ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 81.53
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 2:
อยู่ระหว่างเก็บข้อมูลผู้ป่วยที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์และได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงและเข้าสู่บริการของคลินิกความดันโลหิต
-โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ทั้ง 8 แห่ง ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ และได้รับการดูแลตามเกณฑ์ดังนี้1. ผู้ป่วย HT ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. 2. ผู้ป่วย HT ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต ผลการดำเนินงาน มีดังนี้ - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ที่ได้รับวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงและเข้าสู่บริการของคลินิกโรคความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 22,374 ราย - จำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการในคลินิกความดันโลหิตของโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ทั้งหมด จำนวน 33,132 ราย คิดเป็นร้อยละ 67.53
--โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ทั้ง 8 แห่ง ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ และได้รับการดูแลตามเกณฑ์ดังนี้ 1. ผู้ป่วย HT ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. 2. ผู้ป่วย HT ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต ผลการดำเนินงาน มีดังนี้ - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ที่ได้รับวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงและเข้าสู่บริการของคลินิกโรคความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 49,830 ราย - จำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการในคลินิกความดันโลหิตของโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ทั้งหมด จำนวน 69,173 ราย คิดเป็นร้อยละ 72.04
-คณะกรรมการความดันโลหิตสูงโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ได้จัดโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูง เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนดครบ 2 เกณฑ์ ได้แก่ 1. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. 2. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต นอกจากนี้ ยังดำเนินการการเฝ้าระวังติดตาม ให้คำแนะนำตามแนวทางปฏิบัติแก่ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง ตลอดจนประชาชนให้มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเอง ป้องกันภาวการณ์เจ็บป่วย และภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงโดยมีผลการดำเนินงานในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์จำนวน 8 แห่ง และกิจกรรมเพิ่มเติมจากการดำเนินงานตามโครงการในโรงพยาบาลบางแห่ง ดังนี้ 1.โรงพยาบาลกลาง - เปิดบริการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 – 12.00 น. ณ OPD อายุรกรรมทั่วไป ชั้น 2 อาคารอนุสรณ์ 100 ปี - กิจกรรม : จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก วันที่ 24-26 ธ.ค. 2563 โดยจัดบริการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น คัดกรองเบาหวาน ความดันและวัดมวลกระดูกแก่ประชาชน โดยไม่มีค่าใช้จ่าย ณ บริเวณโถงหน้าลิฟต์ ชั้น 1 อาคารอนุสรณ์ 100 ปี - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 6,390 ราย - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการทั้งหมด จำนวน 7,185 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 88.94 2.โรงพยาบาลตากสิน - เปิดบริการ ทุกวันพุธ เวลา 13.00 – 16.00 น. ณ คลินิกความดันโลหิตสูงและไขมันในเลือดสูง - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 870 ราย - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการทั้งหมด จำนวน 932 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 93.35 3.โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ - เปิดบริการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 – 11.00 น. ณ คลินิกอายุรกรรม ชั้น 2 อาคารอนุสรณ์ 20 ปี - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 15,069 ราย - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการทั้งหมด จำนวน 18,845 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 79.96 4.โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ - เปิดบริการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 – 12.00 น. ณ คลินิกโรคความดันโลหิตสูง/อายุรกรรม - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 9,753 ราย - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการทั้งหมด จำนวน 11,740 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 83.07 5.โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ - เปิดบริการ จันทร์ - ศุกร์ เวลา 08.00 - 16.00 น. ณ ชั้น 1 ตึก OPD - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 4,737 ราย - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการทั้งหมด จำนวน 7,954 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 59.55 6.โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร - เปิดบริการ จันทร์ - ศุกร์ เวลา 08.00 - 16.00 น. ณ คลินิกพิเศษต่างๆ เช่น คลินิกอายุรกรรม คลินิกเบาหวาน และห้องตรวจโรคทั่วไป - กิจกรรม : แจกแผ่นพับให้ความรู้โรคความ ดันโลหิตสูงประจำตัวผู้ป่วย - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 9,004 ราย - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการทั้งหมด จำนวน 11,190 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 80.46 7.โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ - เปิดบริการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 – 12.00 น. ณ คลินิกอายุรกรรม คลินิกตรวจโรคทั่วไป คลินิกผู้สูงอายุ 60 ปี และคลินิก กทม.ใส่ใจวัย 80 ปี - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 9,783 ราย - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการทั้งหมด จำนวน 12,122 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 80.70 8.โรงพยาบาลสิรินธร - เปิดบริการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 – 16.00 น. ณ ห้องตรวจอายุรกรรม - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 29,216 ราย - จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการทั้งหมด จำนวน 34,069 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 85.76 สรุปในภาพรวม จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 84,822 ราย และจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการทั้งหมด จำนวน 104,037 ราย คิดเป็นร้อยละของความสำเร็จ เท่ากับร้อยละ 81.53
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง หมายถึง ผู้ป่วยที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์และได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงและเข้าสู่บริการของคลินิกความดันโลหิต การดูแลตามเกณฑ์ หมายถึง ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ ดังนี้ 1. ผู้ป่วย HT ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. 2. ผู้ป่วย HT ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต
จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ที่ได้รับวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคความ ดันโลหิตสูงและเข้าสู่บริการของคลินิกโรคความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลตามเกณฑ์ หารด้วย จำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ทั้งหมด คูณด้วย 100
-
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร% |
:๑.๖.๑.๑ คัดกรองและลดปัจจัยเสี่ยงเชิงพฤติกรรมที่มีผลกระทบต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง |
id | budgetyear | month_ | amount_law | amount_inmeeting | adddate | updatedate |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | 2562 | ตุลาคม | 2 | 1 | 2020-06-02 | 2020-06-02 |
2 | 2562 | พฤศจิกายน | 2 | 1 | 2020-06-02 | 2020-06-02 |
3 | 2562 | ธันวาคม | 2 | 2 | 2020-06-02 | 2020-06-02 |
4 | 2563 | มกราคม | 2 | 1 | 2020-06-02 | 2020-06-02 |
5 | 2563 | กุมภาพันธ์ | 2 | 2 | 2020-06-02 | 2020-06-02 |
6 | 2563 | มีนาคม | 3 | 2 | 2020-06-02 | 2020-06-02 |
7 | 2563 | เมษายน | 2 | 2 | 2020-06-02 | 2020-06-02 |
8 | 2563 | พฤษภาคม | 4 | 0 | 2020-06-02 | 2020-07-14 |
9 | 2563 | มิถุนายน | 0 | 0 | 2020-07-14 | 2020-07-14 |
10 | 2563 | กรกฎาคม | 2 | 0 | 2020-08-13 | 2020-08-13 |
11 | 2563 | สิงหาคม | 0 | 0 | 2020-09-16 | 2020-09-16 |
12 | 2563 | กันยายน | 0 | 0 | 2020-09-16 | 2020-09-16 |
13 | 2564 | ตุลาคม 2563 | 0 | 0 | 2020-10-27 | 2020-10-27 |
16 | 2564 | พฤศจิกายน 2563 | 1 | 0 | 2020-11-13 | 2020-11-13 |
17 | 2564 | ธันวาคม 2563 | 6 | 2 | 2020-12-29 | 2020-12-29 |
21 | 2564 | มกราคม 2564 | 9 | 1 | 2021-01-27 | 2021-01-27 |