รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎร์ได้รับการจัดสรรเบี้ยยังชีพ : 5001-0735

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 70

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 73.26

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
73.26
100
100 / 100
2
71.43
100
100 / 100
3
71.20
100
100 / 100
4
71.09
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับเบี้ยยังชีพทั้งหมด จำนวน 9760 คน (ข้อมูล ณ ธันวาคม 2562) จำนวนผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีชื่อในทะเบียนราษฎร์ 13,322 คน (ข้อมูล ณ ธันวาคม 2562) คิดเป็นร้อยละ 73.26

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับเบี้ยยังชีพทั้งหมด จำนวน 9564 คน (ข้อมูล ณ มีนาคม 2562) จำนวนผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีชื่อในทะเบียนราษฎร์ 13,389 คน (ข้อมูล ณ มีนาคม 2562) คิดเป็นร้อยละ 71.43

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับเบี้ยยังชีพทั้งหมด จำนวน 9568 คน (ข้อมูล ณ มิถุนายน 2562) จำนวนผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีชื่อในทะเบียนราษฎร์ 13,439 คน (ข้อมูล ณ มิถุนายน 2562) คิดเป็นร้อยละ 71.20

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับเบี้ยยังชีพทั้งหมด จำนวน 9,579 คน จำนวนผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีชื่อในทะเบียนราษฎร์ 13,474 คน (ข้อมูล ณ สิงหาคม 2562) คิดเป็นร้อยละ 71.09

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ผู้สูงอายุ หมายถึง ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีชื่อในทะเบียนราษฎร์

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ผู้สูงอายุที่ได้รับเบี้ยยังชีพ คูณ 100 หารด้วย ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีชื่อในทะเบียนราษฎร์

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎร์ที่ลงทะเบียนและได้รับการจัดสรรเบี้ยยังชีพ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
:๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร
:๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี%
:๓.๑.๒.๑ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง