ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 85
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 90.06
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
อยู่ในระหว่างการรวบรวมข้อมูลจากศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง
สำรวจอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานครที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2562 รอบประเมินที่ 1 (1 ต.ค. 2562 - 31 มี.ค. 2563) จำนวน 9,560 คน จากอาสาสมัครสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานทั้งหมดจำนวน 10,737 คน คิดเป็นร้อยละ 89.03
อยู่ในระหว่างการรวบรวมข้อมูลจากศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ในรอบประเมินที่ 2 (1 เม.ย. 2563 - 30 ก.ย. 2563) ผลการดำเนินงาน รอบประเมินที่ 1 (1 ต.ค. 2562 - 31 มี.ค. 2563) อาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานครที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติงาน จำนวน 9,560 คน จากอาสาสมัครสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานทั้งหมดจำนวน 10,737 คน คิดเป็นร้อยละ 89.03
สำรวจอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานครที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2563 รอบประเมินที่ 2 (1 เม.ย. 2563 - 30 ก.ย. 2563) อาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานครที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติงาน จำนวน 9,670 คน จากอาสาสมัครสาธารณสุขที่ปฏิบัติงาน ทั้งหมด จำนวน 10,737 คน คิดเป็นร้อยละ 90.06
อาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร คือ อาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานครที่มีสถานภาพปฏิบัติงาน การพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติงาน คือ การได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะในการปฏิบัติงาน ดังต่อไปนี้ - การอบรมฟื้นฟูความรู้ เป็นการอบรมวิชาการแก่ อาสาสมัครสาธารณสุขที่ปฏิบัติงาน - การอบรมเฉพาะเรื่อง เป็นการอบรมตามปัญหาสาธารณสุขที่เกิดขึ้นในแต่ละพื้นที่ การอบรมตามนโยบายต่างๆ ในการพัฒนาสาธารณสุขทั้งในระดับของกรุงเทพมหานครและระดับพื้นที่ - การประชุมติดตามผลการดำเนินงาน เป็นการประชุมประจำเดือนของอาสาสมัครสาธารณสุขที่ศูนย์บริการสาธารณสุขจัดขึ้น เพื่อติดตามผลการดำเนินงาน และเพื่อแจ้งข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ รวมทั้งเทคนิควิชาการที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่
อาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานครที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติงาน คูณด้วย 100 หารด้วย อาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานครที่ปฏิบัติงาน
รวบรวมข้อมูลจากศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ตามแบบติดตามผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร% |
:๑.๖.๑.๑ คัดกรองและลดปัจจัยเสี่ยงเชิงพฤติกรรมที่มีผลกระทบต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง |