพื่อหารือ เรื่อง การจัดกิจกรรมวันสงกรานต์ในสถานการณ์ ที่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งมีข้อสั่งการให้เลื่อนการฝึกอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน ในประเทศและต่างประเทศ จนกว่าสถานการณ์ไวรัส โคโรนา 2019 จะปลอดภัย ซึ่งส่งผลให้การจัดโครงการและกิจกรรมดังกล่าวมีปัญหาและอุปสรรค ไม่สามารถดำเนินการได้ ทั้งนี้เพื่อเป็นการดำเนินการตามมติที่ประชุมคณะกรรมการจัดทำแผนปฏิบัติราชการสำนักการแพทย์ พิจารณาแล้วเห็นควรขอยกเลิกตัวชี้วัด ตามหนังสือด่วนที่สุด กท 0602/9769 ลงวันที่ 14 กันยายน 2563 เรื่อง ขออุทธรณ์การปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
- ผู้เข้าร่วมโครงการอ้วน ลงพุง หมายถึง บุคลากรในสังกัดสำนักการแพทย์และหรือประชาชนทั่วไป - รอบเอว หรือ BMI ลดลง หมายถึง ผู้เข้าร่วมโครงการที่วัดรอบเอวหรือ BMI หลังเข้าร่วมโครงการลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการอ้วนลงพุงที่มีรอบเอวหรือ BMI ลดลง หารด้วยจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการอ้วนลงพุงทั้งหมดคูณด้วย 100
-
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร% |
:๑.๖.๑.๘ ส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี |