ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
1. จัดการฝึกอบรมให้แก่บุคลากร และเจ้าหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้มี ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการของ มาตรการการควบคุมพื้นที่ซ้อนทับ ในวันที่ 9 พฤศจิกายน 2563 2. ที่ปรึกษาส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ในวันที่ 18 พฤศจิกายน 2563
ดำเนินการแล้วเสร็จตามแผนที่ได้วางไว้
ดำเนินการแล้วเสร็จตามแผนที่ได้วางไว้
ดำเนินการแล้วเสร็จตามแผนที่ได้วางไว้
1. โครงการจ้างที่ปรึกษาโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานตามผังเมืองรวมด้วยมาตรการกลไกที่เหมาะสม กรณีมาตรการการควบคุมเขตพื้นที่ซ้อนทับ (Overlay Zoning) คือ การศึกษาวิเคราะห์แนวทางที่เหมาะสมในการนำมาตรการควบคุมเขตพื้นที่ซ้อนทับมาใช้บังคับในผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครให้สอดคล้องเหมาะสมกับอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานครและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. เขตพื้นที่ซ้อนทับ หมายถึง พื้นที่ที่ถูกกำหนดเป็นย่านพิเศษซ้อนทับบนย่านพื้นฐาน (Underlying Zoning District) ซึ่งการควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารในย่านพิเศษนี้จะคำนึงถึงความต้องการใช้ประโยชน์ที่ดินของสถาบันหลักที่อยู่ในย่านพิเศษนั้นและสนับสนุนให้ผู้ที่อยู่อาศัยในบริเวณนั้นเกิดความรู้สึกถึงความสำคัญของพื้นที่ (A Sense of Place)
1. จำแนกขั้นตอนการปฏิบัติงานทั้งหมดของโครงการ (รวมทุกขั้นตอนเท่ากับร้อยละ 100) 2. กำหนดสัดส่วนเนื้องานแต่ละขั้นตอนว่ามีเนื้องานร้อยละเท่าใด (พิจารณาจากความสำคัญของเนื้องานในขั้นตอนนั้น ๆ ) 3. นำสัดส่วนเนื้องานแต่ละขั้นตอนหารด้วยจำนวนวันที่ใช้จริงในช่วงรายงานผล) 4. หากในช่วงที่รายงานผลมีขั้นตอนงานมากกว่า 1 ขั้นตอนให้นำความก้าวหน้าของแต่ละขั้นตอนมารวมกัน
ขั้นตอนการดำเนินโครงการในปีงบประมาณ 2564
:ด้านที่ ๔ – มหานครกระชับ : Bangkok as a Compact City |
:๔.๑ - กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระเบียบตามผังเมืองรวม |
:๔.๑.๑ กรุงเทพมหานครชั้นในและชั้นกลาง มีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเต็มศักยภาพ สอดคล้องกับ% |
:๔.๑.๑.๑ ส่งเสริมการขยายตัวในการใช้ประโยชน์ที่ดินเต็มประสิทธิภาพตามผังเมือง |