ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
กองการพยาบาลสาธารณสุข ได้รับการอนุมัติโครงการ การพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ประจำปีงบประมาณ 2564 ได้เสนอของบประมาณ และอยู่ระหว่างการดำเนินงาน ดังนี้ 1. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน 2. ประชาสัมพันธ์และรวบรวมรายชื่อกลุ่มเป้าหมาย ในกิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างแกนนำผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน อยู่ระหว่างการดำเนินการรวบรวมรายชื่อผู้สมัครเข้ารับการอบรมจากศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 69 แห่ง รอบที่ 3 และกิจกรรมที่ 2 การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทางสุขภาพ ในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพแบบไร้รอยต่อ (Seamless Care) เพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร อยู่ระหว่างการดำเนินการรวบรวมรายชื่อผู้เข้าร่วมประชุม จากศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 69 แห่ง ผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward รายใหม่ มีจำนวน 226 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯ จำนวน 224 ราย คิดเป็นร้อยละ 99.11
ผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward รายใหม่ จำนวน 499 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯ (Caregiver) ที่ผ่านการอบรมผู้ดูแลฯ (Caregiver) ทั้งหมด จำนวน 499 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 (ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุในช่วงเดือน ตุลาคม 2563 – มีนาคม 2564) ทั้งนี้ ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward สะสมทั้งหมด จำนวน 13,555 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯ(Caregiver)จากทั้งหมด เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด 19 ได้ดำเนินการเลื่อนการจัดกิจกรรมจนกว่าสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด 19 จะดีขึ้น ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างแกนนำผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน กิจกรรมที่ 2 การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทางสุขภาพ ในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพแบบไร้รอยต่อ (Seamless Care) เพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กิจกรรมที่ 3 การประชุมเชิงปฏิบัติการส่งต่อและให้คำปรึกษาการทำงานร่วมกัน ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทำเส้นทางการให้คำปรึกษา เพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ส่งต่อจากเครือข่าย กิจกรรมที่ 5 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) ดำเนินการเลื่อนตารางออกตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข จนกว่าสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด 19 จะดีขึ้น
ผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward รายใหม่ จำนวน 627 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯ (Caregiver) ที่ผ่านการอบรมผู้ดูแลฯ (Caregiver) ทั้งหมด จำนวน 627 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 (ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุในช่วงเดือน ตุลาคม 2563 – มิถุนายน 2564) ทั้งนี้ ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward สะสมทั้งหมด จำนวน 13,419 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯ(Caregiver)จากทั้งหมด เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด 19 ดำเนินการดังนี้ กิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างแกนนำผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ได้รับอนุมัติยกเลิกการจัดกิจกรรมเรียบร้อยแล้ว กิจกรรมที่ 2 การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทางสุขภาพ ในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพแบบไร้รอยต่อ (Seamless Care) เพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ได้รับอนุมัติยกเลิกการจัดกิจกรรมเรียบร้อยแล้ว กิจกรรมที่ 3 การประชุมเชิงปฏิบัติการส่งต่อและให้คำปรึกษาการทำงานร่วมกัน ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทำเส้นทางการให้คำปรึกษาเพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ส่งต่อจากเครือข่าย ได้รับอนุมัติยกเลิกการจัดกิจกรรมเรียบร้อยแล้ว กิจกรรมที่ 4 การประชุมชี้แจงการดำเนินงานของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน อยู่ระหว่างการดำเนินการ กิจกรรมที่ 5 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) เลื่อนตารางการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข จนกว่าสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด 19 จะดีขึ้น กิจกรรมที่ 6 สนับสนุนผู้ดูแล ให้สามารถดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ อยู่ระหว่างการดำเนินการ กิจกรรมที่ 7 สนับสนุนชุดอุปกรณ์การดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน อยู่ระหว่างการดำเนินการ
ผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward รายใหม่ จำนวน 645 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯ (Caregiver) ที่ผ่านการอบรมผู้ดูแลฯ (Caregiver) ทั้งหมด จำนวน 645 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 (ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุในช่วงเดือน ตุลาคม 2563 – กันยายน 2564) ทั้งนี้ ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward สะสมทั้งหมด จำนวน 13,339 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯ(Caregiver)จากทั้งหมด ดำเนินการโครงการแล้วเสร็จเรียบร้อยแล้ว
1. Home Ward หมายถึง ผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีผู้ดูแล (Caregiver) ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรการสร้างแกนนำผู้ดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านและมีพยาบาลผู้จัดการสุขภาพดูแลต่อเนื่องที่บ้านในโปรแกรม BMA Home Ward Referral 2. การเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อน หมายถึง ผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ได้รับการประเมินภาวะสุขภาพด้วยแบบประเมิน ADL หรือ TAI หรือ 2Q
จำนวนผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward ที่ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน x 100 / จำนวนผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward ทั้งหมด
:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All |
:๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร |
:๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด% |
:๓.๑.๓.๒ พัฒนาระบบบริการช่องทางด่วนให้กับผู้สูงอายุ (Fast Track) |