รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

8.ความยาวของระยะทางที่ได้ดำเนินการก่อสร้างท่อร้อยสายสื่อสารลงใต้ดิน : 1700-0883

ค่าเป้าหมาย กิโลเมตร : 100

ผลงานที่ทำได้ กิโลเมตร : 75

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(กิโลเมตร)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
59.00
100
100 / 100
2
60.00
90
90 / 100
3
70.00
100
100 / 100
4
75.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างดำเนินการตามสัญญา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างดำเนินการตามสัญญา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่างดำเนินการตามสัญญา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

อยู่ระหว่างดำเนินการตามสัญญา งานนำสายสื่อสารลงใต้ดิน(CCTV) แล้วเสร็จ งบประมาณ 2563-2565 ได้รับงบประมาณ 9 โครงการ ระยะทางรวม 53.65 กม. ดำเนินการแล้วเสร็จ 7 โครงการ เป็นระยะทางรวม 48.25 กม. คงเหลือ 2 โครงการ และอยู่ในระยะเวลาของสัญญา

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

การนำสายสื่อสารลงใต้ดิน หมายถึง การจัดทำท่อสำหรับรอยสายสื่อสารใต้ทางเดินเท้า และนำสายสื่อสารที่ผาดอยู่บนเสาไฟฟ้า หรือสะพานคนเดินข้ามถนนหรือผาดพานอยู่บนต้นไม้ หรือที่ผาดอยู่เหนือทางเดินเท้าลงมาไว้ใต้ดิน โดยประกอบด้วยการดำเนินงาน 2 ส่วน คือ 1. โครงการนำสายสื่อสารลงดินที่ดำเนินการตามแนวเส้นทางการนำสายไฟฟ้าลงดินของการไฟฟ้านครหลวง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ระยะทาง 55 กม. 2. โครงการนำสายสื่อสายลงดินซึ่งกรุงเทพมหานครให้ บริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด เป็นผู้ดำเนินการ ตามบันทึกข้อตกลงมอบหมายดำเนินการนำสายสื่อสารลงใต้ดินในเขตกรุงเทพมหานคร ระหว่างกรุงเทพมหานคร กับบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ลงวันที่ 14 ธันวาคม 2561 ระยะเวลาดำเนินการ 3 ปี ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ระยะทาง 40 กม.

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ระยะทางที่ได้ดำเนินการแล้วเสร็จ คำนวณจาก ระยะทางของท่อสำหรับร้อยสายสื่อสารใต้ดินโดยวัดระยะทางรวมของทางเดินเท้าทั้ง 2 ฝั่งของถนนที่ดำเนินการในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวนระยะทางที่ได้ดำเนินการนำสายสื่อสารลงใต้ดิน หารด้วย จำนวนระยะทางที่ค่าเป้าหมายกำหนด คูณด้วย 100 A × ๑๐๐ / N คำอธิบาย A = จำนวนระยะทางที่ได้ดำเนินการนำสายสื่อสารลงใต้ดิน N = จำนวนระยะทางที่ค่าเป้าหมายกำหนด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ขอบเขตของงาน (TOR) และเอกสารประกอบ หนังสือตรวจรับงาน

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม
:๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า%
:๒.๑.๑.๒ นำระบบท่อร้อยสายระบบสาธารณูปโภคลงใต้ดิน

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง