ค่าเป้าหมาย 0.0 ต่อแสนประชากร : 0
ผลงานที่ทำได้ 0.0 ต่อแสนประชากร : 0
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
6.1 จำนวนสุนัขและสัตว์เลี้ยงที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า (ผลผลิต) ผลการดำเนินการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ให้กับสุนัขและสัตวเลี้ยงของประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 จำนวน 11,473 ตัว แบ่งเเป็นสุนัข จำนวน 5,698 ตัว แมว จำนวน 5,774 ตัว และสัตว์อื่น ๆ จำนวน 1 ตัว 6.2 ตรวจพบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าในตัวอย่างซากสุนัขและแมวที่ส่งตรวจลดลง 10% ของค่า Median 5 ปีย้อนหลัง(ผลลัพธ์) ผลการส่งตัวอย่างซากสุนัขและแมวตรวจทางห้องปฏิบัติการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ยังไม่พบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า 6.3 อัตราป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า (ผลลัพธ์) ผลการดำเนินงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ยังไม่พบประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า...//
6.1 จำนวนสุนัขและสัตว์เลี้ยงที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า(ผลผลิต) ผลการดำเนินการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและสัตวเลี้ยงของประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 จำนวน 81,657 ตัว แบ่งเเป็นสุนัข จำนวน 40,157 ตัว แมว จำนวน 41,242 ตัว และสัตว์อื่น ๆ จำนวน 258 ตัว 6.2 ตรวจพบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าในตัวอย่างซากสุนัขและแมวที่ส่งตรวจลดลง 10% ของค่า Median 5 ปีย้อนหลัง(ผลลัพธ์) (ค่า Median 5 ปีย้อนหลัง 5 ปี = 32 case ดังนั้นการตรวจพบลดลง 10% = 3.2 case ฉะนั้นตามตัวชี้วัด ปีงบฯ 63 จึงตรวจพบได้ไม่เกิน 32-3.2 = 28.8 case ปัดเศษขึ้น) ผลการส่งตัวอย่างซากสุนัขและแมวตรวจทางห้องปฏิบัติการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ยังไม่พบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า 6.3 อัตราป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า (ผลลัพธ์) ผลการดำเนินงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ยังไม่พบประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า...//
6.1 จำนวนสุนัขและสัตว์เลี้ยงที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า(ผลผลิต) ผลการดำเนินการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและสัตวเลี้ยงของประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 จำนวน 100,172 ตัว แบ่งเเป็นสุนัข จำนวน 48,684 ตัว แมว จำนวน 51,162 ตัว และสัตว์อื่น ๆ จำนวน 326 ตัว 6.2 ตรวจพบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าในตัวอย่างซากสุนัขและแมวที่ส่งตรวจลดลง 10% ของค่า Median 5 ปีย้อนหลัง(ผลลัพธ์) (ค่า Median 5 ปีย้อนหลัง 5 ปี = 32 case ดังนั้นการตรวจพบลดลง 10% = 3.2 case ฉะนั้นตามตัวชี้วัด ปีงบฯ 63 จึงตรวจพบได้ไม่เกิน 32-3.2 = 28.8 case ปัดเศษขึ้น) ผลการส่งตัวอย่างซากสุนัขและแมวตรวจทางห้องปฏิบัติการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ยังไม่พบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า 6.3 อัตราป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า (ผลลัพธ์) ผลการดำเนินงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ยังไม่พบประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า...//
6.1 จำนวนสุนัขและสัตว์เลี้ยงที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า(ผลผลิต) ผลการดำเนินการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและสัตวเลี้ยงของประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 จำนวน 111,955 ตัว แบ่งเเป็นสุนัข จำนวน 52,761 ตัว แมว จำนวน 58,856 ตัว และสัตว์อื่น ๆ จำนวน 338 ตัว 6.2 ตรวจพบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าในตัวอย่างซากสุนัขและแมวที่ส่งตรวจลดลง 10% ของค่า Median 5 ปีย้อนหลัง(ผลลัพธ์) (ค่า Median 5 ปีย้อนหลัง 5 ปี = 32 case ดังนั้นการตรวจพบลดลง 10% = 3.2 case ฉะนั้นตามตัวชี้วัด ปีงบฯ 63 จึงตรวจพบได้ไม่เกิน 32-3.2 = 28.8 case ปัดเศษขึ้น) ผลการส่งตัวอย่างซากสุนัขและแมวตรวจทางห้องปฏิบัติการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ยังไม่พบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า 6.3 อัตราป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า (ผลลัพธ์) ผลการดำเนินงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ยังไม่พบประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า...//
นิยาม โรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคสัตว์สู่คนที่มีอันตราย คนและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่แสดงอาการจะเสียชีวิตทุกราย โดยมีสุนัขและแมวเป็นพาหะของโรคที่สำคัญ (อัตราป่วยตาย 100%)
วิธีการคำนวณ - จำนวนสุนัขและสัตว์เลี้ยงที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า x 100/200,000 วิธีการคำนวณ - ตรวจพบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าในตัวอย่างซากสุนัขและแมวที่ส่งตรวจประจำปีงบประมาณ 2563 ได้ไม่เกิน 29 case(ค่า Median 5 ปีย้อนหลัง คือ 32 case ดังนั้น การตรวจพบลดลง 10 % = 3.2 case ฉะนั้นตามตัวชี้วัดปีงบฯ 63 จึงตรวจพบได้ไม่เกิน 32 – 3.2 = 28.8 วิธีการคำนวณ จำนวนประชากรกรุงเทพมหานครที่ป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า x 100,000/ประชากรกรุงเทพมหานครตามทะเบียนราษฎร์
-
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง% |
:๑.๖.๒.๔ พัฒนาระบบกลไกการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออก |