ค่าเป้าหมาย น้อยกว่าร้อยละ : 1
ผลงานที่ทำได้ น้อยกว่าร้อยละ : 0.045
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ทุกแห่ง ได้มีการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง (ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่เสียชีวิตด้วย Intracerebral Haemorrhage หรือ Hemorrhagic Stroke) ที่เข้ามารับการรักษาทั้งหมดอย่างต่อเนื่อง ดังนี้ รพก. ผู้ป่วย 13,286 ราย เสียชีวิต 0 ราย ร้อยละ 0.00 รพต. ผู้ป่วย 32,216 ราย เสียชีวิต 2 ราย ร้อยละ 0.006 รพจ. ผู้ป่วย 22,343 ราย เสียชีวิต 2 ราย ร้อยละ 0.009 รพท. ผู้ป่วย 5,658 ราย เสียชีวิต 0 ราย ร้อยละ 0.00 รพว. ผู้ป่วย 6,594 ราย เสียชีวิต 0 ราย ร้อยละ 0.00 รพล. ผู้ป่วย 3,626 ราย เสียชีวิต 0 ราย ร้อยละ 0.00 รพร. ผู้ป่วย 8,098 ราย เสียชีวิต 0 ราย ร้อยละ 0.00 รพส. ผู้ป่วย 10,273 ราย เสียชีวิต 2 ราย ร้อยละ 0.019 รพข. ผู้ป่วย 1,619 ราย เสียชีวิต 0 ราย ร้อยละ 0.00 รพค. ผู้ป่วย 312 ราย เสียชีวิต 0 ราย ร้อยละ 0.00 รพบ.ผู้ป่วย 148 ราย เสียชีวิต 0 ราย ร้อยละ 0.00 รวมผู้ป่วยทั้งสิ้น จำนวน 104,173 ราย เสียชีวิต จำนวน 6 รายคิดเป็นร้อยละ 0.006
-สำนักการแพทย์ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องความดันโลหิตสูงแก่ผู้มารับบริการ คัดกรองสุขภาพผู้มารับบริการและส่งเสริมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วยแบบสหวิชาชีพและผู้ป่วยที่เข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าวสามารถนำความรู้ที่ได้รับกลับไปดูแลตนเองอย่างถูกต้อง ซึ่งจะช่วยลดภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นได้ และสำนักการแพทย์ได้ตระหนักถึงความสำคัญของโรคดังกล่าว จึงมีการตรวจ คัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง (ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่เสียชีวิตด้วย Intracerebral Haemorrhage หรือ Hemorrhagic Stroke) ที่เข้ามารับการรักษาทั้งหมดอย่างต่อเนื่อง ผลการดำเนินงาน ดังนี้ รวมผู้ป่วยทั้งสิ้น จำนวน 75,158 ราย เสียชีวิต จำนวน 33 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.04
--สำนักการแพทย์ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องความดันโลหิตสูงแก่ผู้มารับบริการ คัดกรองสุขภาพผู้มารับบริการและส่งเสริมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วยแบบสหวิชาชีพและผู้ป่วยที่เข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าวสามารถนำความรู้ที่ได้รับกลับไปดูแลตนเองอย่างถูกต้อง ซึ่งจะช่วยลดภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นได้ และสำนักการแพทย์ได้ตระหนักถึงความสำคัญของโรคดังกล่าว จึงมีการตรวจ คัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง (ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่เสียชีวิตด้วย Intracerebral Haemorrhage หรือ Hemorrhagic Stroke) ที่เข้ามารับการรักษาทั้งหมดอย่างต่อเนื่อง ผลการดำเนินงาน ดังนี้ รวมผู้ป่วยทั้งสิ้น จำนวน 149,158 ราย เสียชีวิต จำนวน 81 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.0054
-สำนักการแพทย์ได้ดำเนินการเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูง โดยให้ความรู้เรื่องความดันโลหิตสูงแก่ประชาชนผู้มารับบริการ ดังนี้ 1.ตรวจคัดกรองสุขภาพผู้มารับบริการและส่งเสริมให้ความรู้แก่ผู้ป่วย ญาติ ผู้ดูแล 2.เปิดให้บริการคลินิกความดันโลหิต เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ สุขศึกษา สามารถดูแลตนเองได้ ป้องกัน และชะลอภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ตลอดจนจัดให้ความรู้ผู้ป่วยเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ.2 ส.ในคลินิกเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม 3.จัดนิทรรศการรณรงค์วันโรคความดันโลหิตสูงแก่ผู้มารับบริการ 4.จัดกิจกรรมเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง เช่น การคัดกรองผู้ป่วย HT ที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไต ประสานกับศูนย์บริการสาธารณสุขในการรับและส่งต่อดูแลผู้ป่วยร่วมกัน กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพประชาชน 4. จัดทำเอกสารเพื่อให้ความรู้แก่ผู้มารับบริการ เช่น การแจกแผ่นพับ จัดบอร์ด เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่องความดันโลหิตสูง และการปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 5.จัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางในการดูแลผู้ป่วยตามโครงการค่ายความดันโลหิตสูง เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และแนวทางในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งวัตถุประสงค์ในการจัดกิจกรรมของโรงพยาบาลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วยแบบสหวิชาชีพและผู้ป่วยที่เข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าวสามารถนำความรู้ที่ได้รับกลับไปดูแลตนเองอย่างถูกต้องช่วยลดภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นได้ และสำนักการแพทย์ได้ตระหนักถึงความสำคัญของโรคดังกล่าว จึงมีการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง (ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่เสียชีวิตด้วย Intracerebral Haemorrhage หรือ Hemorrhagic Stroke) ที่เข้ามารับการรักษาทั้งหมดอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2563 ดังนี้ รพก. ผู้ป่วย 42,335 ราย เสียชีวิต 34 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.080 รพต. ผู้ป่วย 82,362 ราย เสียชีวิต 7 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.008 รพจ. ผู้ป่วย 66,900 ราย เสียชีวิต 15 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.022 รพท. ผู้ป่วย 15,317 ราย เสียชีวิต 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.033 รพว. ผู้ป่วย 7,954 ราย เสียชีวิต 16 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.201 รพล. ผู้ป่วย 14,284 ราย เสียชีวิต 0 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.00 รพร. ผู้ป่วย 11,658 ราย เสียชีวิต 8 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.069 รพส. ผู้ป่วย 29,594 ราย เสียชีวิต 39 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.132 รพข. ผู้ป่วย 5,314 ราย เสียชีวิต 0 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.00 รพค. ผู้ป่วย 609 ราย เสียชีวิต 0 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.00 รวมผู้ป่วยทั้งสิ้น จำนวน 276,327 ราย เสียชีวิต จำนวน 124 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.045
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง หมายถึง ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่เสียชีวิตในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ด้วย Intracerebral Hemorrhage หรือ Hemorrhagic Stroke
ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่เสียชีวิตด้วย Intracerebral Hemorrhage หรือ Hemorrhagic Stroke หารด้วย จำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับการรักษาในปีงบประมาณเดียวกัน คูณ 100
-
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร% |
:๑.๖.๑.๑ คัดกรองและลดปัจจัยเสี่ยงเชิงพฤติกรรมที่มีผลกระทบต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง |