ค่าเป้าหมาย ศูนย์บริการสาธารณสุข : 5
ผลงานที่ทำได้ ศูนย์บริการสาธารณสุข : 3
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
อยู่ระหว่างการลงนามสัญญาการจ้างที่ปรึกษา และอยู่ระหว่างขั้นตอนการประสานงานศูนย์บริการสาธารณสุข เพื่อเข้าสู่กระบวนการพัฒนาคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุขให้ผ่านการรับรองจากองค์กรภายนอก
ศูนย์บริการสาธารณสุขที่ผ่านเกณฑ์การประเมินรับรองคุณภาพกับ สรพ. จำนวน 3 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 60 ของความสำเร็จ 1. ขออนุมัติโครงการ และแผนการใช้เงินงบประมาณ เรียบร้อยแล้ว 2. ดำเนินการจ้างที่ปรึกษา และขออนุมัติแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณากำหนดขอบเขต เรียบร้อยแล้ว 3. จัดกิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุขตามมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข (PHCA) 4. ดำเนินกิจกรรมการประเมิน/รับรองคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย จำนวน 15 แห่ง ตาม TOR โดยศูนย์บริการสาธารณสุขสมัครเข้ารับการเยี่ยมสำรวจเพื่อประเมินและรับรองคุณภาพมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข (PHCA) 23 แห่ง 5. กำหนดการเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข ในเดือนมีนาคม เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรค Covid-19 และตามข้อคำสั่งแนวทางปฏิบัติของกรุงเทพมหานครต้องชะลอการดำเนินการ
ศูนย์บริการสาธารณสุขที่ผ่านเกณฑ์การประเมินรับรองคุณภาพกับ สรพ. จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ ศบส.7, 58 และ 66 ความสำเร็จของการดำเนินโครงการ คิดเป็นร้อยละ 95 โดยกิจกรรมที่ 1 จ้างที่ปรึกษา (TOR) ดำเนินการพัฒนาประเมินและรับรองคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุข ได้ดำเนินการการจ้างที่ปรึกษา (TOR) ในการประเมินและรับรองคุณภาพมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข (PHCA) โดยสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) เรียบร้อยแล้ว โดยในเดือนมิถุนายน ศบส.จำนวน 8 แห่ง ได้รับการเยี่ยม Accreditation กำหนดการเยี่ยม Re - accreditation และกำหนดการเยี่ยม Surveillance โดยสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) ได้แก่ ศบส. 62, 68, 58, 21, 66, 39, 7 และ 50 กิจกรรมที่ 2 การพัฒนาคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุขให้ผ่านการรับรองจากองค์กรภายนอก การประชุมพัฒนาคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุขให้ผ่านการรับรองจากองค์กรภายนอก โดยศูนย์บริการสาธารณสุขได้ดำเนินการจัดประชุมในเดือนกุมภาพันธ์และเดือนมีนาคม 2563 เรียบร้อยแล้ว ทั้งนี้ เนื่องจากสถานการณ์โรคระบาดโควิค19 การประชุมในเดือนเมษายนและพฤษภาคม 2563 จึงขออนุมัติยกเลิกกิจกรรมฯดังกล่าว ให้เป็นไปตามข้อคำสั่งแนวทางปฏิบัติของกรุงเทพมหานครต่อไป กิจกรรมที่ 3 การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุขตามมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข (PHCA) ได้ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว ในเดือน มกราคม 2563
ศูนย์บริการสาธารณสุขที่ผ่านเกณฑ์การประเมินรับรองคุณภาพกับ สรพ. จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ ศบส.7, 58 และ 66 ความสำเร็จของการดำเนินโครงการ คิดเป็นร้อยละ 100 โดยกิจกรรมที่ 1 จ้างที่ปรึกษา (TOR) ดำเนินการพัฒนาประเมินและรับรองคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุข ได้ดำเนินการการจ้างที่ปรึกษา (TOR) ในการประเมินและรับรองคุณภาพมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข (PHCA) โดยสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) เรียบร้อยแล้ว สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)อยู่ระหว่างดำเนินการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข(Focus) ได้แก่ ศูนย์บริการสาธารณสุข 61, 68, 60, 40, 64 และ 21 โดยจะดำเนินการตรวจเยี่ยมแล้วเสร็จในวันที่ 18 กันยายน 2563 ตามแผนงานที่วางไว้ กิจกรรมที่ 2 การพัฒนาคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุขให้ผ่านการรับรองจากองค์กรภายนอก การประชุมพัฒนาคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุขให้ผ่านการรับรองจากองค์กรภายนอก โดยศูนย์บริการสาธารณสุขได้ดำเนินการจัดประชุมในเดือนกุมภาพันธ์และเดือนมีนาคม 2563 เรียบร้อยแล้ว ทั้งนี้ เนื่องจากสถานการณ์โรคระบาดโควิค19 การประชุมในเดือนเมษายนและพฤษภาคม 2563 ได้รับอนุมัติยกเลิกกิจกรรมฯ ดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว ให้เป็นไปตามข้อคำสั่งแนวทางปฏิบัติของกรุงเทพมหานครต่อไป และกิจกรรมที่ 3 การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุขตามมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข (PHCA) ได้ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว ทั้งนี้ การดำเนินโครงการเสร็จสิ้นแล้ว และบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่กำหนด
ศูนย์บริการสาธารณสุขที่ได้รับการประเมินและรับรองคุณภาพจากองค์กรภายนอก หมายถึง ศูนย์บริการสาธารณสุขมีการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุขและเข้าสู่กระบวนการประเมินและรับรองคุณภาพจากองค์กรภายนอกทั้งศูนย์บริการสาธารณสุขที่ผ่านการรับรองกระบวนการคุณภาพตามมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข (Accredit) และศูนย์บริการสาธารณสุขที่ได้รับการต่ออายุกระบวนการคุณภาพตามมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข (Re-accredit)
ศูนย์บริการสาธารณสุขที่ได้รับการประเมินและรับรองคุณภาพจากองค์กรภายนอก X 100 จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขเป้าหมายทั้งหมด
-
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๓ คนกรุงเทพฯทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เท่าเทียม มีคุณภาพ แ% |
:๑.๖.๓.๑ พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ |