รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล : 0800-6604

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00
100
100 / 100
2
100.00
0
0 / 0
3
100.00
0
0 / 0
4
100.00
0
0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการคัดกรองภาวะซึมเศร้าผู้รับบริการในคลินิกครอบครัวอบอุ่น จำนวน 973 คน พบกลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้าจำนวน 23 คน กลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 100 (ข้อมูล พฤศจิกายน 2563)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการคัดกรองภาวะซึมเศร้าผู้รับบริการในคลินิกครอบครัวอบอุ่น จำนวน 2003 คน พบกลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้าจำนวน 67 คน กลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล จำนวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ 100 (ข้อมูล กุมภาพันธ์ 2564)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการคัดกรองภาวะซึมเศร้าผู้รับบริการในคลินิกครอบครัวอบอุ่น จำนวน 3761 คน พบกลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้าจำนวน 95 คน กลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล จำนวน 95 คน คิดเป็นร้อยละ 100 (ข้อมูล พฤษภาคม 2564)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการคัดกรองภาวะซึมเศร้าผู้รับบริการในคลินิกครอบครัวอบอุ่น จำนวน 4416 คน พบกลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้าจำนวน 174 คน กลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล จำนวน 174 คน คิดเป็นร้อยละ 100 (ข้อมูล สิงหาคม 2564)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

กลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้า หมายถึง ผู้รับบริการในคลินิกครอบครัวอบอุ่นของศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง ของสำนักอนามัย ด้วย 2Q แล้วมีผลเป็นบวก การดูแลช่วยเหลือกลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้า หมายถึง การดูแลช่วยเหลือตามสภาพปัญหา เช่น การให้คำปรึกษา การส่งต่อเพื่อรักษา การเยี่ยมติดตาม เป็นต้น

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนผู้รับบริการคลินิกครอบครัวอบอุ่นเสี่ยงภาวะซึมเศร้าที่ได้รับการดูแลช่วยเหลือ หารด้วยจำนวนผู้รับบริการที่เสี่ยงภาวะซึมเศร้าทั้งหมด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

การรายงานการให้บริการคลินิกครอบครัวอบอุ่น ของศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร%
:๑.๖.๑.๓ ดูแลช่วยเหลือกลุ่มเสี่ยงที่พบภาวะซึมเศร้าเข้าสู่ระบบบริการ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง