ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
1. โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ (การรักษาหรือคงไว้) - จัดทำโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ถนนนราธิวาสราชนครินทร์และประชุมเพื่อมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบ - ดำเนินการร่วมกับประชาสังคม เอกชน และจิตอาสา ปรับปรุงทางเท้า คันหิน ผิวจราจร จุดจอดรถประจำทาง/ที่พักผู้โดยสาร สะพานลอย ปรับปรุงสภาพฝาบ่อพักท่อระบายน้ำ ช่องตะแกรงรับน้ำฝน ตรวจสอบไฟฟ้าแสงสว่าง ตรวจสอบความพร้อมของสัญญาณไฟ เครื่องหมายจราจร และป้ายบอกทาง จัดระเบียบสายเคเบิ้ลต่างๆ ที่หย่อนและรกรุงรัง พัฒนาปรับปรุงพื้นที่อัตลักษณ์ของสำนักงานเขต บริเวณแยกนราธิวาสราชนครินทร์ ตัดแต่งต้นไม้ ดูแลรักษาความสะอาดทางเท้า จัดเก็บขยะตามเวลาที่กำหนดไม่ให้มีขยะตกค้าง ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับการกำจัดขยะและการนำกลับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ จัดกิจกรรม Big Cleaning Day กวดขันไม่ให้มีการจำหน่ายสินค้าบนทางเท้าสาธารณะ กวดขันไม่ให้มีการจอดหรือขับขี่รถยนต์ หรือรถจักรยานยนต์บนทางเท้า ตรวจสอบไม่ให้มีการติดตั้ง วาง หรือแขวนป้ายโฆษณาในที่สาธารณะโดยไม่ได้รับอนุญาต ตรวจสอบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ ตรวจพื้นที่เสี่ยง จุดเสี่ยงภัย ไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง/วัน จัดเก็บไขมัน 2. โครงการบางรักรวมใจ คืนคลองน่าดู คูน่ามอง (คูหลังสำนักงานเขตบางรักและคลองหัวลำโพงเก่า) - จัดทำโครงการบางรักรวมใจ คืนคลองน่าดู คูน่ามอง และประชุมเพื่อมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบ - ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านช่องทางสื่อต่างๆ เช่น Facebook เว็บไซต์หน่วยงาน หนังสือพิมพ์ เพื่อสร้างการรับรู้ จัดกิจกรรมส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาสภาพแวดล้อม ในเรื่องการบริหารจัดการขยะ การบำบัดไขมัน การปลูกไม้ดอกไม้ประดับ และการปลูกไม้กินได้ ออกแบบและจัดทำสะพานเหล็กคนเดินข้าม พร้อมราวกันตก ออกแบบการวาดภาพทาสีผนังกำแพง ปรับปรุงภูมิทัศน์ เก็บขยะและซากใบไม้ต่างๆในคูคลอง ปลูกและบำรุงดูแลรักษาต้นไม้ สำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย/พาหะนำโรค ออกแบบและทำซุ้มไม้ประดับ การเฝ้าระวังตรวจตราและบังคับใช้กฎหมาย โดยมีอาสาประชาชนร่วมกับเจ้าหน้าที่เทศกิจ วันละ 2 ครั้ง
1. โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ (การรักษาหรือคงไว้) - ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามความก้าวหน้า - ดำเนินการร่วมกับประชาสังคม เอกชน และจิตอาสา ปรับปรุงทางเท้า คันหิน ผิวจราจร จุดจอดรถประจำทาง/ที่พักผู้โดยสาร สะพานลอย ปรับปรุงสภาพฝาบ่อพักท่อระบายน้ำ ช่องตะแกรงรับน้ำฝน ตรวจสอบไฟฟ้าแสงสว่าง ตรวจสอบความพร้อมของสัญญาณไฟ เครื่องหมายจราจร และป้ายบอกทาง จัดระเบียบสายเคเบิ้ลต่างๆ ที่หย่อนและรกรุงรัง พัฒนาปรับปรุงพื้นที่อัตลักษณ์ของสำนักงานเขต บริเวณแยกนราธิวาสราชนครินทร์ ตัดแต่งต้นไม้ ดูแลรักษาความสะอาดทางเท้า จัดเก็บขยะตามเวลาที่กำหนดไม่ให้มีขยะตกค้าง ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับการกำจัดขยะและการนำกลับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ จัดกิจกรรม Big Cleaning Day กวดขันไม่ให้มีการจำหน่ายสินค้าบนทางเท้าสาธารณะ กวดขันไม่ให้มีการจอดหรือขับขี่รถยนต์ หรือรถจักรยานยนต์บนทางเท้า ตรวจสอบไม่ให้มีการติดตั้ง วาง หรือแขวนป้ายโฆษณาในที่สาธารณะโดยไม่ได้รับอนุญาต ตรวจสอบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ ตรวจพื้นที่เสี่ยง จุดเสี่ยงภัย ไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง/วัน จัดเก็บไขมัน 2. โครงการบางรักรวมใจ คืนคลองน่าดู คูน่ามอง (คูหลังสำนักงานเขตบางรักและคลองหัวลำโพงเก่า) - ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามความก้าวหน้า - ออกแบบการจัดทำสะพานเหล็กคนเดินข้าม พร้อมราวกันตก ขยายทางเดินโดยการเทคอนกรีต ออกแบบการวาดภาพทาสีผนังกำแพง เก็บขยะและซากใบไม้ต่างๆ ในคูคลอง ปลูกและบำรุงดูแลรักษาต้นไม้ สำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย/พาหะนำโรค เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารการดำเนินกิจกรรมตาม เฝ้าระวังตรวจตราและบังคับใช้กฎหมาย โดยมีอาสาประชาชนร่วมกับเจ้าหน้าที่เทศกิจ วันละ 2 ครั้ง (กลางวันและกลางคืน) ลงพื้นที่รณรงค์ไม่ทิ้งน้ำเสียลงคูคลอง รณรงค์แหล่งกำเนิดน้ำทิ้ง ให้มีความรู้ ความตระหนัก และดำเนินการบำบัดน้ำเสีย ก่อนทิ้งลงสู่คลอง
1. โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ (การรักษาหรือคงไว้) - ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามความก้าวหน้า - ดำเนินการร่วมกับประชาสังคม เอกชน และจิตอาสา ปรับปรุงทางเท้า คันหิน ผิวจราจร จุดจอดรถประจำทาง/ที่พักผู้โดยสาร สะพานลอย ปรับปรุงสภาพฝาบ่อพักท่อระบายน้ำ ช่องตะแกรงรับน้ำฝน ตรวจสอบไฟฟ้าแสงสว่าง ตรวจสอบความพร้อมของสัญญาณไฟ เครื่องหมายจราจร และป้ายบอกทาง จัดระเบียบสายเคเบิ้ลต่างๆ ที่หย่อนและรกรุงรัง พัฒนาปรับปรุงพื้นที่อัตลักษณ์ของสำนักงานเขต บริเวณแยกนราธิวาสราชนครินทร์ ตัดแต่งต้นไม้ ดูแลรักษาความสะอาดทางเท้า จัดเก็บขยะตามเวลาที่กำหนดไม่ให้มีขยะตกค้าง ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับการกำจัดขยะและการนำกลับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ จัดกิจกรรม Big Cleaning Day กวดขันไม่ให้มีการจำหน่ายสินค้าบนทางเท้าสาธารณะ กวดขันไม่ให้มีการจอดหรือขับขี่รถยนต์ หรือรถจักรยานยนต์บนทางเท้า ตรวจสอบไม่ให้มีการติดตั้ง วาง หรือแขวนป้ายโฆษณาในที่สาธารณะโดยไม่ได้รับอนุญาต ตรวจสอบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ ตรวจพื้นที่เสี่ยง จุดเสี่ยงภัย ไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง/วัน จัดเก็บไขมัน 2. โครงการบางรักรวมใจ คืนคลองน่าดู คูน่ามอง (คูหลังสำนักงานเขตบางรักและคลองหัวลำโพงเก่า) - ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามความก้าวหน้า - จัดทำสะพานเหล็กคนเดินข้าม พร้อมราวกันตก ขยายทางเดินโดยการเทคอนกรีต ออกแบบและวาดภาพทาสีผนังกำแพง เก็บขยะและซากใบไม้ต่างๆ ในคูคลอง ปลูกและบำรุงดูแลรักษาต้นไม้ สำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย/พาหะนำโรค เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารการดำเนินกิจกรรมตาม เฝ้าระวังตรวจตราและบังคับใช้กฎหมาย โดยมีอาสาประชาชนร่วมกับเจ้าหน้าที่เทศกิจ วันละ 2 ครั้ง (กลางวันและกลางคืน) ลงพื้นที่รณรงค์ไม่ทิ้งน้ำเสียลงคูคลอง รณรงค์แหล่งกำเนิดน้ำทิ้ง ให้มีความรู้ ความตระหนัก และดำเนินการบำบัดน้ำเสีย ก่อนทิ้งลงสู่คลอง
1. โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ (การรักษาหรือคงไว้) - ดำเนินการ ตรวจสอบไฟฟ้าแสงสว่าง ตรวจสอบความพร้อมของสัญญาณไฟ เครื่องหมายจราจร และป้ายบอกทาง จัดระเบียบตู้โทรศัพท์สาธารณะ จัดระเบียบสายเคเบิ้ลต่างๆ ที่หย่อนและรกรุงรัง ปรับปรุงกายภาพคลองช่องนนทรี พัฒนาปรับปรุงพื้นที่อัตลักษณ์ของสำนักงานเขต บริเวณแยกนราธิวาสราชนครินทร์ กวดขันไม่ให้มีการจำหน่ายสินค้าบนทางเท้าสาธารณะ กวดขันไม่ให้มีการจอดหรือขับขี่รถยนต์ หรือรถจักรยานยนต์บนทางเท้า ตรวจสอบไม่ให้มีการติดตั้ง วาง หรือแขวนป้ายโฆษณาในที่สาธารณะโดยไม่ได้รับอนุญาต ตรวจสอบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ ตรวจพื้นที่เสี่ยง จุดเสี่ยงภัย ตรวจสอบและประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายให้ดำเนินการติดตั้งบ่อดักไขมันและมีการจัดเก็บตามแผนที่กำหนด ตรวจสอบ กวดขัน ให้สถานที่จำหน่ายอาหารมีและใช้บ่อดักไขมัน - ส่งเอกสารหลักฐานและแฟ้มผลการดำเนินงานตามโครงการ ให้สำนักงาน ก.ก. 2. โครงการบางรักรวมใจ คืนคลองน่าดู คูน่ามอง (คูหลังสำนักงานเขตบางรักและคลองหัวลำโพงเก่า) - ดำเนินการ ปรับปรุงภูมิทัศน์ เก็บขยะและซากใบไม้ต่างๆ ในคูคลอง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ปลูกและบำรุงดูแลรักษาต้นไม้ ติดตั้งกล้อง CCTV จำนวน 1 จุด จัดกิจกรรมส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาสภาพแวดล้อม ในเรื่องการบริหารจัดการขยะ การบำบัดไขมัน การปลูกไม้ดอกไม้ประดับ และการปลูกไม้กินได้ ลงพื้นที่รณรงค์ไม่ทิ้งขยะและน้ำเสียลงคูคลอง จัดทำยอดักขยะ เพื่อดักขยะจำพวกใบไม้ ที่ลอยมาตามกระแสน้ำ จำนวน 1 จุด บริเวณต้นคลองหัวลำโพงเก่า ถ.สุรวงศ์ เฝ้าระวังตรวจตราและบังคับใช้กฎหมาย โดยมีอาสาประชาชนร่วมกับเจ้าหน้าที่เทศกิจ วันละ 2 ครั้ง (กลางวันและกลางคืน) รณรงค์แหล่งกำเนิดน้ำทิ้ง ให้มีความรู้ ความตระหนัก และดำเนินการบำบัดน้ำเสีย ก่อนทิ้งลงสู่คลอง - ส่งเอกสารหลักฐานและแฟ้มผลการดำเนินงานตามโครงการ ให้สำนักงาน ก.ก.
การประเมินตามตัวชี้วัดที่ 3.2 แบ่งออกเป็น 2 ประเด็น คือ 1. โครงการให้บริการที่ดีที่สุด หมายถึง โครงการที่หน่วยงานคิดค้น/พัฒนา/ปรับปรุงระบบการให้บริการตามภารกิจ/อำนาจหน้าที่ของหน่วยงาน เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนหรือผู้รับบริการ โดยยึดผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง 2. การรักษาหรือคงไว้หรือพัฒนาโครงการให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) ที่หน่วยงานนำเสนอ เพื่อขอรับการประเมินในปีงบประมาณที่ผ่านมา (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2562) (คะแนน ร้อยละ 29)
การคิดคะแนนมี 2 องค์ประกอบ ดังนี้ 1. ผลคะแนนการดำเนินโครงการให้บริการที่ดีที่สุด (คะแนนร้อยละ 98) ผลรวมของผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด / จำนวนตัวชี้วัดทั้งหมด = ผลคะแนนการดำเนินโครงการให้บริการที่ดีที่สุด ผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด คิดตามสูตรการคำนวณดังนี้ ผลงานที่ทำได้จริง / เป้าหมายของตัวชี้วัด x 100 = ผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 2. การยกระดับโครงการให้บริการที่ดีที่สุด (คะแนนร้อยละ 2) โดยวัดจากการยกระดับ/การพัฒนา โครงการให้บริการที่ดีที่สุดของหน่วยงานที่เคยดำเนินการตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 - 2562 จนได้รับรางวัลใดรางวัลหนึ่งดังต่อไปนี้ 1. โครงการให้บริการที่ดีที่สุดที่มีความโดดเด่น และ/หรือ 2. รางวัลคุณภาพการให้บริการของกรุงเทพมหานคร และ/หรือ 3. รางวัลเลิศรัฐ และ/หรือ 4. รางวัลอื่นๆ ที่จัดโดยหน่วยงานภายนอกกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้หากหน่วยงานไม่เคยได้รับรางวัล จะไม่ได้คะแนนในองค์ประกอบที่ 2
- จัดทำโครงการให้บริการที่ดีที่สุด - หน่วยงานผู้รับการประเมินดำเนินโครงการให้บริการที่ดีที่สุดตามแนวทาง/กิจกรรมที่กำหนดไว้ในโครงการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามตัวชี้วัดที่กำหนด และรายงานผลการดำเนินการพร้อมส่งเอกสาร/หลักฐานให้สำนักงาน ก.ก. พิจารณาภายในระยะเวลาที่กำหนด
:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy |
:๗.๓ - การบริหารทรัพยากรบุคคล |
:๗.๓.๒ กรุงเทพมหานครมีระบบบริหารทรัพยากรบุคคลเข้มแข็งเอื้อต่อความเป็นธรรมสามารถสร้างสมดุล% |
:๗.๓.๒.๒ การพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลและระบบราชการให้มีประสิทธิภาพ |